SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline
การดูดซับเสียงของแผนฝาเพดานแกลบ
Sound Absorption of an Interior Ceiling Material from Chaff
รัฐวุฒิ ยอดแกว1
โสภาพรรณ แสงศัพท 2
และ สิงห อินทรชูโต3
Rathwut Yodkaew, Sopapun Sangsupata, and Singh Intrachooto
บทคัดยอ
แกลบเปนวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรที่มีอยูมาก คุณสมบัติเดนของแกลบคือ มีความชื้นต่ํา มีพื้นผิว
เปนรูพรุนขนาดเล็กในระดับนาโนเมตร และมีน้ําหนักเบาซึ่งเปนปจจัยหลักที่สามารถนํามาใชประโยชนในการ
ผลิตวัสดุกอสรางไดทั้งในทองถิ่นและในภาคอุตสาหกรรมระดับประเทศ วัตถุประสงคของการวิจัยในครั้งนี้จึง
มุงศึกษาเกี่ยวกับการนําแกลบมาพัฒนาเปนฝาเพดานอาคารที่ดูดซับเสียง การทดลองไดนําแกลบมาขึ้นรูปเปน
แผนฝาเพดานขนาด 50 ซ.ม. X 50 ซ.ม.หนา 1 ซ.ม.ดวยการนําไปผสมกับวัสดุประสานคือ กาวผง (กาวแดง) กาว
ลาเทกซและยางพารา แลวนําไปทดสอบการดูดซับเสียงและเปรียบเทียบกับวัสดุฝาเพดานและ
ฉนวนกั้นเสียงที่มีอยูในทองตลาดเชน แผนยิปซัมบอรด แผนอคูสติกบอรดและแผนฉนวนใยแกว
ผลการทดลองพบวาแผนฝาเพดานจากแกลบ ในอัตราสวนผสมกับวัสดุประสานโดยปริมาตร 5:1 (แกลบ :
กาวผง) มีคุณสมบัติในการดูดซับเสียงที่ดีกวาแผนยิปซัมบอรดและแผนอคูสติกบอรด และมี
คุณสมบัติการดูดซับเสียงใกลเคียงกับแผนฉนวนใยแกว
ABSTRACT
Chaff is an abundance agricultural waste. Unique to chaff is its low moisture content, porous
texture in nanoscale and light weight. These characteristic are suitable for local and national material
industry.
Objectives of the research are to develop chaff intergrated panels for sound absorption.
Serveral chaffs panels are made into board size 50 cm x50 cm, 1 cm thick. The panels are made by
mixing chaffs with plastic resin glue, latex glue and natural rubber. The panels were then tested for
sound absorption. A comparison with ceiling boards and sound absorption materials in the market i.e,
gymsum board, acoustic board and fiberglass insulator board were made.
The result shows that the ceiling board made from chaff with the mixing ratio of 5:1 (chaff :
plastic resin glue) is able to absorb sound better than gymsum board and able to absorb sound
nearly as effectively as fiberglass insulator board.
Key words: Sound Absorbtion, Interior Ceiling Material, acoustic panels, Chaff
R. Yodkaew: interiorbangkok@hotmail.com
____________________________
1 , 3
คณะสถาปตยกรรมศาสตร และ 2
คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร
Faculty of Architecture and Faculty of Education, Kasetsart University
คํานํา
ประเทศไทยเปนประเทศที่มีการบริโภคและเพาะปลูกขาวมากที่สุดในโลก เนื่องจากขาวเปนอาหารหลัก
ของคนไทยมาชานาน อีกทั้งเกษตรกรไทยทั่วทุกภาคสวนใหญปลูกขาวเปนอาชีพหลักทั้งสิ้น แกลบคือสวนเปลือก
ของเมล็ดขาวที่ผานกระบวนการสีเพื่อแยกเมล็ดขาวสารออก ดังนั้นแกลบจึงเปนวัสดุเหลือใชทางการเกษตรที่มี
อยูมากมาย แตแกลบถือเปนวัสดุธรรมชาติที่เหลือใชแลวหรือที่เปนขยะทางการเกษตรนํากลับมาพัฒนาเพื่อให
สามารถใชใหเกิดประโยชนไดอีก ในปจจุบันมีการใชประโยชนจากแกลบมากมาย เชนการนําไปอัดแทงทําเปน
ถานเชื้อเพลิงไปจนถึงการนําไปเปนพลังงานในการผลิตไฟฟาได ซึ่งไมเพียงแตจะเปนการเพิ่มคุณคาของวัสดุ
เหลือทิ้งเทานั้น แตจะเปนประโยชนอยางยิ่งทั้งตอการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม และการ
เสริมสรางอาชีพใหแกประชาชน ซึ่งเปนผลดีตอระบบเศรษฐกิจของประเทศดวย แตจากการศึกษา แกลบมี
คุณสมบัติพิเศษที่สามารถนําไปพัฒนาเปนวัสดุที่ตองการใชคุณสมบัติดังกลาว ซึ่งจะเปนการเพิ่มมูลคาใหกับ
วัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรอยางแกลบได
คุณสมบัติเดนของแกลบ
แกลบมีพื้นผิวเปนรูพรุนขนาดเล็กในระดับนาโนเมตร (เทากับหนึ่งในสิบลานสวนของมิลลิเมตร) เมื่อ
พิจารณาแกลบใหชัดขึ้น โดยนํามาสองดูดวยกลองจุลทรรศน จะเห็นพื้นผิวของแกลบ มีรูปรางคลายขาวโพด คือ
มีลักษณะเปนเม็ดขนาดเล็กเรียงกันเปนแนว และโครงสรางภายใน มีความพรุนมาก เพื่อใชเปนทางลําเลียงน้ํา
และอาหาร โครงสรางนี้เกิดจากสวนสําคัญสองสวนคือ สวนที่เปนสารอินทรียจําพวกเซลลูโลส ลิกนิน และสวนที่
เปนสารอนินทรีย ซึ่งมีซิลิกา (SiO2) เปนองคประกอบหลัก โดยองคประกอบทั้งสองสวนนี้ผสมกลมกลืนกันเปน
อยางดี (ศูนยเทคโนโลยีโลหะและวัสดุแหงชาติ (MTEC,2005)
แกลบมีความชื้นต่ําเนื่องจากแกลบตองผานกระบวนการสีขาวซึ่งมีการควบคุมความชื้น คือประมาณไม
เกิน 15% (สํานักวิจัยคนควาพลังงาน, 2548)
แกลบมีน้ําหนักเบาคือที่ปริมาตร 1 ลบ.ม. จะมีน้ําหนัก 123 ก.ก. (สํานักวิจัยคนควาพลังงาน, 2548)
จากคุณสมบัติดังกลาวของแกลบเปนปจจัยหลักที่สามารถนํามาใชประโยชนในการผลิตวัสดุกอสรางได
ทั้งในทองถิ่นและในภาคอุตสาหกรรมระดับประเทศ
ดวยเหตุนี้ จึงมีแนวคิดในการใชประโยชนจากแกลบแทนการกําจัดทําลายโดยนําไปทําแผนฝาเพดาน
ภายในอาคาร ที่มีคุณสมบัติในการดูดซับเสียง
การดูดซับเสียง
คุณภาพการดูดซับเสียงของวัสดุแตละชนิดนั้นแปรผันตามความถี่ของเสียง ประเภทของการ
ดูดซับเสียงแบงไดเปน 4 ประเภทดังนี้ (ปรีชญา รังสิรักษ. 2541:51)
1. แผนดูดซึมที่โปรงเบาเหมือนฟองน้ํา (Porous) เหมาะสําหรับเสียงที่มีความถี่สูงๆ
2. แผนดูดซึมที่เปนเยื่อแผน (Membrrane) เหมาะสําหรับเสียงที่มีความถี่ต่ํา
3. ตัวดูดซึมเสียงกําทอน (Resonant) สามารถปรับขนาดใหเหมาะกับชวงความถี่ของเสียงได สามารถ
ดูดซึมความถี่เสียงคลื่นแคบ
4. แผนดูดซับเสียงที่ปรุเปนรู เปนสวนประกอบของตัวดูดกลืนเสียงกําทอนในรูป ค และดูดซับเสียงในขอ
ก (ตามรูป) เหมาะสําหรับเสียงความถี่ปานกลางสามารถปรับขนาดของรูปรางและระยะหางระหวางแผนทั้ง 2
เพื่อใหเหมาะสมกับความถี่ของเสียงไดเชนกัน
รูปที่ 1 แสดงคุณสมบัติในการดูดซับเสียงของวัสดุตาง ๆ (ปรีชญา รังสิรักษ. 2541 : 51)
เมื่อพิจารณาจากคุณลักษณะของแกลบซึ่งมีลักษณะเปนรูพรุน แกลบจึงมีคุณสมบัติใกลคียงกับวัสดุดูด
ซับเสียงแบบที่ 4 คือ แผนดูดซับเสียงที่ปรุเปนรู ซึ่งเหมาะสําหรับการดูดซับเสียงในคลื่นความถี่ปานกลาง ซึ่งเปน
คลื่นความถี่เดียวกับที่มนุษยสามารถไดยินไดดีที่สุด
ผนังดานที่สําคัญที่สุดที่ควรใชแผนดูดซับเสียงเหลานี้คือ ฝาเพดาน เนื่องจากเหตุผล 2 ประการ คือ
1. ฝาเพดานที่มีความสูงนอยและมีขนาดใหญจะเปนตัวทําใหเกิดเสียงสะทอนกลับอยางมาก
2. แผนดูดซับเสียงเหลานี้ สวนใหญจะทําดวยวัสดุที่ไมคงทนถาวร และฝาเพดานเปนสวนของผนัง
ภายในหองที่สึกหรอชาที่สุด
วัสดุประสานที่ใชในการวิจัยนี้มีดังนี้
1 กาวผงหรือกาวแดง เปนกาวที่มีลักษณะเปนผง ใชผสมน้ําแหงเร็วถูกออกแบบมาเพื่อใชกับงานไม
โดยเฉพาะ การยึดเกาะของกาวมีความทนทานและแข็งแกรงกวาเนื้อไม ลักษณะเดนคือสามารถกันน้ําได มี
ความชื้นนอยมาก ไมขึ้นเชื้อรา และทนทานตอน้ํามันและสารระเหย มีน้ําหนักเบา
2 กาวลาเท็กซ (Latex) เนื้อกาวมีความหนืดสูงสามารถนํามาใชไดทันที มีราคาถูกหาไดงาย หากใชใน
ปริมาณที่มากจะใชระยะเวลาในการแหงตัวชามาก (ปรีชญา,2531 :171)
3 น้ํายางพาราหลอแบบ ผลิตจากน้ํายางพาราขน มีคุณสมบัติในการขึ้นรูปโดยตัวเองเมื่อโดนอากาศ มี
ความยืดหยุนตัว หาไดงาย และแหงเร็ว (ปรีชญา,2531 :171) ความหนาแนนของเนื้อยางพาราทําใหเมื่อแหงตัว
แลวจะมีน้ําหนักมากกวาวัสดุประสานอีก 2 ชนิดขางตน
วัตถุประสงคการวิจัย
1. เพื่อพัฒนาแกลบเปนแผนฝาเพดานภายในอาคาร
2. เพื่อทดสอบคุณสมบัติของแผนฝาเพดานที่ทําจากแกลบในการดูดซับเสียง
3. เพื่อเปรียบเทียบคุณสมบัติในการดูดซับเสียงกับวัสดุในทองตลาด
สมมติฐานของการวิจัย
แกลบ สามารถนําไปผลิตเปนแผนฝาเพดานภายในอาคารที่มีคุณสมบัติในการดูดซับเสียงดีกวาหรือ
เทากับวัสดุฝาเพดานที่มีอยูในทองตลาด
ตัวแปรที่ใชในการศึกษา
1 ตัวแปรอิสระ (Independent Variable) ไดแก
- แกลบที่ผสมกับกาวแดงหรือกาวผง
- แกลบที่ผสมกับกาวลาเท็กซและน้ํายางพารา
- แกลบที่ผสมกับกาวลาเท็กซกับน้ํายางพาราและเคลือบผิวหนาดวยยางพารา
2 ตัวแปรตาม (Dependent Variable) ไดแก คุณสมบัติทางการดูดซับเสียง
กรอบแนวคิดในการวิจัย
In-put Process Out-put ทดสอบ
1. แกลบ
2. กาวแดง(กาวผง)
3. กาวลาเท็กซ
4. น้ํายางพาราหลอ
แบบ
กระบวนการ
ขึ้นรูปแผนแกลบ
โดยการผสมกับ
วัสดุประสานและ
หลอลงบนแบบ
แผนฝาเพดาน
ภายในอาคาร
จากแกลบ
จํานวน 2 แผน
ขนาดแผนละ
50X50cm. รวม 2
แผน ผิวหนา 3แบบ
ทดสอบการ
ดูดซับเสียงโดย
ใชโปรแกรม
อิเล็คทรอนิกสวัดผล
เทียบ
กับวัสดุใน
ทองตลาด
รูปที่ 2 แผนภูมิแสดงกรอบของการวิจัยและขั้นตอนของการวิจัย
อุปกรณและวิธีการ
การวิจัยเรื่อง การศึกษาและพัฒนาวัสดุแผนฝาเพดานจากแกลบเปนรูปแบบการวิจัยเชิงทดลอง โดย
กําหนดแนวทางวิธีดําเนินการวิจัยตามรายละเอียดในหัวขอดังตอไปนี้
การขึ้นรูปแผนแกลบ
ก.แบบผสมกาวผง
1. ตวงแกลบใหไดจํานวน 10 ถวยตวง ประมาณ 3 ลิตร แลวใสลงในแบบที่เตรียมไว
2. ผสมกาวผงกับน้ําในอัตราสวน 5:2 ใช 2 ถวยตวง ประมาณ 600 มล.
3. ปรับผิวหนาชิ้นงานใหเทากันทั่วทั้งแผนแลวนําไปผึ่งแดดทิ้งไวเพื่อปรับสภาพ
ข.แบบผสมกาวลาเท็กซกับยางพารา
1. ตวงแกลบใหไดปริมาณ 12 ถวยตวง (ประมาณ 3.6 ลิตร) ใสลงในภาชนะ PVC
2. ผสมกาวลาเท็กซกับน้ํายางพาราในอัตราสวน 4 : 3 ใช 7 ถวยตวง (2.1 ลิตร)
3. เทแกลบที่ผสมกับกาวและยางพาราแลว ลงในแบบ
4. ทิ้งไว 3 วัน พลิกวัสดุกลับดาน แลวนํายางพารา 600 มล. ทาผิวหนาชิ้นงานจนทั่วและทิ้ง ไวเพื่อปรับ
สภาพ
แผนทดลองที่ 1
ยิปซัมบอรดแผนเรียบหนา 12 มม.
แผนทดลองที่ 2
แผนอคูสติกบอรดหนา 12 มม.
แผนทดลองที่ 3
แผนฉนวนใยแกวหนา 250 มม.
แผนทดลองที่ 4
แกลบผสมกาวผงหนา 10 มม.
แผนทดลองที่ 5
แกลบผสมกาวลาเทกซหนา 10 มม.
แผนทดลองที่ 6 แกลบผสมกาวลาเทกซและ
เคลือบผิวหนาดวยยางพาราหนา 10 มม.
รูปที่ 3 แสดงตัวอยางแผนทดลองทั้ง 6 แผน
การทดสอบการสะทอนและการดูดซับเสียง
1.ติดตั้งเครื่องวัดระดับเสียงและอุปกรณอิเลคทรอนิกสเขา
ดวยกัน ดังรูป
2. กลองทดลองทําจากไมอัด 12 ม.ม. ตีเปนกลอง 5ดานขนาด
50 ซ.ม.X50 ซ.ม. ยาว 2 เมตร ภายในกรุผาผวยจับจีบเปน
ลอน หางกันลอนละ 1นิ้ว ดานบนกลองสามารถเปดได ขณะ
ทดลอง ยกกลองสูงจากพื้นโดยการวางบนโตะ สูง 75 ซ.ม.
วางกลองทดลองเปนรูปตัววี หันหนาเอียงเขาหากัน
3. ใสลําโพงและไมคมาตรฐาน บริเวณกึ่งกลางกลองทดลอง
คนละดาน
4. นําวัสดุที่จะทดลองวางกึ่งกลางหนาปากกลองทดลองทั้ง
สอง
5. เปดเสียงจากลําโพงใหดังออกจากปากกลองทดลองที่ 1 ไป
กระทบกับแผนทดลองและสะทอนกลับมาที่ไมโครโฟนรับเสียง
ที่อยูภายในกลองทดลองที่ 2 และอานคาเสียงที่ได เสียงจาก
ลําโพงที่เปดในการทดลองจะมีความถี่และความดังของเสียง
เทากัน จะวัดการดูดซับเสียงจากเสียงที่สะทอนจากแผน
ทดลองกลับไปที่ ไมครับเสียงวาเหลือเสียงเทาไหรและถูกวัสดุ
ทดลองดูดซับไปเทาไหร
6. เก็บผลการทดลองจากเครื่องคอมพิวเตอรและพิมพผลการ
ทดลอง
รูปที่ 4 แสดงขั้นตอนการทดสอบการ
สะทอนและดูดซับเสียง
ผลการทดลองและขอวิจารณ
รูปที่ 5 ผลการทดสอบการดูดซับเสียงโดยใชโปรแกรม SmaartLive 54
ตารางที่ 1 เปรียบเทียบคาการสะทอนและการดูดซับเสียงของวัสดุทดลอง
ชวงความถี่เสียง
แผนทดลอง
คลื่นความถี่ต่ํา
(31.5Hz - 250Hz)
คลื่นความถี่กลาง
(251Hz – 2KHz)
คลื่นความถี่สูง
(2.1KHz – 16KHz)
คาเฉลี่ย
1.ยิปซั่มบอรดแผนเรียบ -75 dB -85 dB -82.5 dB -80.8 dB
2.อคูสติกบอรด -82.5 dB -87.5 dB -81 dB -83.6 dB
3.ฉนวนใยแกว -80 dB -91 dB -94 dB -88.3 dB
4.แผนแกลบผสมกาวผง -88 dB -91 dB -85 dB -88 dB
5.แผนแกลบผสม-
กาวลาเทกซ
-91 dB -90 dB -83 dB -88 dB
6.แผนแกลบผสม-
กาวลาเทกซและเคลือบ
ผิวหนาดวยยางพารา
-72 dB -90 dB -83 dB -81.6 dB
อภิปรายผล
แผนทดลองที่ 1 (ยิปซั่มบอรดแผนเรียบ) มีคาดูดซับเสียงต่ําที่สุดในทุกคลื่นความถี่เสียงเนื่องจากตัว
วัสดุมีความหนาแนนสูงมีผิวหนาที่เรียบและแข็งทําใหเสียงมีการสะทอนมากที่สุด
แผนทดลองที่ 2 (อคูสติกบอรด) มีคาเฉลี่ยการดูดซับเสียงต่ํากวาแผนทดลองที่ 3 เนื่องจากแผน
ฉนวนใยแกวมีความหนามากกวาแผนอคูสติกบอรดมากและใยแกวที่อยูภายในฉนวนมีความหนาแนนนอยกวา
แผนอคูสติกบอรด และแผนทดลองที่ 2 นี้มีคาเฉลี่ยการดูดซับเสียงต่ํากวาแผนทดลองที่ 4 และ 5 เนื่องจากพื้นผิว
4
โปรแกรม SmaartLive 5 เปนโปรแกรมสําหรับวัดความถี่ วิเคราะห และเก็บขอมูลของระบบเสียง สามารถดูรายละเอีดโปรแกรมเพิ่มเติมไดที่
http://www.siasoft.com/products/smaart_live.html
ของแกลบมีความเปนรูพรุนที่ละเอียดมากกวาแผนอคูสติกบอรด แตแผนทดลองที่ 2 มีคาเฉลี่ยการดูดซับเสียง
ดีกวาแผนทดลองที่ 1และ 6 เนื่องจาก การเคลือบผิวหนาแผนแกลบดวยยางพาราทําใหน้ํายางพาราไปอุดรูพรุน
ของแผนแกลบเปนเหตุใหแผนทดลองที่ 6 มีคุณสมบัติเหมือนวัสดุผิวเรียบทั่วไป
แผนทดลองที่ 3 (ฉนวนใยแกว) มีคาเฉลี่ยการดูดซับเสียงดีกวาแผนทั้งหมดเนื่องจากมีความหนาของ
แผนมากกวาและวัสดุมีความออนนุมมากกวาวัสดุทั้งหมด แตในคลื่นความถี่ต่ําคาการดูดซับเสียงยังต่ํากวาแผน
ทดลองที่ 2 4 5 และ 6
แผนทดลองที่ 4 (แผนแกลบผสมกาวผง) มีคาเฉลี่ยการดูดซับเสียงดีกวาแผนทดลองทั้งหมดยกเวน
แผนทดลองที่ 3 เนื่องจากความหนาของวัสดุนอยกวาและมีความแข็งของพื้นผิวมากกวาแตในคลื่นความถี่ต่ํามี
คาการดูดซับเสียงดีกวาแผนทดลองทั้งหมดยกเวนแผนทดลองที่ 5
แผนทดลองที่ 5 (แผนแกลบผสมกาวลาเทกซ) มีคาเฉลี่ยการดูดซับเสียงดีกวาแผนทดลองทั้งหมด
ยกเวนแผนทดลองที่ 3แตในคลื่นความถี่ต่ํามีคาการดูดซับเสียงดีกวาแผนทดลองทั้งหมดเนื่องจากยังรักษา
คุณสมบัติความเปนรูพรุนของแผนแกลบไวไดเสียงจึงถูกดูดซับเขาไปในรูพรุนจํานวนมากของพื้นผิวและสะทอน
ออกมานอยที่สุด
แผนทดลองที่ 6 (แผนแกลบผสมกาวลาเทกซและเคลือบผิวหนาดวยยางพารา) มีคาเฉลี่ยการ
ดูดซับเสียงนอยกวาแผนทดลองทั้งหมดยกเวนแผนทดลองที่ 1 เนื่องจากความหนาแนนของแผนและความแข็ง
ของพื้นผิวนอยกวา
หมายเหตุ : ในการทดลองนี้ไดเนนความสําคัญไปที่คลื่นความถี่กลาง (251 Hz – 2 KHz) เนื่องจาก
คลื่นความถี่ดังกลาวเปนคลื่นความถี่ในระดับเสียงพูดของมนุษยและเปนคลื่นเสียงที่มนุษยจะไดยินเสียงไดดีกวา
คลื่นความถี่ที่ต่ําและสูงกวานี้ ซึ่งวัสดุทดลองที่มีคาการดูดซับเสียงในระดับคลื่นความถี่กลางไดดีที่สุดไดแกแผน
ทดลองที่ 3 และ 4 (ฉนวนใยแกวและแผนแกลบผสมกาวผง)
สรุป
สรุปผลการทดลองการขึ้นรูปแผนฝาเพดาน
กาวที่เหมาะสมในการใชขึ้นรูปแผนฝาเพดานจากแกลบคือ กาวผง เนื่องจากกาวผงมีคุณสมบัติที่ดีดังนี้
- ชิ้นงานแหงเร็วทําใหมีความชื้นนอย
- ชิ้นงานไมหดตัว คงรูปและสีของแกลบไวไดเหมือนธรรมชาติ
- มีน้ําหนักเบา
สรุปผลการทดลองการดูดซับเสียงจากโปรแกรม SmaartLive 5
แกลบ สามารถนําไปผลิตเปนแผนฝาเพดานภายในอาคารไดและที่มีคุณสมบัติในการดูดซับเสียงดีกวา
วัสดุฝาเพดานที่มีอยูในทองตลาด ตรงตามสมมติฐาน
ปญหาการวิจัย
1 การใชกาวผงเปนกาวสําหรับขึ้นรูปแกลบเปนแผนฝาเพดาน มีขอเสียคือ เนื้อแกลบมีอาการหลุดรวง
การยึดเกาะตัวกันยังไมดี
2 การใชกาวลาเทกซและยางพาราเปนวัสดุสําหรับขึ้นรูปแกลบเปนแผนฝาเพดาน มีขอเสียคือ วัสดุแหง
ชา มีน้ําหนักมาก เมื่อขึ้นรูปแลววัสดุมีลักษณะหดตัว ไมคงรูปเดิมตามแบบ
3 วัสดุประสานที่นํามาใชมีราคาแพงและไดปริมาณการผสมนอย
4 หองทดลองเปนหองที่เก็บเสียงไมดีพอ ทําใหมีเสียงรบกวนขณะทดลอง
ขอเสนอแนะ
1 ความหนาของชิ้นงานที่มากขึ้นอาจทําใหคุณสมบัติในการดูดซับเสียงมากขึ้น
2 การขึ้นรูปแผนโดยใชกาวผงควรมีการอัดแผนใหมีความหนาแนนมากกวานี้เพื่อลดการหลุดรวงของ
พื้นผิว เชนการอัดดวยความรอน หรือใชน้ําหนักกดทับ
3 อาจพัฒนาพื้นผิวหนาของวัสดุใหมีลักษณะที่ตาง ๆ กันเพื่อหาพื้นผิวที่ดีที่สุดในการดูดซับเสียง
เอกสารอางอิง
กุลจิรา สุจิโรจน. 2548. รวยไดจากแกลบ. ศูนยเทคโนโลยีโลหะและวัสดุแหงชาติ(MTEC).แหลงที่มา :
http://www.mtec.or.th/th/news/cool_stuff/cool4.html,September 19, 2006.
ปรีชญา รังสิรักษ, 2541. การควบคุมเสียงภายในอาคาร.กรุงเทพฯ: คณะสถาปตยกรรมศาสตร
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง.
ภาณุเดช ขัดเงางาม,2549. การผลิตแผนผนังภายในอาคารที่ทําจากตนธูปฤาษี
,การคนควาอิสระ สาขาวิชานวัตกรรมอาคาร บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.
สฤษดิ์วงค ประธานธุรารักษ.2549.การพัฒนาวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรมาทําผนังเพื่อเพิ่ม
ประสิทธิภาพในการลดความรอน, การคนควาอิสระ สาขาวิชานวัตกรรมอาคาร บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

More Related Content

What's hot

โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติ
โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติโครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติ
โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติbeauntp
 
ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศและบทบาทของประเทศในสังคมโลก
ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศและบทบาทของประเทศในสังคมโลกใบความรู้ที่ 5 เรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศและบทบาทของประเทศในสังคมโลก
ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศและบทบาทของประเทศในสังคมโลกPrincess Chulabhon's College Chonburi
 
โครงงานวิทย์ งานคอม
โครงงานวิทย์  งานคอม โครงงานวิทย์  งานคอม
โครงงานวิทย์ งานคอม Aungkana Na Na
 
โครงงานกล่องแฟนซีรีไซเคิล (Recycle Fancy Box)
โครงงานกล่องแฟนซีรีไซเคิล (Recycle Fancy Box)โครงงานกล่องแฟนซีรีไซเคิล (Recycle Fancy Box)
โครงงานกล่องแฟนซีรีไซเคิล (Recycle Fancy Box)Prapatsorn Chaihuay
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ทักษะและกระบวนการทำงาน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ทักษะและกระบวนการทำงานหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ทักษะและกระบวนการทำงาน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ทักษะและกระบวนการทำงานBeerza Kub
 
มารยาทในห้องเรียน1
มารยาทในห้องเรียน1มารยาทในห้องเรียน1
มารยาทในห้องเรียน1Wanlop Chimpalee
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)
การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)
การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)Thitaree Samphao
 
การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ...
การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4  โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ...การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4  โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ...
การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ...Nattapon
 
แผนพัฒนาตนเองตำแหน่งรองผู้อำนวยการสถานศึกษา
แผนพัฒนาตนเองตำแหน่งรองผู้อำนวยการสถานศึกษาแผนพัฒนาตนเองตำแหน่งรองผู้อำนวยการสถานศึกษา
แผนพัฒนาตนเองตำแหน่งรองผู้อำนวยการสถานศึกษาNontaporn Pilawut
 
โครงงานน้ำยาล้างมือ
โครงงานน้ำยาล้างมือโครงงานน้ำยาล้างมือ
โครงงานน้ำยาล้างมือkitkit1974
 
โครงงานเรื่อง กล้วยฉาบเหินฟ้า
โครงงานเรื่อง กล้วยฉาบเหินฟ้าโครงงานเรื่อง กล้วยฉาบเหินฟ้า
โครงงานเรื่อง กล้วยฉาบเหินฟ้าSahassawat Kitcharoen
 
ใบงานที่ 2 การสร้างเอกสารใหม่และฝึกพิมพ์
ใบงานที่ 2 การสร้างเอกสารใหม่และฝึกพิมพ์ใบงานที่ 2 การสร้างเอกสารใหม่และฝึกพิมพ์
ใบงานที่ 2 การสร้างเอกสารใหม่และฝึกพิมพ์Supatchaya Rayangam
 
ใบงาน วิชาการพัฒนาตนเอง-ชุมชน-สังคม
ใบงาน วิชาการพัฒนาตนเอง-ชุมชน-สังคมใบงาน วิชาการพัฒนาตนเอง-ชุมชน-สังคม
ใบงาน วิชาการพัฒนาตนเอง-ชุมชน-สังคมIntrayut Konsongchang
 
ตย.ปกงานวิจัย (การรายงาน)
ตย.ปกงานวิจัย (การรายงาน) ตย.ปกงานวิจัย (การรายงาน)
ตย.ปกงานวิจัย (การรายงาน) i_cavalry
 
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...Kobwit Piriyawat
 
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจแบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจPawit Chamruang
 

What's hot (20)

โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติ
โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติโครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติ
โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติ
 
ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศและบทบาทของประเทศในสังคมโลก
ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศและบทบาทของประเทศในสังคมโลกใบความรู้ที่ 5 เรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศและบทบาทของประเทศในสังคมโลก
ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศและบทบาทของประเทศในสังคมโลก
 
โครงงานวิทย์ งานคอม
โครงงานวิทย์  งานคอม โครงงานวิทย์  งานคอม
โครงงานวิทย์ งานคอม
 
โครงงานกล่องแฟนซีรีไซเคิล (Recycle Fancy Box)
โครงงานกล่องแฟนซีรีไซเคิล (Recycle Fancy Box)โครงงานกล่องแฟนซีรีไซเคิล (Recycle Fancy Box)
โครงงานกล่องแฟนซีรีไซเคิล (Recycle Fancy Box)
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ทักษะและกระบวนการทำงาน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ทักษะและกระบวนการทำงานหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ทักษะและกระบวนการทำงาน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ทักษะและกระบวนการทำงาน
 
ของเล่นทำให้เกิดเสียง
ของเล่นทำให้เกิดเสียงของเล่นทำให้เกิดเสียง
ของเล่นทำให้เกิดเสียง
 
อิเล็กโทรสโคป (Electroscope)
อิเล็กโทรสโคป (Electroscope)อิเล็กโทรสโคป (Electroscope)
อิเล็กโทรสโคป (Electroscope)
 
กำลัง (Power)
กำลัง (Power)กำลัง (Power)
กำลัง (Power)
 
มารยาทในห้องเรียน1
มารยาทในห้องเรียน1มารยาทในห้องเรียน1
มารยาทในห้องเรียน1
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)
การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)
การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)
 
การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ...
การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4  โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ...การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4  โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ...
การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ...
 
แผนพัฒนาตนเองตำแหน่งรองผู้อำนวยการสถานศึกษา
แผนพัฒนาตนเองตำแหน่งรองผู้อำนวยการสถานศึกษาแผนพัฒนาตนเองตำแหน่งรองผู้อำนวยการสถานศึกษา
แผนพัฒนาตนเองตำแหน่งรองผู้อำนวยการสถานศึกษา
 
โครงงานน้ำยาล้างมือ
โครงงานน้ำยาล้างมือโครงงานน้ำยาล้างมือ
โครงงานน้ำยาล้างมือ
 
โครงงานเรื่อง กล้วยฉาบเหินฟ้า
โครงงานเรื่อง กล้วยฉาบเหินฟ้าโครงงานเรื่อง กล้วยฉาบเหินฟ้า
โครงงานเรื่อง กล้วยฉาบเหินฟ้า
 
ใบงานที่ 2 การสร้างเอกสารใหม่และฝึกพิมพ์
ใบงานที่ 2 การสร้างเอกสารใหม่และฝึกพิมพ์ใบงานที่ 2 การสร้างเอกสารใหม่และฝึกพิมพ์
ใบงานที่ 2 การสร้างเอกสารใหม่และฝึกพิมพ์
 
ใบงาน วิชาการพัฒนาตนเอง-ชุมชน-สังคม
ใบงาน วิชาการพัฒนาตนเอง-ชุมชน-สังคมใบงาน วิชาการพัฒนาตนเอง-ชุมชน-สังคม
ใบงาน วิชาการพัฒนาตนเอง-ชุมชน-สังคม
 
ตย.ปกงานวิจัย (การรายงาน)
ตย.ปกงานวิจัย (การรายงาน) ตย.ปกงานวิจัย (การรายงาน)
ตย.ปกงานวิจัย (การรายงาน)
 
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
 
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจแบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
 
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
 

Ex3

  • 1. การดูดซับเสียงของแผนฝาเพดานแกลบ Sound Absorption of an Interior Ceiling Material from Chaff รัฐวุฒิ ยอดแกว1 โสภาพรรณ แสงศัพท 2 และ สิงห อินทรชูโต3 Rathwut Yodkaew, Sopapun Sangsupata, and Singh Intrachooto บทคัดยอ แกลบเปนวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรที่มีอยูมาก คุณสมบัติเดนของแกลบคือ มีความชื้นต่ํา มีพื้นผิว เปนรูพรุนขนาดเล็กในระดับนาโนเมตร และมีน้ําหนักเบาซึ่งเปนปจจัยหลักที่สามารถนํามาใชประโยชนในการ ผลิตวัสดุกอสรางไดทั้งในทองถิ่นและในภาคอุตสาหกรรมระดับประเทศ วัตถุประสงคของการวิจัยในครั้งนี้จึง มุงศึกษาเกี่ยวกับการนําแกลบมาพัฒนาเปนฝาเพดานอาคารที่ดูดซับเสียง การทดลองไดนําแกลบมาขึ้นรูปเปน แผนฝาเพดานขนาด 50 ซ.ม. X 50 ซ.ม.หนา 1 ซ.ม.ดวยการนําไปผสมกับวัสดุประสานคือ กาวผง (กาวแดง) กาว ลาเทกซและยางพารา แลวนําไปทดสอบการดูดซับเสียงและเปรียบเทียบกับวัสดุฝาเพดานและ ฉนวนกั้นเสียงที่มีอยูในทองตลาดเชน แผนยิปซัมบอรด แผนอคูสติกบอรดและแผนฉนวนใยแกว ผลการทดลองพบวาแผนฝาเพดานจากแกลบ ในอัตราสวนผสมกับวัสดุประสานโดยปริมาตร 5:1 (แกลบ : กาวผง) มีคุณสมบัติในการดูดซับเสียงที่ดีกวาแผนยิปซัมบอรดและแผนอคูสติกบอรด และมี คุณสมบัติการดูดซับเสียงใกลเคียงกับแผนฉนวนใยแกว ABSTRACT Chaff is an abundance agricultural waste. Unique to chaff is its low moisture content, porous texture in nanoscale and light weight. These characteristic are suitable for local and national material industry. Objectives of the research are to develop chaff intergrated panels for sound absorption. Serveral chaffs panels are made into board size 50 cm x50 cm, 1 cm thick. The panels are made by mixing chaffs with plastic resin glue, latex glue and natural rubber. The panels were then tested for sound absorption. A comparison with ceiling boards and sound absorption materials in the market i.e, gymsum board, acoustic board and fiberglass insulator board were made. The result shows that the ceiling board made from chaff with the mixing ratio of 5:1 (chaff : plastic resin glue) is able to absorb sound better than gymsum board and able to absorb sound nearly as effectively as fiberglass insulator board. Key words: Sound Absorbtion, Interior Ceiling Material, acoustic panels, Chaff R. Yodkaew: interiorbangkok@hotmail.com ____________________________ 1 , 3 คณะสถาปตยกรรมศาสตร และ 2 คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร Faculty of Architecture and Faculty of Education, Kasetsart University
  • 2. คํานํา ประเทศไทยเปนประเทศที่มีการบริโภคและเพาะปลูกขาวมากที่สุดในโลก เนื่องจากขาวเปนอาหารหลัก ของคนไทยมาชานาน อีกทั้งเกษตรกรไทยทั่วทุกภาคสวนใหญปลูกขาวเปนอาชีพหลักทั้งสิ้น แกลบคือสวนเปลือก ของเมล็ดขาวที่ผานกระบวนการสีเพื่อแยกเมล็ดขาวสารออก ดังนั้นแกลบจึงเปนวัสดุเหลือใชทางการเกษตรที่มี อยูมากมาย แตแกลบถือเปนวัสดุธรรมชาติที่เหลือใชแลวหรือที่เปนขยะทางการเกษตรนํากลับมาพัฒนาเพื่อให สามารถใชใหเกิดประโยชนไดอีก ในปจจุบันมีการใชประโยชนจากแกลบมากมาย เชนการนําไปอัดแทงทําเปน ถานเชื้อเพลิงไปจนถึงการนําไปเปนพลังงานในการผลิตไฟฟาได ซึ่งไมเพียงแตจะเปนการเพิ่มคุณคาของวัสดุ เหลือทิ้งเทานั้น แตจะเปนประโยชนอยางยิ่งทั้งตอการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม และการ เสริมสรางอาชีพใหแกประชาชน ซึ่งเปนผลดีตอระบบเศรษฐกิจของประเทศดวย แตจากการศึกษา แกลบมี คุณสมบัติพิเศษที่สามารถนําไปพัฒนาเปนวัสดุที่ตองการใชคุณสมบัติดังกลาว ซึ่งจะเปนการเพิ่มมูลคาใหกับ วัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรอยางแกลบได คุณสมบัติเดนของแกลบ แกลบมีพื้นผิวเปนรูพรุนขนาดเล็กในระดับนาโนเมตร (เทากับหนึ่งในสิบลานสวนของมิลลิเมตร) เมื่อ พิจารณาแกลบใหชัดขึ้น โดยนํามาสองดูดวยกลองจุลทรรศน จะเห็นพื้นผิวของแกลบ มีรูปรางคลายขาวโพด คือ มีลักษณะเปนเม็ดขนาดเล็กเรียงกันเปนแนว และโครงสรางภายใน มีความพรุนมาก เพื่อใชเปนทางลําเลียงน้ํา และอาหาร โครงสรางนี้เกิดจากสวนสําคัญสองสวนคือ สวนที่เปนสารอินทรียจําพวกเซลลูโลส ลิกนิน และสวนที่ เปนสารอนินทรีย ซึ่งมีซิลิกา (SiO2) เปนองคประกอบหลัก โดยองคประกอบทั้งสองสวนนี้ผสมกลมกลืนกันเปน อยางดี (ศูนยเทคโนโลยีโลหะและวัสดุแหงชาติ (MTEC,2005) แกลบมีความชื้นต่ําเนื่องจากแกลบตองผานกระบวนการสีขาวซึ่งมีการควบคุมความชื้น คือประมาณไม เกิน 15% (สํานักวิจัยคนควาพลังงาน, 2548) แกลบมีน้ําหนักเบาคือที่ปริมาตร 1 ลบ.ม. จะมีน้ําหนัก 123 ก.ก. (สํานักวิจัยคนควาพลังงาน, 2548) จากคุณสมบัติดังกลาวของแกลบเปนปจจัยหลักที่สามารถนํามาใชประโยชนในการผลิตวัสดุกอสรางได ทั้งในทองถิ่นและในภาคอุตสาหกรรมระดับประเทศ ดวยเหตุนี้ จึงมีแนวคิดในการใชประโยชนจากแกลบแทนการกําจัดทําลายโดยนําไปทําแผนฝาเพดาน ภายในอาคาร ที่มีคุณสมบัติในการดูดซับเสียง การดูดซับเสียง คุณภาพการดูดซับเสียงของวัสดุแตละชนิดนั้นแปรผันตามความถี่ของเสียง ประเภทของการ ดูดซับเสียงแบงไดเปน 4 ประเภทดังนี้ (ปรีชญา รังสิรักษ. 2541:51) 1. แผนดูดซึมที่โปรงเบาเหมือนฟองน้ํา (Porous) เหมาะสําหรับเสียงที่มีความถี่สูงๆ 2. แผนดูดซึมที่เปนเยื่อแผน (Membrrane) เหมาะสําหรับเสียงที่มีความถี่ต่ํา 3. ตัวดูดซึมเสียงกําทอน (Resonant) สามารถปรับขนาดใหเหมาะกับชวงความถี่ของเสียงได สามารถ ดูดซึมความถี่เสียงคลื่นแคบ
  • 3. 4. แผนดูดซับเสียงที่ปรุเปนรู เปนสวนประกอบของตัวดูดกลืนเสียงกําทอนในรูป ค และดูดซับเสียงในขอ ก (ตามรูป) เหมาะสําหรับเสียงความถี่ปานกลางสามารถปรับขนาดของรูปรางและระยะหางระหวางแผนทั้ง 2 เพื่อใหเหมาะสมกับความถี่ของเสียงไดเชนกัน รูปที่ 1 แสดงคุณสมบัติในการดูดซับเสียงของวัสดุตาง ๆ (ปรีชญา รังสิรักษ. 2541 : 51) เมื่อพิจารณาจากคุณลักษณะของแกลบซึ่งมีลักษณะเปนรูพรุน แกลบจึงมีคุณสมบัติใกลคียงกับวัสดุดูด ซับเสียงแบบที่ 4 คือ แผนดูดซับเสียงที่ปรุเปนรู ซึ่งเหมาะสําหรับการดูดซับเสียงในคลื่นความถี่ปานกลาง ซึ่งเปน คลื่นความถี่เดียวกับที่มนุษยสามารถไดยินไดดีที่สุด ผนังดานที่สําคัญที่สุดที่ควรใชแผนดูดซับเสียงเหลานี้คือ ฝาเพดาน เนื่องจากเหตุผล 2 ประการ คือ 1. ฝาเพดานที่มีความสูงนอยและมีขนาดใหญจะเปนตัวทําใหเกิดเสียงสะทอนกลับอยางมาก
  • 4. 2. แผนดูดซับเสียงเหลานี้ สวนใหญจะทําดวยวัสดุที่ไมคงทนถาวร และฝาเพดานเปนสวนของผนัง ภายในหองที่สึกหรอชาที่สุด วัสดุประสานที่ใชในการวิจัยนี้มีดังนี้ 1 กาวผงหรือกาวแดง เปนกาวที่มีลักษณะเปนผง ใชผสมน้ําแหงเร็วถูกออกแบบมาเพื่อใชกับงานไม โดยเฉพาะ การยึดเกาะของกาวมีความทนทานและแข็งแกรงกวาเนื้อไม ลักษณะเดนคือสามารถกันน้ําได มี ความชื้นนอยมาก ไมขึ้นเชื้อรา และทนทานตอน้ํามันและสารระเหย มีน้ําหนักเบา 2 กาวลาเท็กซ (Latex) เนื้อกาวมีความหนืดสูงสามารถนํามาใชไดทันที มีราคาถูกหาไดงาย หากใชใน ปริมาณที่มากจะใชระยะเวลาในการแหงตัวชามาก (ปรีชญา,2531 :171) 3 น้ํายางพาราหลอแบบ ผลิตจากน้ํายางพาราขน มีคุณสมบัติในการขึ้นรูปโดยตัวเองเมื่อโดนอากาศ มี ความยืดหยุนตัว หาไดงาย และแหงเร็ว (ปรีชญา,2531 :171) ความหนาแนนของเนื้อยางพาราทําใหเมื่อแหงตัว แลวจะมีน้ําหนักมากกวาวัสดุประสานอีก 2 ชนิดขางตน วัตถุประสงคการวิจัย 1. เพื่อพัฒนาแกลบเปนแผนฝาเพดานภายในอาคาร 2. เพื่อทดสอบคุณสมบัติของแผนฝาเพดานที่ทําจากแกลบในการดูดซับเสียง 3. เพื่อเปรียบเทียบคุณสมบัติในการดูดซับเสียงกับวัสดุในทองตลาด สมมติฐานของการวิจัย แกลบ สามารถนําไปผลิตเปนแผนฝาเพดานภายในอาคารที่มีคุณสมบัติในการดูดซับเสียงดีกวาหรือ เทากับวัสดุฝาเพดานที่มีอยูในทองตลาด ตัวแปรที่ใชในการศึกษา 1 ตัวแปรอิสระ (Independent Variable) ไดแก - แกลบที่ผสมกับกาวแดงหรือกาวผง - แกลบที่ผสมกับกาวลาเท็กซและน้ํายางพารา - แกลบที่ผสมกับกาวลาเท็กซกับน้ํายางพาราและเคลือบผิวหนาดวยยางพารา 2 ตัวแปรตาม (Dependent Variable) ไดแก คุณสมบัติทางการดูดซับเสียง กรอบแนวคิดในการวิจัย In-put Process Out-put ทดสอบ 1. แกลบ 2. กาวแดง(กาวผง) 3. กาวลาเท็กซ 4. น้ํายางพาราหลอ แบบ กระบวนการ ขึ้นรูปแผนแกลบ โดยการผสมกับ วัสดุประสานและ หลอลงบนแบบ แผนฝาเพดาน ภายในอาคาร จากแกลบ จํานวน 2 แผน ขนาดแผนละ 50X50cm. รวม 2 แผน ผิวหนา 3แบบ ทดสอบการ ดูดซับเสียงโดย ใชโปรแกรม อิเล็คทรอนิกสวัดผล เทียบ กับวัสดุใน ทองตลาด รูปที่ 2 แผนภูมิแสดงกรอบของการวิจัยและขั้นตอนของการวิจัย
  • 5. อุปกรณและวิธีการ การวิจัยเรื่อง การศึกษาและพัฒนาวัสดุแผนฝาเพดานจากแกลบเปนรูปแบบการวิจัยเชิงทดลอง โดย กําหนดแนวทางวิธีดําเนินการวิจัยตามรายละเอียดในหัวขอดังตอไปนี้ การขึ้นรูปแผนแกลบ ก.แบบผสมกาวผง 1. ตวงแกลบใหไดจํานวน 10 ถวยตวง ประมาณ 3 ลิตร แลวใสลงในแบบที่เตรียมไว 2. ผสมกาวผงกับน้ําในอัตราสวน 5:2 ใช 2 ถวยตวง ประมาณ 600 มล. 3. ปรับผิวหนาชิ้นงานใหเทากันทั่วทั้งแผนแลวนําไปผึ่งแดดทิ้งไวเพื่อปรับสภาพ ข.แบบผสมกาวลาเท็กซกับยางพารา 1. ตวงแกลบใหไดปริมาณ 12 ถวยตวง (ประมาณ 3.6 ลิตร) ใสลงในภาชนะ PVC 2. ผสมกาวลาเท็กซกับน้ํายางพาราในอัตราสวน 4 : 3 ใช 7 ถวยตวง (2.1 ลิตร) 3. เทแกลบที่ผสมกับกาวและยางพาราแลว ลงในแบบ 4. ทิ้งไว 3 วัน พลิกวัสดุกลับดาน แลวนํายางพารา 600 มล. ทาผิวหนาชิ้นงานจนทั่วและทิ้ง ไวเพื่อปรับ สภาพ แผนทดลองที่ 1 ยิปซัมบอรดแผนเรียบหนา 12 มม. แผนทดลองที่ 2 แผนอคูสติกบอรดหนา 12 มม. แผนทดลองที่ 3 แผนฉนวนใยแกวหนา 250 มม. แผนทดลองที่ 4 แกลบผสมกาวผงหนา 10 มม. แผนทดลองที่ 5 แกลบผสมกาวลาเทกซหนา 10 มม. แผนทดลองที่ 6 แกลบผสมกาวลาเทกซและ เคลือบผิวหนาดวยยางพาราหนา 10 มม. รูปที่ 3 แสดงตัวอยางแผนทดลองทั้ง 6 แผน
  • 6. การทดสอบการสะทอนและการดูดซับเสียง 1.ติดตั้งเครื่องวัดระดับเสียงและอุปกรณอิเลคทรอนิกสเขา ดวยกัน ดังรูป 2. กลองทดลองทําจากไมอัด 12 ม.ม. ตีเปนกลอง 5ดานขนาด 50 ซ.ม.X50 ซ.ม. ยาว 2 เมตร ภายในกรุผาผวยจับจีบเปน ลอน หางกันลอนละ 1นิ้ว ดานบนกลองสามารถเปดได ขณะ ทดลอง ยกกลองสูงจากพื้นโดยการวางบนโตะ สูง 75 ซ.ม. วางกลองทดลองเปนรูปตัววี หันหนาเอียงเขาหากัน 3. ใสลําโพงและไมคมาตรฐาน บริเวณกึ่งกลางกลองทดลอง คนละดาน 4. นําวัสดุที่จะทดลองวางกึ่งกลางหนาปากกลองทดลองทั้ง สอง 5. เปดเสียงจากลําโพงใหดังออกจากปากกลองทดลองที่ 1 ไป กระทบกับแผนทดลองและสะทอนกลับมาที่ไมโครโฟนรับเสียง ที่อยูภายในกลองทดลองที่ 2 และอานคาเสียงที่ได เสียงจาก ลําโพงที่เปดในการทดลองจะมีความถี่และความดังของเสียง เทากัน จะวัดการดูดซับเสียงจากเสียงที่สะทอนจากแผน ทดลองกลับไปที่ ไมครับเสียงวาเหลือเสียงเทาไหรและถูกวัสดุ ทดลองดูดซับไปเทาไหร 6. เก็บผลการทดลองจากเครื่องคอมพิวเตอรและพิมพผลการ ทดลอง รูปที่ 4 แสดงขั้นตอนการทดสอบการ สะทอนและดูดซับเสียง
  • 7. ผลการทดลองและขอวิจารณ รูปที่ 5 ผลการทดสอบการดูดซับเสียงโดยใชโปรแกรม SmaartLive 54 ตารางที่ 1 เปรียบเทียบคาการสะทอนและการดูดซับเสียงของวัสดุทดลอง ชวงความถี่เสียง แผนทดลอง คลื่นความถี่ต่ํา (31.5Hz - 250Hz) คลื่นความถี่กลาง (251Hz – 2KHz) คลื่นความถี่สูง (2.1KHz – 16KHz) คาเฉลี่ย 1.ยิปซั่มบอรดแผนเรียบ -75 dB -85 dB -82.5 dB -80.8 dB 2.อคูสติกบอรด -82.5 dB -87.5 dB -81 dB -83.6 dB 3.ฉนวนใยแกว -80 dB -91 dB -94 dB -88.3 dB 4.แผนแกลบผสมกาวผง -88 dB -91 dB -85 dB -88 dB 5.แผนแกลบผสม- กาวลาเทกซ -91 dB -90 dB -83 dB -88 dB 6.แผนแกลบผสม- กาวลาเทกซและเคลือบ ผิวหนาดวยยางพารา -72 dB -90 dB -83 dB -81.6 dB อภิปรายผล แผนทดลองที่ 1 (ยิปซั่มบอรดแผนเรียบ) มีคาดูดซับเสียงต่ําที่สุดในทุกคลื่นความถี่เสียงเนื่องจากตัว วัสดุมีความหนาแนนสูงมีผิวหนาที่เรียบและแข็งทําใหเสียงมีการสะทอนมากที่สุด แผนทดลองที่ 2 (อคูสติกบอรด) มีคาเฉลี่ยการดูดซับเสียงต่ํากวาแผนทดลองที่ 3 เนื่องจากแผน ฉนวนใยแกวมีความหนามากกวาแผนอคูสติกบอรดมากและใยแกวที่อยูภายในฉนวนมีความหนาแนนนอยกวา แผนอคูสติกบอรด และแผนทดลองที่ 2 นี้มีคาเฉลี่ยการดูดซับเสียงต่ํากวาแผนทดลองที่ 4 และ 5 เนื่องจากพื้นผิว 4 โปรแกรม SmaartLive 5 เปนโปรแกรมสําหรับวัดความถี่ วิเคราะห และเก็บขอมูลของระบบเสียง สามารถดูรายละเอีดโปรแกรมเพิ่มเติมไดที่ http://www.siasoft.com/products/smaart_live.html
  • 8. ของแกลบมีความเปนรูพรุนที่ละเอียดมากกวาแผนอคูสติกบอรด แตแผนทดลองที่ 2 มีคาเฉลี่ยการดูดซับเสียง ดีกวาแผนทดลองที่ 1และ 6 เนื่องจาก การเคลือบผิวหนาแผนแกลบดวยยางพาราทําใหน้ํายางพาราไปอุดรูพรุน ของแผนแกลบเปนเหตุใหแผนทดลองที่ 6 มีคุณสมบัติเหมือนวัสดุผิวเรียบทั่วไป แผนทดลองที่ 3 (ฉนวนใยแกว) มีคาเฉลี่ยการดูดซับเสียงดีกวาแผนทั้งหมดเนื่องจากมีความหนาของ แผนมากกวาและวัสดุมีความออนนุมมากกวาวัสดุทั้งหมด แตในคลื่นความถี่ต่ําคาการดูดซับเสียงยังต่ํากวาแผน ทดลองที่ 2 4 5 และ 6 แผนทดลองที่ 4 (แผนแกลบผสมกาวผง) มีคาเฉลี่ยการดูดซับเสียงดีกวาแผนทดลองทั้งหมดยกเวน แผนทดลองที่ 3 เนื่องจากความหนาของวัสดุนอยกวาและมีความแข็งของพื้นผิวมากกวาแตในคลื่นความถี่ต่ํามี คาการดูดซับเสียงดีกวาแผนทดลองทั้งหมดยกเวนแผนทดลองที่ 5 แผนทดลองที่ 5 (แผนแกลบผสมกาวลาเทกซ) มีคาเฉลี่ยการดูดซับเสียงดีกวาแผนทดลองทั้งหมด ยกเวนแผนทดลองที่ 3แตในคลื่นความถี่ต่ํามีคาการดูดซับเสียงดีกวาแผนทดลองทั้งหมดเนื่องจากยังรักษา คุณสมบัติความเปนรูพรุนของแผนแกลบไวไดเสียงจึงถูกดูดซับเขาไปในรูพรุนจํานวนมากของพื้นผิวและสะทอน ออกมานอยที่สุด แผนทดลองที่ 6 (แผนแกลบผสมกาวลาเทกซและเคลือบผิวหนาดวยยางพารา) มีคาเฉลี่ยการ ดูดซับเสียงนอยกวาแผนทดลองทั้งหมดยกเวนแผนทดลองที่ 1 เนื่องจากความหนาแนนของแผนและความแข็ง ของพื้นผิวนอยกวา หมายเหตุ : ในการทดลองนี้ไดเนนความสําคัญไปที่คลื่นความถี่กลาง (251 Hz – 2 KHz) เนื่องจาก คลื่นความถี่ดังกลาวเปนคลื่นความถี่ในระดับเสียงพูดของมนุษยและเปนคลื่นเสียงที่มนุษยจะไดยินเสียงไดดีกวา คลื่นความถี่ที่ต่ําและสูงกวานี้ ซึ่งวัสดุทดลองที่มีคาการดูดซับเสียงในระดับคลื่นความถี่กลางไดดีที่สุดไดแกแผน ทดลองที่ 3 และ 4 (ฉนวนใยแกวและแผนแกลบผสมกาวผง) สรุป สรุปผลการทดลองการขึ้นรูปแผนฝาเพดาน กาวที่เหมาะสมในการใชขึ้นรูปแผนฝาเพดานจากแกลบคือ กาวผง เนื่องจากกาวผงมีคุณสมบัติที่ดีดังนี้ - ชิ้นงานแหงเร็วทําใหมีความชื้นนอย - ชิ้นงานไมหดตัว คงรูปและสีของแกลบไวไดเหมือนธรรมชาติ - มีน้ําหนักเบา สรุปผลการทดลองการดูดซับเสียงจากโปรแกรม SmaartLive 5 แกลบ สามารถนําไปผลิตเปนแผนฝาเพดานภายในอาคารไดและที่มีคุณสมบัติในการดูดซับเสียงดีกวา วัสดุฝาเพดานที่มีอยูในทองตลาด ตรงตามสมมติฐาน ปญหาการวิจัย 1 การใชกาวผงเปนกาวสําหรับขึ้นรูปแกลบเปนแผนฝาเพดาน มีขอเสียคือ เนื้อแกลบมีอาการหลุดรวง การยึดเกาะตัวกันยังไมดี
  • 9. 2 การใชกาวลาเทกซและยางพาราเปนวัสดุสําหรับขึ้นรูปแกลบเปนแผนฝาเพดาน มีขอเสียคือ วัสดุแหง ชา มีน้ําหนักมาก เมื่อขึ้นรูปแลววัสดุมีลักษณะหดตัว ไมคงรูปเดิมตามแบบ 3 วัสดุประสานที่นํามาใชมีราคาแพงและไดปริมาณการผสมนอย 4 หองทดลองเปนหองที่เก็บเสียงไมดีพอ ทําใหมีเสียงรบกวนขณะทดลอง ขอเสนอแนะ 1 ความหนาของชิ้นงานที่มากขึ้นอาจทําใหคุณสมบัติในการดูดซับเสียงมากขึ้น 2 การขึ้นรูปแผนโดยใชกาวผงควรมีการอัดแผนใหมีความหนาแนนมากกวานี้เพื่อลดการหลุดรวงของ พื้นผิว เชนการอัดดวยความรอน หรือใชน้ําหนักกดทับ 3 อาจพัฒนาพื้นผิวหนาของวัสดุใหมีลักษณะที่ตาง ๆ กันเพื่อหาพื้นผิวที่ดีที่สุดในการดูดซับเสียง เอกสารอางอิง กุลจิรา สุจิโรจน. 2548. รวยไดจากแกลบ. ศูนยเทคโนโลยีโลหะและวัสดุแหงชาติ(MTEC).แหลงที่มา : http://www.mtec.or.th/th/news/cool_stuff/cool4.html,September 19, 2006. ปรีชญา รังสิรักษ, 2541. การควบคุมเสียงภายในอาคาร.กรุงเทพฯ: คณะสถาปตยกรรมศาสตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง. ภาณุเดช ขัดเงางาม,2549. การผลิตแผนผนังภายในอาคารที่ทําจากตนธูปฤาษี ,การคนควาอิสระ สาขาวิชานวัตกรรมอาคาร บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. สฤษดิ์วงค ประธานธุรารักษ.2549.การพัฒนาวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรมาทําผนังเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพในการลดความรอน, การคนควาอิสระ สาขาวิชานวัตกรรมอาคาร บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.