SlideShare a Scribd company logo
บทที่ 4
                                 การนําเขาขอมูลดวย Enter Data

          ภายหลังจากผานขั้นตอนในการสรางแบบฟอรมการนําเขาขอมูลดวยโปรแกรมยอย
Make View (Questionnaire) และทําการจัดเก็บเปนแฟมฐานขอมูลเรียบรอยแลว ขั้นตอนตอมา เปน
การนําเอารหัสที่ไดจัดทําและเตรียมไวในแบบฟอรมลงรหัสขอมูล หรือแบบฟอรมเก็บรวบรวม
ขอมูลฉบับจริง มานําเขาและจัดเก็บลงในแฟมฐานขอมูลเดียวกันที่สรางเปนแบบฟอรมนําเขา
โดยใชโปรแกรมยอย เรียกวา Enter Data

                    4.1 หนาตางและรายการคําสังของโปรแกรมยอย Enter Data
                                              ่

          เมื่อเขาสูโปรแกรม Enter Data จะมีหนาตางหลัก 2 สวน ดังรูปที่ 4.1




        สวนที่ 2                                             สวนที่ 1




                               รูปที่ 4.1 หนาตางโปรแกรมยอย Enter Data


          ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
56                                      บทที่ 4 การนําเขาขอมูลดวย Enter Data




          ซึ่งจากหนาตางของโปรแกรมยอย Enter Data ขางตน สามารถอธิบายในสวน
รายละเอียดยอยภายในหนาตางหลักของแตละสวนไดดังนี้

            4.1.1 หนาตางหลักสวนที่ 1
                  เปนสวนของหนาตางหลักที่ใชในการนําเขาขอมูล ประกอบดวยแถบรายการ
คําสั่งหลักในการทํางาน ดังนี้

                   (1) แถบรายการคําสั่งหลัก(Main menu)ในสวนที่ 1



                 รูปที่ 4.2 รายการคําสั่งหลักบนหนาตางโปรแกรมยอย Enter Data

               (2) รายการคําสั่งหลัก File
                   เปนรายการคําสั่งยอยที่ใชในการเปดแฟมแบบฟอรมนําเขาขอมูล การปด
และการบันทึกแฟมแบบฟอรม การบีบอัดแฟม การพิมพและการออกจากโปรแกรม เปนตน




            รูปที่ 4.3 รายการคําสั่งหลัก File บนหนาตางโปรแกรมยอย Enter Data

                   (3) รายการคําสั่งหลัก Edit
                       เปนรายการคําสั่งยอยที่ใชในการคนหา และลบขอมูล




            รูปที่ 4.4 รายการคําสั่งหลัก Edit บนหนาตางโปรแกรมยอย Enter Data

          ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows                                      57




                (4) รายการคําสั่งหลัก Options
                     เปนรายการคําสั่งยอยที่ใ ชใ นการกํ าหนดตัวเลือกเปน Yes/No                                    หรือ
True/False และการปรับเปลี่ยนรูปแบบหนาตางในการนําเขาขอมูล




            รูปที่ 4.5 รายการคําสั่งหลัก Option บนหนาตางโปรแกรมยอย Enter Data

                  (5) รายการคําสั่งหลัก Help
                       เป น รายการคํ า สั่ ง ย อ ยที่ ป ระกอบด ว ยรายการในการช ว ยเหลื อ เพื่ อ ให
ผูใชงานสามารถใชงานโปรแกรมไดอยางสะดวกมากขึ้น ไดแก การอธิบายคําสั่งการใชงาน การ
สืบคนคําอธิบายวิธีการใชคําสั่งตางๆ เปนตน




              รูปที่ 4.6 รายการคําสั่งหลัก Help บนหนาตางโปรแกรมยอย Enter Data

           4.1.2 หนาตางหลักสวนที่ 2
                 เปนสวนของหนาตางหลักที่ใชในการควบคุมกํากับการนําเขาขอมูล ประกอบ
ดวยสวนตางๆในรายละเอียด ดังนี้

               (1) ส ว นแสดงลํา ดั บหน า และชื่ อ ของหน า แต ละหน า (Page                                  Names)ของ
แบบฟอรม เปนสวนที่แสดงลําดับหนาและชื่อของหนาแตละหนาในแบบฟอรม




                     รูปที่ 4.7 สวนแสดงลําดับหนา ของโปรแกรมยอย Enter Data

            ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
58                                       บทที่ 4 การนําเขาขอมูลดวย Enter Data




                  (2) สวนควบคุมกํากับการนําเขาขอมูล เปนสวนที่ควบคุมกํากับการนําเขาขอมูล
ไดแก การบันทึกขอมูล การกําหนดเรคคอรดที่ตองการลบ และการคนหาขอมูลที่ตองการ



           รูปที่ 4.8 สวนควบคุมกํากับการนําเขาขอมูลของโปรแกรมยอย Enter Data

                (3) สวนควบคุมการนําเขาขอมูลเรคคอรดใหมเปนปุมที่ใชในการเริ่มตนนําเขา
ขอมูลเรคคอรดใหม

       รูปที่ 4.9 สวนควบคุมการนําเขาขอมูลเรคคอรดใหมของโปรแกรมยอย Enter Data

                   (4) สวนควบคุมเรคคอรด เปนสวนที่ใชในการควบคุมการเคลื่อนยายไปยังเรคค
อรดที่ตองการ เชน ไปเรคคอรดแรกสุด กอนหนานี้ หรือถัดไป หรือสุดทาย เปนตน




                   รูปที่ 4.10 สวนควบคุมเรคคอรดของโปรแกรมยอย Enter Data

                                          4.2 ขั้นตอนการนําเขาขอมูล

       การนําเขาขอมูลดวยโปรแกรมยอย Enter Data มีขั้นตอนในการปฏิบัติ โดยใชขอมูลจาก
แบบสอบถามที่ลงรหัสไวดังนี้




           ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows                                           59




                         รหัสขอมูลแบบสํารวจรูปแบบการจัดการขยะในบานเรือน
        ID           SEX           AGE         EDU        COM STATUS BABY                 METHOD1…. 2…..              3…..   4


0   0    0   1         1         3     5         2          1         2          0    1         1          0          1      1
0   0    0   2         1         3     2         2          2         1          8    8         1          0          1      1
0   0    0   3         1         4     5         3          2         2          0    3         1          0          1      1
0   0    0   4         2         3     6         1          2         1          8    8         0          0          1      0
0   0    0   5         1         4     1         2          1         2          0    2         1          0          1      1
0   0    0   6         1         4     9         1          1         2          0    4         1          0          0      1
0   0    0   7         2         4     2         1          2         2          0    2         0          1          1      1
0   0    0   8         2         3     8         2          2         2          0    3         1          0          1      1
0   0    0   9         1         4     2         1          2         2          0    3         1          0          0      1
0   0    1   0         1         3     6         1          2         1          8    8         0          0          1      1
0   0    1   1         2         4     7         1          1         2          0    5         0          1          1      0
0   0    1   2         1         3     3         2          2         1          8    8         0          0          1      1
0   0    1   3         1         3     5         1          2         1          8    8         1          0          1      1
0   0    1   4         1         4     2         1          2         2          0    3         1          0          0      1
0   0    1   5         2         4     1         1          2         2          0    3         0          1          1      0
0   0    1   6         2         3     9         1          2         2          0    1         1          0          1      1
0   0    1   7         2         3     9         1          2         2          0    2         1          0          1      1
0   0    1   8         1         3     8         2          2         2          0    2         0          0          1      0
0   0    1   9         1         4     3         1          2         2          0    3         1          0          1      1
0   0    2   0         1         4     4         2          1         2          0    3         1          0          0      1
0   0    2   1         2         4     4         1          2         2          0    3         0          1          0      0
0   0    2   2         1         3     9         2          2         2          0    3         1          0          1      1




             ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
60                                          บทที่ 4 การนําเขาขอมูลดวย Enter Data




                      รหัสขอมูลแบบสํารวจรูปแบบการจัดการขยะในบานเรือน (ตอ)
         ID           SEX           AGE         EDU        COM STATUS BABY                 METHOD1…. 2…..              3…..   4


0    0    2   3         2         3     2         3          2         1          8    8         0          0          1      1
0    0    2   4         1         3     7         2          2         2          0    2         1          0          0      1
0    0    2   5         2         4     3         1          2         2          0    3         0          0          1      1
0    0    2   6         1         5     2         1          1         2          0    5         0          0          1      0
0    0    2   7         2         4     1         2          2         3          0    2         0          0          0      1
0    0    2   8         2         3     8         2          2         2          0    3         1          0          0      1
0    0    2   9         1         3     7         2          2         2          0    2         1          0          1      0
0    0    3   0         1         4     8         2          1         2          0    2         1          0          1      1
0    0    3   1         1         4     7         2          2         2          0    3         1          0          1      1
0    0    3   2         1         4     2         2          2         2          0    1         1          0          1      0
0    0    3   3         1         4     7         2          1         2          0    2         1          0          1      1
0    0    3   4         1         4     3         2          2         2          0    4         1          0          1      1
0    0    3   5         1         4     6         2          2         2          0    3         1          0          1      1
0    0    3   6         2         3     8         2          2         2          0    3         1          0          1      1
0    0    3   7         1         4     9         2          1         2          0    3         0          0          1      1
0    0    3   8         1         4     3         2          2         2          0    3         0          1          0      1
0    0    3   9         2         4     3         2          2         1          8    8         1          0          1      1
0    0    4   0         1         4     8         2          1         2          0    3         1          0          1      1
0    0    4   1         1         4     6         1          2         2          0    1         1          0          1      1
0    0    4   2         1         4     9         1          1         2          0    2         1          0          1      1
0    0    4   3         1         4     5         2          1         2          0    3         0          0          1      1
0    0    4   4         2         3     8         3          2         2          0    4         1          0          1      1
0    0    4   5         1         4     3         2          2         2          0    2         0          1          1      1
0    0    4   6         1         4     2         2          2         2          0    1         1          0          1      1
0    0    4   7         1         4     2         2          2         2          0    2         1          0          1      0
0    0    4   8         2         4     0         2          2         2          0    3         1          0          0      1

              ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows                                    61




          4.2.1 การเขาสูโปรแกรมยอย Enter Data
                เปนการเริ่มตนเรียกใชงานโปรแกรมยอย Enter Data ซึ่งสามารถเขาสูโปรแกรม
ได 2 แนวทาง โดยการเรียกใชงานโดยคลิกที่ปุม Shortcut ชื่อ Enter Data บนหนาตางหลักดังรูป
ที่ 4.11


        รูปที่ 4.11 Shortcut ของ Enter Data บนหนาตางโปรแกรม Epi Info for Windows

หรือการเรียกใชงานโดยผานรายการคําสั่งหลัก(Main Menu) ดังรูปที่ 4.12




 รูปที่ 4.12 รายการคําสั่ง Enter Data บนรายการคําสั่งหลักของโปรแกรม Epi Info for Windows

          4.2.2 การเปดแฟมฐานขอมูลและแบบฟอรมนําเขาขอมูล
                โดยเลือกชื่อแฟมฐานขอมูลหลัก(Project)เปน Garbage และชื่อแบบฟอรม
(View)เปน Method ซึ่งมีแนวทางในการปฏิบัติไดดังนี้

   . กดแปน Ctrl คางไว แลวตามดวยการกดตัวอักษร O หรือเลื่อนเมาสไปคลิกที่รายการคําสั่ง
หลัก File แลวเลื่อนไปคลิกที่รายการยอย Open ดังรูปที่ 4.13




              รูปที่ 4.13 รายการคําสั่ง Open บนหนาตางโปรแกรมยอย Enter Data
          ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
62                                       บทที่ 4 การนําเขาขอมูลดวย Enter Data




    . จากนั้นปรากฏหนาตาง Select the project เพื่อกําหนดชองไดว โฟลเดอรและระบุช่ือ Project
เปน Garbage แลวเลื่อนเมาสไปคลิกที่ปุม Open ดังรูปที่ 4.14




                รูปที่ 4.14 การเปดชื่อ project บนหนาตางโปรแกรมยอย Enter Data

  . จากนั้นจะปรากฏหนาตาง Select a table ใหระบุชื่อแบบฟอรม(View) หรือตาราง(Table) เปน
Method แลวเลื่อนเมาสไปคลิกที่ปุม OK ดังรูปที่ 4.15




                รูปที่ 4.15 การเปดชื่อ Tables บนหนาตางโปรแกรมยอย Enter Data

           ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows                                    63




   . จากนั้นจะปรากฏหนาตางของโปรแกรม Enter Data เพื่อใชในการนําเขาขอมูล ดังรูปที่ 4.16




                   รูปที่ 4.16 หนาตางการนําเขาขอมูลของโปรแกรมยอย Enter Data

            4.2.3 การนําเขาขอมูล
                   เป น การนํ า ค า รหั ส ที่ จั ด เตรี ย มไว ใ นแบบฟอร ม ลงรหั ส ข อ มู ล ดั ง ระบุ ข า งต น
จํานวน 48 ชุด พิมพลงในแบบฟอรมนําเขาขอมูลของโปรแกรมยอย Enter Data ตามหมายเลข
แบบสอบถาม และชื่อฟลดที่ระบุบนหนาตาง โดยใชปุมแท็ป(Tab) ในการขยับแถบกระพริบของ
แปนพิมพ เมื่อนําเขาขอมูลในแตละเรคคอรดแลวเสร็จ ใหกดปุม Enter เพื่อนําเขาขอมูลในเรคคอรด
ถัดไป
                   และหากตองการคนหาขอมูลในบางเรคคอรดที่นําเขาไปแลว สามารถทําไดโดย
การคลิกที่ปุม                            หรือกดปุม Ctrl – F บนแปมพิมพ หรือการเลื่อนเมาสไปคลิก
ที่รายการคําสั่งหลัก Edit ดังรูปที่ 4.17




             ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
64                                       บทที่ 4 การนําเขาขอมูลดวย Enter Data




                รูปที่ 4.17 รายการคําสั่ง Find บนหนาตางโปรแกรมยอย Enter Data

             และหากตองการไปยังบางเรคคอรดที่ตองการ สามารถทําไดโดยการคลิกที่ปุม
บนแถบควบคุมเรคคอรด ดังรูปที่ 4.18



              รูปที่ 4.18 แถบควบคุมเรคคอรดบนหนาตางโปรแกรมยอย Enter Data

                   และหากตองการลบขอมูลเรคคอรดบางเรคคอรด สามารถทําไดโดยการคลิกที่
ปุม                     หรือการเลื่อนเมาสไปคลิกที่รายการคําสั่งหลัก Edit ดังรูปที่ 4.19




              รูปที่ 4.19 รายการคําสั่ง Delete บนหนาตางโปรแกรมยอย Enter Data

                   ซึ่งการลบเรคคอรดขอมูลในโปรแกรมยอย Enter Data นี้ จะเปนการตีตรา(Mark)
วา ขอมูลเรคคอรดนี้ไดถูกกําหนดใหลบแลวเทานั้น แตยังไมไดถูกลบจริงออกจากฐานขอมูล และ
ยังสามารถยกเลิกการตีตราไดอีก โดยการคลิกที่ปุม                           หรือการเลื่อนเมาสไป
คลิกที่รายการคําสั่งหลัก Edit (ตองอยูในตําแหนงขอมูลที่ถูกกําหนดใหลบกอน) ดังรูปที่ 4.20




             รูปที่ 4.20 รายการคําสั่ง Undelete บนหนาตางโปรแกรมยอย Enter Data




           ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows                                    65




                  ถึงแมวา การลบเรคคอรดขอมูลในโปรแกรมยอย Enter Data จะไมไดถูกลบออก
จากฐานขอมูลจริง แตเมื่อนําขอมูลไปใชในโปรแกรมยอย Analyze Data เรคคอรดที่ถูกกําหนดให
ลบดังกลาว จะไมปรากฏแสดงใหเห็นบนหนาตาง และหากตองการลบขอมูลจากฐานขอมูลอยาง
ถาวร สามารถทําไดโดยการใชคําสั่ง Write(Export) ในโปรแกรมยอย Analyze Data เพื่อสราง
ฐานขอมูลใหม ที่ไมมีเรคคอรดที่ถูกกําหนดใหลบปรากฏอยู

          4.2.4 การบันทึกแฟมฐานขอมูล
                ภายหลังจากนําเขาขอมูลครบทุกเรคคอรดเรียบรอยแลว ขั้นตอนตอไปเปนการ
บันทึกแฟมขอมูลเก็บไว ซึ่งทําได 2 แนวทาง โดยใชแปนพิมพ ดวยการกดแปน ctrl คางไว แลว
ตามดวยการกดตัวอักษร S หรือเลื่อนเมาสไปคลิกที่รายการคําสั่งหลัก File แลวเลื่อนไปคลิกที่
รายการยอย Save ดังรูปที่ 4.21




                รูปที่ 4.21 รายการคําสั่ง Save บนหนาตางโปรแกรมยอย Enter Data

             4.2.5 การออกจากโปรแกรมยอย Enter Data
                   ภายหลังจากทําการบันทึกแฟมขอมูลเรียบรอยแลว ถือวา สิ้นสุดขั้นตอนการ
นําเขาขอมูล และเมื่อตองการออกจากโปรแกรม Enter Data เพื่อไปทํางานในสวนอื่นตอไป
สามารถทําได 2 แนวทาง โดยการเลื่อนเมาสไปคลิกที่ปุม Close ( ) บนแถบควบคุมหนาตาง
             ก็จะออกจากการทํางานของโปรแกรมยอย สูหนาจอปกติของโปรแกรม Epi Info หรือ
อาจเลื่อนเมาสไปคลิกที่รายการคําสั่งหลัก File แลวเลื่อนเมาสไปคลิกที่รายการคําสั่งยอย Exit
ดังรูปที่ 4.22




                รูปที่ 4.22 รายการคําสั่ง Exit บนหนาตางโปรแกรมยอย Enter Data
           ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
66                                         บทที่ 4 การนําเขาขอมูลดวย Enter Data




                                                       4.3 บทสรุป

             การนําเขาขอมูลดวยโปรแกรมยอย Enter Data เปนโปรแกรมที่ใชเพื่อนําเขาขอมูลตาม
แบบฟอรมนําเขาขอมูล ซึ่งไดมีการควบคุมและสรางเงื่อนไขเพื่อกลั่นกรองความผิดพลาดที่อาจ
เกิดขึ้นไดจากการนําเขาขอมูลโดยโปรแกรมยอย Make View (Questionnaire) แตอยางไรก็ตามใน
ขั้น ตอนนี้ ก็ ยั ง อาจมี ค วามผิด พลาดที่ เ กิ ด ขึ้น อี ก ได จากผูนํ า เข าข อ มูล ซึ่งระบบดั ง กล า วอาจไม
สามารถตรวจสอบได ดังนั้นเพื่อลดความผิดพลาดที่เกิดจากผูนําเขาขอมูล จึงตองอาศัยระบบการ
จัดการภายนอก โดยกําหนดใหมีการนําเขาขอมูล 2 ครั้ง(Double Data Entry) จากแบบฟอรมเก็บ
ขอมูลชุดเดียวกัน และจัดเก็บเปนแฟมฐานขอมูล 2 แฟม จากนั้นจึงนํามาเปรียบเทียบกัน เพื่อ
พิจารณาความแตกตางที่เกิดขึ้น โดยในรายละเอียดจะไดกลาวถึงในบทตอไป




             ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

More Related Content

Viewers also liked

Aurkezpena urtarrila-2012
Aurkezpena urtarrila-2012Aurkezpena urtarrila-2012
Aurkezpena urtarrila-2012
gaztanodi
 
Descriptive pictures Digital Connections
Descriptive pictures Digital ConnectionsDescriptive pictures Digital Connections
Descriptive pictures Digital Connections
16reneshs
 
Descriptive images for disease & communities yash and nern
Descriptive images for disease & communities yash and nernDescriptive images for disease & communities yash and nern
Descriptive images for disease & communities yash and nern
16nerns
 
William blake
William blakeWilliam blake
William blake
Mackenzie Rhead
 
Cristiane machado avaliação interna
Cristiane machado avaliação internaCristiane machado avaliação interna
Cristiane machado avaliação interna
barbara martins
 
Introduction to Psychotherapy
Introduction to PsychotherapyIntroduction to Psychotherapy
Introduction to Psychotherapy
windstar2002
 
Introduction to Psychology
Introduction to PsychologyIntroduction to Psychology
Introduction to Psychology
windstar2002
 
การสร้างแฟ้มข้อมูลจากแบบสอบถามโดยโปรแกรม SPSS
การสร้างแฟ้มข้อมูลจากแบบสอบถามโดยโปรแกรม SPSSการสร้างแฟ้มข้อมูลจากแบบสอบถามโดยโปรแกรม SPSS
การสร้างแฟ้มข้อมูลจากแบบสอบถามโดยโปรแกรม SPSS
เบญจวรรณ กลสามัญ
 

Viewers also liked (14)

Aurkezpena urtarrila-2012
Aurkezpena urtarrila-2012Aurkezpena urtarrila-2012
Aurkezpena urtarrila-2012
 
K2005
K2005K2005
K2005
 
Descriptive pictures Digital Connections
Descriptive pictures Digital ConnectionsDescriptive pictures Digital Connections
Descriptive pictures Digital Connections
 
Descriptive images for disease & communities yash and nern
Descriptive images for disease & communities yash and nernDescriptive images for disease & communities yash and nern
Descriptive images for disease & communities yash and nern
 
William blake
William blakeWilliam blake
William blake
 
Cristiane machado avaliação interna
Cristiane machado avaliação internaCristiane machado avaliação interna
Cristiane machado avaliação interna
 
Epi info unit05
Epi info unit05Epi info unit05
Epi info unit05
 
Epi info unit03
Epi info unit03Epi info unit03
Epi info unit03
 
Epi info unit02
Epi info unit02Epi info unit02
Epi info unit02
 
Introduction to Psychotherapy
Introduction to PsychotherapyIntroduction to Psychotherapy
Introduction to Psychotherapy
 
Epi info unit08
Epi info unit08Epi info unit08
Epi info unit08
 
Introduction to Psychology
Introduction to PsychologyIntroduction to Psychology
Introduction to Psychology
 
9 spss
9 spss9 spss
9 spss
 
การสร้างแฟ้มข้อมูลจากแบบสอบถามโดยโปรแกรม SPSS
การสร้างแฟ้มข้อมูลจากแบบสอบถามโดยโปรแกรม SPSSการสร้างแฟ้มข้อมูลจากแบบสอบถามโดยโปรแกรม SPSS
การสร้างแฟ้มข้อมูลจากแบบสอบถามโดยโปรแกรม SPSS
 

Epi info unit04

  • 1. บทที่ 4 การนําเขาขอมูลดวย Enter Data ภายหลังจากผานขั้นตอนในการสรางแบบฟอรมการนําเขาขอมูลดวยโปรแกรมยอย Make View (Questionnaire) และทําการจัดเก็บเปนแฟมฐานขอมูลเรียบรอยแลว ขั้นตอนตอมา เปน การนําเอารหัสที่ไดจัดทําและเตรียมไวในแบบฟอรมลงรหัสขอมูล หรือแบบฟอรมเก็บรวบรวม ขอมูลฉบับจริง มานําเขาและจัดเก็บลงในแฟมฐานขอมูลเดียวกันที่สรางเปนแบบฟอรมนําเขา โดยใชโปรแกรมยอย เรียกวา Enter Data 4.1 หนาตางและรายการคําสังของโปรแกรมยอย Enter Data ่ เมื่อเขาสูโปรแกรม Enter Data จะมีหนาตางหลัก 2 สวน ดังรูปที่ 4.1 สวนที่ 2 สวนที่ 1 รูปที่ 4.1 หนาตางโปรแกรมยอย Enter Data ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
  • 2. 56 บทที่ 4 การนําเขาขอมูลดวย Enter Data ซึ่งจากหนาตางของโปรแกรมยอย Enter Data ขางตน สามารถอธิบายในสวน รายละเอียดยอยภายในหนาตางหลักของแตละสวนไดดังนี้ 4.1.1 หนาตางหลักสวนที่ 1 เปนสวนของหนาตางหลักที่ใชในการนําเขาขอมูล ประกอบดวยแถบรายการ คําสั่งหลักในการทํางาน ดังนี้ (1) แถบรายการคําสั่งหลัก(Main menu)ในสวนที่ 1 รูปที่ 4.2 รายการคําสั่งหลักบนหนาตางโปรแกรมยอย Enter Data (2) รายการคําสั่งหลัก File เปนรายการคําสั่งยอยที่ใชในการเปดแฟมแบบฟอรมนําเขาขอมูล การปด และการบันทึกแฟมแบบฟอรม การบีบอัดแฟม การพิมพและการออกจากโปรแกรม เปนตน รูปที่ 4.3 รายการคําสั่งหลัก File บนหนาตางโปรแกรมยอย Enter Data (3) รายการคําสั่งหลัก Edit เปนรายการคําสั่งยอยที่ใชในการคนหา และลบขอมูล รูปที่ 4.4 รายการคําสั่งหลัก Edit บนหนาตางโปรแกรมยอย Enter Data ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
  • 3. คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows 57 (4) รายการคําสั่งหลัก Options เปนรายการคําสั่งยอยที่ใ ชใ นการกํ าหนดตัวเลือกเปน Yes/No หรือ True/False และการปรับเปลี่ยนรูปแบบหนาตางในการนําเขาขอมูล รูปที่ 4.5 รายการคําสั่งหลัก Option บนหนาตางโปรแกรมยอย Enter Data (5) รายการคําสั่งหลัก Help เป น รายการคํ า สั่ ง ย อ ยที่ ป ระกอบด ว ยรายการในการช ว ยเหลื อ เพื่ อ ให ผูใชงานสามารถใชงานโปรแกรมไดอยางสะดวกมากขึ้น ไดแก การอธิบายคําสั่งการใชงาน การ สืบคนคําอธิบายวิธีการใชคําสั่งตางๆ เปนตน รูปที่ 4.6 รายการคําสั่งหลัก Help บนหนาตางโปรแกรมยอย Enter Data 4.1.2 หนาตางหลักสวนที่ 2 เปนสวนของหนาตางหลักที่ใชในการควบคุมกํากับการนําเขาขอมูล ประกอบ ดวยสวนตางๆในรายละเอียด ดังนี้ (1) ส ว นแสดงลํา ดั บหน า และชื่ อ ของหน า แต ละหน า (Page Names)ของ แบบฟอรม เปนสวนที่แสดงลําดับหนาและชื่อของหนาแตละหนาในแบบฟอรม รูปที่ 4.7 สวนแสดงลําดับหนา ของโปรแกรมยอย Enter Data ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
  • 4. 58 บทที่ 4 การนําเขาขอมูลดวย Enter Data (2) สวนควบคุมกํากับการนําเขาขอมูล เปนสวนที่ควบคุมกํากับการนําเขาขอมูล ไดแก การบันทึกขอมูล การกําหนดเรคคอรดที่ตองการลบ และการคนหาขอมูลที่ตองการ รูปที่ 4.8 สวนควบคุมกํากับการนําเขาขอมูลของโปรแกรมยอย Enter Data (3) สวนควบคุมการนําเขาขอมูลเรคคอรดใหมเปนปุมที่ใชในการเริ่มตนนําเขา ขอมูลเรคคอรดใหม รูปที่ 4.9 สวนควบคุมการนําเขาขอมูลเรคคอรดใหมของโปรแกรมยอย Enter Data (4) สวนควบคุมเรคคอรด เปนสวนที่ใชในการควบคุมการเคลื่อนยายไปยังเรคค อรดที่ตองการ เชน ไปเรคคอรดแรกสุด กอนหนานี้ หรือถัดไป หรือสุดทาย เปนตน รูปที่ 4.10 สวนควบคุมเรคคอรดของโปรแกรมยอย Enter Data 4.2 ขั้นตอนการนําเขาขอมูล การนําเขาขอมูลดวยโปรแกรมยอย Enter Data มีขั้นตอนในการปฏิบัติ โดยใชขอมูลจาก แบบสอบถามที่ลงรหัสไวดังนี้ ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
  • 5. คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows 59 รหัสขอมูลแบบสํารวจรูปแบบการจัดการขยะในบานเรือน ID SEX AGE EDU COM STATUS BABY METHOD1…. 2….. 3….. 4 0 0 0 1 1 3 5 2 1 2 0 1 1 0 1 1 0 0 0 2 1 3 2 2 2 1 8 8 1 0 1 1 0 0 0 3 1 4 5 3 2 2 0 3 1 0 1 1 0 0 0 4 2 3 6 1 2 1 8 8 0 0 1 0 0 0 0 5 1 4 1 2 1 2 0 2 1 0 1 1 0 0 0 6 1 4 9 1 1 2 0 4 1 0 0 1 0 0 0 7 2 4 2 1 2 2 0 2 0 1 1 1 0 0 0 8 2 3 8 2 2 2 0 3 1 0 1 1 0 0 0 9 1 4 2 1 2 2 0 3 1 0 0 1 0 0 1 0 1 3 6 1 2 1 8 8 0 0 1 1 0 0 1 1 2 4 7 1 1 2 0 5 0 1 1 0 0 0 1 2 1 3 3 2 2 1 8 8 0 0 1 1 0 0 1 3 1 3 5 1 2 1 8 8 1 0 1 1 0 0 1 4 1 4 2 1 2 2 0 3 1 0 0 1 0 0 1 5 2 4 1 1 2 2 0 3 0 1 1 0 0 0 1 6 2 3 9 1 2 2 0 1 1 0 1 1 0 0 1 7 2 3 9 1 2 2 0 2 1 0 1 1 0 0 1 8 1 3 8 2 2 2 0 2 0 0 1 0 0 0 1 9 1 4 3 1 2 2 0 3 1 0 1 1 0 0 2 0 1 4 4 2 1 2 0 3 1 0 0 1 0 0 2 1 2 4 4 1 2 2 0 3 0 1 0 0 0 0 2 2 1 3 9 2 2 2 0 3 1 0 1 1 ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
  • 6. 60 บทที่ 4 การนําเขาขอมูลดวย Enter Data รหัสขอมูลแบบสํารวจรูปแบบการจัดการขยะในบานเรือน (ตอ) ID SEX AGE EDU COM STATUS BABY METHOD1…. 2….. 3….. 4 0 0 2 3 2 3 2 3 2 1 8 8 0 0 1 1 0 0 2 4 1 3 7 2 2 2 0 2 1 0 0 1 0 0 2 5 2 4 3 1 2 2 0 3 0 0 1 1 0 0 2 6 1 5 2 1 1 2 0 5 0 0 1 0 0 0 2 7 2 4 1 2 2 3 0 2 0 0 0 1 0 0 2 8 2 3 8 2 2 2 0 3 1 0 0 1 0 0 2 9 1 3 7 2 2 2 0 2 1 0 1 0 0 0 3 0 1 4 8 2 1 2 0 2 1 0 1 1 0 0 3 1 1 4 7 2 2 2 0 3 1 0 1 1 0 0 3 2 1 4 2 2 2 2 0 1 1 0 1 0 0 0 3 3 1 4 7 2 1 2 0 2 1 0 1 1 0 0 3 4 1 4 3 2 2 2 0 4 1 0 1 1 0 0 3 5 1 4 6 2 2 2 0 3 1 0 1 1 0 0 3 6 2 3 8 2 2 2 0 3 1 0 1 1 0 0 3 7 1 4 9 2 1 2 0 3 0 0 1 1 0 0 3 8 1 4 3 2 2 2 0 3 0 1 0 1 0 0 3 9 2 4 3 2 2 1 8 8 1 0 1 1 0 0 4 0 1 4 8 2 1 2 0 3 1 0 1 1 0 0 4 1 1 4 6 1 2 2 0 1 1 0 1 1 0 0 4 2 1 4 9 1 1 2 0 2 1 0 1 1 0 0 4 3 1 4 5 2 1 2 0 3 0 0 1 1 0 0 4 4 2 3 8 3 2 2 0 4 1 0 1 1 0 0 4 5 1 4 3 2 2 2 0 2 0 1 1 1 0 0 4 6 1 4 2 2 2 2 0 1 1 0 1 1 0 0 4 7 1 4 2 2 2 2 0 2 1 0 1 0 0 0 4 8 2 4 0 2 2 2 0 3 1 0 0 1 ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
  • 7. คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows 61 4.2.1 การเขาสูโปรแกรมยอย Enter Data เปนการเริ่มตนเรียกใชงานโปรแกรมยอย Enter Data ซึ่งสามารถเขาสูโปรแกรม ได 2 แนวทาง โดยการเรียกใชงานโดยคลิกที่ปุม Shortcut ชื่อ Enter Data บนหนาตางหลักดังรูป ที่ 4.11 รูปที่ 4.11 Shortcut ของ Enter Data บนหนาตางโปรแกรม Epi Info for Windows หรือการเรียกใชงานโดยผานรายการคําสั่งหลัก(Main Menu) ดังรูปที่ 4.12 รูปที่ 4.12 รายการคําสั่ง Enter Data บนรายการคําสั่งหลักของโปรแกรม Epi Info for Windows 4.2.2 การเปดแฟมฐานขอมูลและแบบฟอรมนําเขาขอมูล โดยเลือกชื่อแฟมฐานขอมูลหลัก(Project)เปน Garbage และชื่อแบบฟอรม (View)เปน Method ซึ่งมีแนวทางในการปฏิบัติไดดังนี้ . กดแปน Ctrl คางไว แลวตามดวยการกดตัวอักษร O หรือเลื่อนเมาสไปคลิกที่รายการคําสั่ง หลัก File แลวเลื่อนไปคลิกที่รายการยอย Open ดังรูปที่ 4.13 รูปที่ 4.13 รายการคําสั่ง Open บนหนาตางโปรแกรมยอย Enter Data ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
  • 8. 62 บทที่ 4 การนําเขาขอมูลดวย Enter Data . จากนั้นปรากฏหนาตาง Select the project เพื่อกําหนดชองไดว โฟลเดอรและระบุช่ือ Project เปน Garbage แลวเลื่อนเมาสไปคลิกที่ปุม Open ดังรูปที่ 4.14 รูปที่ 4.14 การเปดชื่อ project บนหนาตางโปรแกรมยอย Enter Data . จากนั้นจะปรากฏหนาตาง Select a table ใหระบุชื่อแบบฟอรม(View) หรือตาราง(Table) เปน Method แลวเลื่อนเมาสไปคลิกที่ปุม OK ดังรูปที่ 4.15 รูปที่ 4.15 การเปดชื่อ Tables บนหนาตางโปรแกรมยอย Enter Data ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
  • 9. คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows 63 . จากนั้นจะปรากฏหนาตางของโปรแกรม Enter Data เพื่อใชในการนําเขาขอมูล ดังรูปที่ 4.16 รูปที่ 4.16 หนาตางการนําเขาขอมูลของโปรแกรมยอย Enter Data 4.2.3 การนําเขาขอมูล เป น การนํ า ค า รหั ส ที่ จั ด เตรี ย มไว ใ นแบบฟอร ม ลงรหั ส ข อ มู ล ดั ง ระบุ ข า งต น จํานวน 48 ชุด พิมพลงในแบบฟอรมนําเขาขอมูลของโปรแกรมยอย Enter Data ตามหมายเลข แบบสอบถาม และชื่อฟลดที่ระบุบนหนาตาง โดยใชปุมแท็ป(Tab) ในการขยับแถบกระพริบของ แปนพิมพ เมื่อนําเขาขอมูลในแตละเรคคอรดแลวเสร็จ ใหกดปุม Enter เพื่อนําเขาขอมูลในเรคคอรด ถัดไป และหากตองการคนหาขอมูลในบางเรคคอรดที่นําเขาไปแลว สามารถทําไดโดย การคลิกที่ปุม หรือกดปุม Ctrl – F บนแปมพิมพ หรือการเลื่อนเมาสไปคลิก ที่รายการคําสั่งหลัก Edit ดังรูปที่ 4.17 ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
  • 10. 64 บทที่ 4 การนําเขาขอมูลดวย Enter Data รูปที่ 4.17 รายการคําสั่ง Find บนหนาตางโปรแกรมยอย Enter Data และหากตองการไปยังบางเรคคอรดที่ตองการ สามารถทําไดโดยการคลิกที่ปุม บนแถบควบคุมเรคคอรด ดังรูปที่ 4.18 รูปที่ 4.18 แถบควบคุมเรคคอรดบนหนาตางโปรแกรมยอย Enter Data และหากตองการลบขอมูลเรคคอรดบางเรคคอรด สามารถทําไดโดยการคลิกที่ ปุม หรือการเลื่อนเมาสไปคลิกที่รายการคําสั่งหลัก Edit ดังรูปที่ 4.19 รูปที่ 4.19 รายการคําสั่ง Delete บนหนาตางโปรแกรมยอย Enter Data ซึ่งการลบเรคคอรดขอมูลในโปรแกรมยอย Enter Data นี้ จะเปนการตีตรา(Mark) วา ขอมูลเรคคอรดนี้ไดถูกกําหนดใหลบแลวเทานั้น แตยังไมไดถูกลบจริงออกจากฐานขอมูล และ ยังสามารถยกเลิกการตีตราไดอีก โดยการคลิกที่ปุม หรือการเลื่อนเมาสไป คลิกที่รายการคําสั่งหลัก Edit (ตองอยูในตําแหนงขอมูลที่ถูกกําหนดใหลบกอน) ดังรูปที่ 4.20 รูปที่ 4.20 รายการคําสั่ง Undelete บนหนาตางโปรแกรมยอย Enter Data ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
  • 11. คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows 65 ถึงแมวา การลบเรคคอรดขอมูลในโปรแกรมยอย Enter Data จะไมไดถูกลบออก จากฐานขอมูลจริง แตเมื่อนําขอมูลไปใชในโปรแกรมยอย Analyze Data เรคคอรดที่ถูกกําหนดให ลบดังกลาว จะไมปรากฏแสดงใหเห็นบนหนาตาง และหากตองการลบขอมูลจากฐานขอมูลอยาง ถาวร สามารถทําไดโดยการใชคําสั่ง Write(Export) ในโปรแกรมยอย Analyze Data เพื่อสราง ฐานขอมูลใหม ที่ไมมีเรคคอรดที่ถูกกําหนดใหลบปรากฏอยู 4.2.4 การบันทึกแฟมฐานขอมูล ภายหลังจากนําเขาขอมูลครบทุกเรคคอรดเรียบรอยแลว ขั้นตอนตอไปเปนการ บันทึกแฟมขอมูลเก็บไว ซึ่งทําได 2 แนวทาง โดยใชแปนพิมพ ดวยการกดแปน ctrl คางไว แลว ตามดวยการกดตัวอักษร S หรือเลื่อนเมาสไปคลิกที่รายการคําสั่งหลัก File แลวเลื่อนไปคลิกที่ รายการยอย Save ดังรูปที่ 4.21 รูปที่ 4.21 รายการคําสั่ง Save บนหนาตางโปรแกรมยอย Enter Data 4.2.5 การออกจากโปรแกรมยอย Enter Data ภายหลังจากทําการบันทึกแฟมขอมูลเรียบรอยแลว ถือวา สิ้นสุดขั้นตอนการ นําเขาขอมูล และเมื่อตองการออกจากโปรแกรม Enter Data เพื่อไปทํางานในสวนอื่นตอไป สามารถทําได 2 แนวทาง โดยการเลื่อนเมาสไปคลิกที่ปุม Close ( ) บนแถบควบคุมหนาตาง ก็จะออกจากการทํางานของโปรแกรมยอย สูหนาจอปกติของโปรแกรม Epi Info หรือ อาจเลื่อนเมาสไปคลิกที่รายการคําสั่งหลัก File แลวเลื่อนเมาสไปคลิกที่รายการคําสั่งยอย Exit ดังรูปที่ 4.22 รูปที่ 4.22 รายการคําสั่ง Exit บนหนาตางโปรแกรมยอย Enter Data ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
  • 12. 66 บทที่ 4 การนําเขาขอมูลดวย Enter Data 4.3 บทสรุป การนําเขาขอมูลดวยโปรแกรมยอย Enter Data เปนโปรแกรมที่ใชเพื่อนําเขาขอมูลตาม แบบฟอรมนําเขาขอมูล ซึ่งไดมีการควบคุมและสรางเงื่อนไขเพื่อกลั่นกรองความผิดพลาดที่อาจ เกิดขึ้นไดจากการนําเขาขอมูลโดยโปรแกรมยอย Make View (Questionnaire) แตอยางไรก็ตามใน ขั้น ตอนนี้ ก็ ยั ง อาจมี ค วามผิด พลาดที่ เ กิ ด ขึ้น อี ก ได จากผูนํ า เข าข อ มูล ซึ่งระบบดั ง กล า วอาจไม สามารถตรวจสอบได ดังนั้นเพื่อลดความผิดพลาดที่เกิดจากผูนําเขาขอมูล จึงตองอาศัยระบบการ จัดการภายนอก โดยกําหนดใหมีการนําเขาขอมูล 2 ครั้ง(Double Data Entry) จากแบบฟอรมเก็บ ขอมูลชุดเดียวกัน และจัดเก็บเปนแฟมฐานขอมูล 2 แฟม จากนั้นจึงนํามาเปรียบเทียบกัน เพื่อ พิจารณาความแตกตางที่เกิดขึ้น โดยในรายละเอียดจะไดกลาวถึงในบทตอไป ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน