SlideShare a Scribd company logo
ราง
พระราชบัญญัติ
การศึกษาแหงชาติ
พ.ศ. ....
.......................................
....................................
..........................................
........................................................................................................................................
โดยที่เปนการสมควรปรับปรุงกฎหมายวาดวยการศึกษาแหงชาติ
พระราชบัญญัตินี้มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจํากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล…
..................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกวา “พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. ....”
มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
เปนตนไป
มาตรา ๓ ใหยกเลิก
(๑) พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒
(๒) พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕
(๓) พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๓
-๒-
มาตรา ๔ ในพระราชบัญญัตินี้
“การศึกษา” หมายความวา กระบวนการเรียนรูเพื่อความเจริญงอกงามของบุคคลและสังคม
โดยการถายทอดความรู การฝก การอบรม การสืบสานทางวัฒนธรรม การสรางสรรคจรรโลงความกาวหนาทาง
วิชาการ การสรางองคความรูอันเกิดจากการจัดสภาพแวดลอม สังคม การเรียนรูและปจจัยเกื้อหนุนใหบุคคล
เรียนรูอยางตอเนื่องตลอดชีวิต
“การศึกษาภาคบังคับ”หมายความวา การศึกษาที่จัดใหเด็กจํานวนเกาชั้นปโดยไมเสีย
คาใชจาย และใหเด็กซึ่งมีอายุยางเขาปที่สี่เขาเรียนในสถานศึกษาจนอายุเขาปที่สิบสอง เวนแตสอบไดชั้นปที่
เกาของการศึกษาภาคบังคับ
“เตรียมอุดมศึกษา” หมายความวา การศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เพื่อเตรียมความ
พรอมผูเรียนกอนเขาเรียนระดับอุดมศึกษา
“การศึกษาตลอดชีวิต” หมายความวา การศึกษาที่เกิดจากการผสมผสานระหวางการศึกษา
ในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อใหสามารถพัฒนาคุณภาพชีวิตไดอยางตอเนื่อง
ตลอดชีวิต
“สถานศึกษา” หมายความวา สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย โรงเรียน ศูนยการเรียน วิทยาลัย
สถาบัน มหาวิทยาลัย หนวยงานการศึกษา หรือหนวยงานอื่นของรัฐหรือของเอกชน ที่มีอํานาจหนาที่หรือมี
วัตถุประสงคในการจัดการศึกษา
“มาตรฐานการศึกษา” หมายความวา ขอกําหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะ คุณภาพ ที่พึง
ประสงคและมาตรฐานที่ตองการใหเกิดขึ้นในสถานศึกษาทุกแหง และเพื่อใชเปนหลักในการเทียบเคียงสําหรับ
การสงเสริมและกํากับดูแล การตรวจสอบ การประเมินผล และการประกันคุณภาพทางการศึกษา
“หลักสูตรแกนกลางการศึกษาภาคบังคับ” หมายความวา หลักสูตรการศึกษาที่สถาบันวิจัย
และพัฒนาหลักสูตรแหงชาติจัดทําขึ้นเพื่อเปนกรอบหรือแนวทางของการจัดทําหลักสูตรการศึกษาภาคบังคับ
ของสถานศึกษา
“การประกันคุณภาพภายใน” หมายความวา การประเมินผล การควบคุมและการติดตาม
ตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาจากภายใน เพื่อใหเกิดการพัฒนาคุณภาพและ
มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา โดยบุคลากรของสถานศึกษานั้นเอง หรือโดยหนวยงานตนสังกัดที่มีหนาที่
กํากับดูแลสถานศึกษานั้น
“การประกันคุณภาพภายนอก” หมายความวา การประเมินผลและการติดตามตรวจสอบ
คุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาจากภายนอก โดยสํานักงานรับรองมาตรฐานการศึกษา
แหงชาติหรือบุคคลหรือหนวยงานภายนอกที่สํานักงานดังกลาวรับรอง เพื่อใหเกิดการพัฒนาการประกัน
คุณภาพ และพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
“ผูสอน” หมายความวา ครูและคณาจารยในสถานศึกษาระดับตาง ๆ
-๓-
“ครู” หมายความวา บุคลากรวิชาชีพซึ่งทําหนาที่หลักทางดานการเรียนการสอนและการ
สงเสริมการเรียนรูของผูเรียนดวยวิธีการตาง ๆ ในสถานศึกษาทั้งของรัฐและเอกชน
“คณาจารย” หมายความวา บุคลากรซึ่งทําหนาที่หลักทางดานการสอนและการวิจัยใน
สถานศึกษาระดับอุดมศึกษาระดับปริญญาของรัฐและเอกชน
“ผูบริหารสถานศึกษา” หมายความวา บุคลากรวิชาชีพที่รับผิดชอบการบริหารสถานศึกษา
แตละแหง ทั้งของรัฐและเอกชน
“ผูบริหารการศึกษา” หมายความวา บุคลากรวิชาชีพที่รับผิดชอบการบริหารการศึกษานอก
สถานศึกษา
“บุคลากรทางการศึกษา” หมายความวา ผูบริหารสถานศึกษา ผูบริหารการศึกษา รวมทั้ง
ผูสนับสนุนการศึกษาซึ่งเปนผูทําหนาที่ใหบริการ หรือปฏิบัติงานเกี่ยวเนื่องกับการจัดกระบวนการเรียนการ
สอน การนิเทศ และการบริหารการศึกษาในหนวยงานการศึกษาตาง ๆ
“กระทรวง” หมายความวา กระทรวงกลาโหม กระทรวงการทองเที่ยวและกีฬา กระทรวง
การพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงมหาดไทยหรือกระทรวงวัฒนธรรม แลวแตกรณี
“รัฐมนตรี” หมายความวา รัฐมนตรีผูรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้
มาตรา ๕ ใหนายกรัฐมนตรีรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้
ใหสภานโยบายและพัฒนาการศึกษาแหงชาติ มีอํานาจในการออกระเบียบ หรือประกาศ
เพื่อใหมีการปฏิบัติตามอํานาจหนาที่ที่กําหนดไวในพระราชบัญญัตินี้
ระเบียบ และประกาศนั้น เมื่อไดประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลวใหใชบังคับได
หมวด ๑
บททั่วไป
ความมุงหมายและหลักการ
มาตรา ๖ การจัดการศึกษาตองเปนไปเพื่อพัฒนาคนไทยใหเปนมนุษยที่สมบูรณทั้ง
รางกาย จิตใจ สติปญญา ความรู และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดํารงชีวิต สามารถอยูรวมกับ
ผูอื่นไดอยางมีความสุข และตองมีการพัฒนาการศึกษาอยางมีคุณภาพและมาตรฐานและทันการเปลี่ยนแปลง
ของสังคมโลกและเปนไปอยางตอเนื่องและทันเหตุการณ
-๔-
มาตรา ๗ ในกระบวนการเรียนรูตองมุงปลูกฝงใหผูเรียนมีคุณลักษณะ ดังตอไปนี้
(๑) มีจิตสํานึกที่ถูกตองและยึดมั่นในการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษัตริยทรงเปนประมุข
(๒) รูจักรักษาและสงเสริมสิทธิ หนาที่ เสรีภาพ ความเคารพกฎหมาย ความเสมอภาค และ
ศักดิ์ศรีความเปนมนุษย
(๓) มีระเบียบวินัยคํานึงถึงประโยชนสวนรวม รูจักเสียสละเพื่อสวนรวม
(๔) มีความภาคภูมิใจในความเปนไทย รูจักรักษาผลประโยชนสวนรวมและของประเทศชาติ
รวมทั้งสงเสริมศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรมของชาติ การกีฬา ภูมิปญญาไทย ภูมิปญญาทองถิ่น และความรูอัน
เปนสากล ตลอดจนอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
(๕) มีความสามารถในการประกอบอาชีพ รูจักพึ่งตนเอง ยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง
(๖) มีความคิดริเริ่มสรางสรรค ใฝรูและเรียนรูไดดวยตนเองอยางตอเนื่องตลอดชีวิต
มาตรา ๘ การจัดการศึกษาใหยึดหลัก ดังนี้
(๑) เปนการศึกษาตลอดชีวิตสําหรับประชาชน
(๒) ใหสังคมมีสวนรวมในการจัดการศึกษา
(๓) การพัฒนาสาระและกระบวนการเรียนรูใหเปนไปอยางตอเนื่อง
มาตรา ๙ การจัดระบบ โครงสราง และกระบวนการจัดการศึกษา ใหยึดหลัก ดังนี้
(๑) มีเอกภาพดานนโยบาย และมีความหลากหลายในการปฏิบัติ
(๒) มีการกระจายอํานาจทางการศึกษา งบประมาณ และทรัพยากรทางการศึกษาไป
สูสถานศึกษา และองคกรปกครองสวนทองถิ่น
(๓) มีการกําหนดมาตรฐานการศึกษา และจัดระบบประกันคุณภาพการศึกษาทุกระดับและ
ประเภทการศึกษา มีการรับรองและตรวจสอบคุณวุฒิการศึกษาของผูเรียนและครู คณาจารย และบุคลากร
ทางการศึกษา
(๔) มีการจัดการศึกษาใหเปนไปตามหลักสูตรของสถานศึกษา โดยเฉพาะอยางยิ่งใน
การศึกษาภาคบังคับตองสอดคลองกับหลักสูตรแกนกลางดวย
(๕) มีหลักการสงเสริมมาตรฐานวิชาชีพครู คณาจารย และบุคลากรทางการศึกษา และการ
พัฒนาครู คณาจารย และบุคลากรทางการศึกษาอยางตอเนื่อง
(๖) ระดมทรัพยากรจากแหลงตาง ๆ มาใชในการจัดการศึกษา
(๗) สงเสริม และพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา และนําไปใชอยางมี
ประสิทธิภาพ
(๘) การมีสวนรวมของบุคคล ครอบครัว ชุมชน องคกรชุมชน องคกรปกครองสวนทองถิ่น
เอกชน องคกรเอกชน องคกรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอื่น
-๕-
หมวด ๒
สิทธิและหนาที่ทางการศึกษา
มาตรา ๑๐ การจัดการศึกษา ตองจัดใหบุคคลมีสิทธิและโอกาสเสมอกันในการรับการศึกษา
จํานวนเกาป ที่รัฐจะตองจัดใหอยางทั่วถึงและมีคุณภาพ โดยไมเก็บคาใชจาย เริ่มจากระดับปฐมวัยจนถึงระดับ
ประถมศึกษา
ภายใตบังคับมาตรา ๒๐ ใหรัฐจัดทุนการศึกษาใหแกบุคคลตามวรรคหนึ่งตามความจําเปน
ทั้งนี้ ตามที่กําหนดในกฎกระทรวง
มาตรา ๑๑ บุคคลดังตอไปนี้มีสิทธิและโอกาสไดรับการศึกษาเปนพิเศษจากรัฐ
(๑) บุคคลซึ่งมีความบกพรองทางรางกาย จิตใจ สติปญญา อารมณ สังคม การสื่อสาร และ
การเรียนรู หรือมีรางกายพิการหรือทุพพลภาพ ใหจัดการศึกษาตั้งแตแรกเกิดหรือพบความพิการโดยไมเสีย
คาใชจาย
(๒) บุคคลซึ่งไมสามารถพึ่งตนเองได หรือไมมีผูดูแล หรือดอยโอกาส
สิทธิและโอกาสไดรับการศึกษาเปนพิเศษจากรัฐ ใหหมายความรวมถึงการไดรับสิ่งอํานวย
ความสะดวก สื่อ บริการ และความชวยเหลืออื่นใดทางการศึกษา ตามหลักเกณฑและวิธีการที่กําหนด
ในระเบียบของสภานโยบายและพัฒนาการศึกษาแหงชาติ
มาตรา ๑๒ การจัดการศึกษาสําหรับบุคคลซึ่งมีความสามารถพิเศษ ตองจัดดวยรูปแบบที่
เหมาะสมโดยคํานึงถึงความสามารถของบุคคลนั้น
มาตรา ๑๓ บิดา มารดา หรือผูปกครองมีหนาที่จัดใหบุตรหรือบุคคลซึ่งอยูในความดูแลไดรับ
การศึกษาภาคบังคับตามมาตรา ๒๐ และตามกฎหมายที่เกี่ยวของ ตลอดจนใหไดรับการศึกษานอกเหนือจาก
การศึกษาภาคบังคับ ตามความพรอมของครอบครัว
มาตรา ๑๔ ใหรัฐ และองคกรปกครองสวนทองถิ่นมีหนาที่ในการจัดการศึกษา ทั้งนี้ ตามที่
กําหนดในนโยบายการศึกษาแหงชาติ ตลอดจนใหบุคคล ครอบครัว องคกรชุมชน เอกชน องคกรเอกชน
องคกรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอื่น มีสิทธิในการจัดการศึกษา ทั้งนี้ ให
เปนไปตามที่กฎหมายวาดวยสภานโยบายและพัฒนาการศึกษาแหงชาติ
มาตรา ๑๕ บิดา มารดา หรือผูปกครองมีสิทธิไดรับสิทธิประโยชน ดังตอไปนี้
(๑) การสนับสนุนจากรัฐ ใหมีความรูความสามารถในการอบรมเลี้ยงดู และการใหการศึกษา
แกบุตรหรือบุคคลซึ่งอยูในความดูแล ทั้งนี้ ตามที่กําหนดในพระราชบัญญัตินี้
-๖-
(๒) เงินอุดหนุนจากรัฐสําหรับการจัดการศึกษาภาคบังคับของบุตรหรือบุคคลซึ่งอยูในความ
ดูแลที่ครอบครัวจัดให ใหอุดหนุนเปนเวลาเกาปนับแตเริ่มเขารับการศึกษาภาคบังคับ ทั้งนี้ ตามที่กําหนดใน
พระราชบัญญัตินี้
(๓) การดูแลและเสริมสรางพัฒนาการการเรียนรูของเด็กตั้งแตแรกเกิดจนเขาสูการศึกษาภาค
บังคับโดยไดรับการอุดหนุนจากองคกรปกครองสวนทองถิ่น ทั้งนี้ ตามที่กําหนดในกฎหมายวาดวยการจัดการ
และบริหารการศึกษาขององคกรปกครองสวนทองถิ่น
(๔) การลดหยอนหรือยกเวนภาษีสําหรับคาใชจายการศึกษาตามที่กฎหมายกําหนด
มาตรา ๑๖ บุคคล ครอบครัว ชุมชน องคกรชุมชน องคกรเอกชน องคกรวิชาชีพ สถาบัน
ศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอื่น ซึ่งสนับสนุนหรือจัดการศึกษาภาคบังคับมีสิทธิไดรับสิทธิ
ประโยชนตามควรแกกรณี ดังตอไปนี้
(๑) การสนับสนุนจากรัฐใหมีความรูความสามารถในการอบรมเลี้ยงดูบุคคลซึ่งอยูในความ
ดูแลรับผิดชอบ ทั้งนี้ ตามที่กําหนดในพระราชบัญญัตินี้
(๒) เงินอุดหนุนจากรัฐสําหรับการจัดการศึกษาภาคบังคับ ทั้งนี้ ตามที่กําหนดใน
พระราชบัญญัตินี้
(๓) การลดหยอนหรือยกเวนภาษีสําหรับคาใชจายการศึกษาตามที่กฎหมายกําหนด
หมวด ๓
ระบบการศึกษา
มาตรา ๑๗ การจัดการศึกษามีสามรูปแบบ คือ การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และ
การศึกษาตามอัธยาศัย
(๑) การศึกษาในระบบ เปนการศึกษาที่กําหนดจุดมุงหมาย วิธีการศึกษา หลักสูตร
ระยะเวลาของการศึกษา และการวัดและประเมินผล ซึ่งเปนเงื่อนไขของการสําเร็จการศึกษาที่แนนอน
(๒) การศึกษานอกระบบ เปนการศึกษาที่มีความยืดหยุนในการกําหนดจุดมุงหมาย รูปแบบ
วิธีการจัดการศึกษา ระยะเวลาของการศึกษา และการวัดและประเมินผล ซึ่งเปนเงื่อนไขสําคัญของการสําเร็จ
การศึกษา โดยเนื้อหาและหลักสูตรจะตองมีความเหมาะสมสอดคลองกับสภาพปญหาและความตองการของ
บุคคลแตละกลุม
(๓) การศึกษาตามอัธยาศัย เปนการศึกษาที่ใหผูเรียนไดเรียนรูดวยตนเองตามความสนใจ
ศักยภาพ ความพรอม และโอกาส โดยศึกษาจากบุคคล ประสบการณ สังคม สภาพแวดลอม สื่อ หรือแหลง
ความรูอื่น ๆ
สถานศึกษาสามารถจัดการศึกษาในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่งหรือทั้งสามรูปแบบก็ได
-๗-
ใหมีการเทียบโอนผลการเรียนที่ผูเรียนสะสมไวในระหวางรูปแบบเดียวกันหรือตางรูปแบบได
ไมวาจะเปนผลการเรียนจากสถานศึกษาเดียวกันหรือไมก็ตาม รวมทั้งจากการเรียนรูนอกระบบ ตามอัธยาศัย การ
ฝกอาชีพ หรือจากประสบการณการทํางาน
มาตรา ๑๘ การศึกษาในระบบมีสามระดับ คือ การศึกษาภาคบังคับ การศึกษาระดับกอน
อุดมศึกษา และการศึกษาระดับอุดมศึกษา
การศึกษาภาคบังคับประกอบดวย การศึกษาปฐมวัย และการศึกษาระดับประถมศึกษา
การแบงระดับและประเภทของการศึกษาภาคบังคับ ใหเปนไปตามที่กําหนดในระเบียบของสภานโยบายและ
พัฒนาการศึกษาแหงชาติ
การศึกษาระดับกอนอุดมศึกษา ประกอบดวย
(๑) การศึกษาระดับมัธยมศึกษา คือ การศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนตน และเตรียม
อุดมศึกษา
(๒) การศึกษาระดับอาชีวศึกษา คือ การศึกษาอาชีวศึกษาตอนตน และอาชีวศึกษาตอน
ปลาย
การแบงระดับและประเภทของการศึกษากอนอุดมศึกษาตามวรรคสาม ใหเปนไปตามที่
กําหนดในระเบียบของสภานโยบายและพัฒนาการศึกษาแหงชาติ
การศึกษาระดับอุดมศึกษาแบงเปนสองระดับ คือ ระดับต่ํากวาปริญญา และระดับปริญญา
มาตรา ๑๙ การแบงระดับหรือการเทียบระดับการศึกษานอกระบบหรือการศึกษาตาม
อัธยาศัยใหเปนไปตามที่กําหนดในระเบียบของสภานโยบายและพัฒนาการศึกษาแหงชาติ
มาตรา ๒๐ ใหมีการศึกษาภาคบังคับจํานวนเกาชั้นป โดยใหเด็กซึ่งมีอายุยางเขาปที่สี่เขาเรียน
ในสถานศึกษาจนอายุเขาปที่สิบสอง เวนแตสอบไดชั้นปที่เกาของการศึกษาภาคบังคับ หลักเกณฑและวิธีการ
นับอายุใหเปนไปตามที่คณะกรรมการการศึกษาปฐมวัยและประถมศึกษากําหนด
มาตรา ๒๑ การจัดการศึกษาภาคบังคับ ใหจัดในสถานศึกษาดังตอไปนี้
(๑) สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย ไดแก ศูนยเด็กเล็ก ศูนยพัฒนาเด็กเล็ก ศูนยพัฒนาเด็กกอน
เกณฑของสถาบันศาสนา ศูนยบริการชวยเหลือระยะแรกเริ่มของเด็กพิการและเด็กซึ่งมีความตองการพิเศษ
หรือสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยที่เรียกชื่ออยางอื่น
(๒) โรงเรียน ไดแก โรงเรียนของรัฐ โรงเรียนเอกชน และโรงเรียนที่สังกัดสถาบันพุทธศาสนา
หรือศาสนาอื่น
(๓) ศูนยการเรียน ไดแก สถานที่เรียนที่หนวยงานจัดการศึกษานอกโรงเรียน บุคคล ครอบครัว
ชุมชน องคกรชุมชน องคกรปกครองสวนทองถิ่น องคกรเอกชน องคกรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ
โรงพยาบาล สถาบันทางการแพทย สถานสงเคราะห และสถาบันสังคมอื่นเปนผูจัด
-๘-
มาตรา ๒๒ การจัดการศึกษาระดับกอนอุดมศึกษา ใหจัดในสถานศึกษาตามมาตรา ๒๑ (๒)
และ (๓) เวนแตกรณีการจัดการศึกษาระดับกอนอุดมศึกษาที่เปนอาชีวศึกษา ใหเปนไปตามมาตรา ๒๔
มาตรา ๒๓ การจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาใหจัดในมหาวิทยาลัย สถาบัน วิทยาลัย หรือ
หนวยงานที่เรียกชื่ออยางอื่น ทั้งนี้ ใหเปนไปตามกฎหมายเกี่ยวกับสถานศึกษาระดับอุดมศึกษา กฎหมายวา
ดวยการจัดตั้งสถานศึกษานั้น ๆ และกฎหมายที่เกี่ยวของ
มาตรา ๒๔ การจัดการอาชีวศึกษา การฝกอบรมวิชาชีพ ใหจัดในสถานศึกษาของรัฐ
สถานศึกษาของเอกชน สถานประกอบการ หรือพื้นที่ประกอบการอุตสาหกรรมหรือกสิกรรม โดยความรวมมือ
ระหวางสถานศึกษากับผูประกอบการ ทั้งนี้ ใหเปนไปตามกฎหมายวาดวยการอาชีวศึกษาและกฎหมายที่
เกี่ยวของ
มาตรา ๒๕ กระทรวง ทบวง กรม รัฐวิสาหกิจ และหนวยงานอื่นของรัฐ อาจจัดการศึกษา
เฉพาะทางตามความตองการและความชํานาญของหนวยงานนั้นได โดยคํานึงถึงนโยบายและมาตรฐาน
การศึกษาของชาติ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่กําหนดในระเบียบของสภานโยบายและพัฒนา
การศึกษาแหงชาติ
มาตรา ๒๖ ใหมีการศึกษาวิจัยและพัฒนาระบบการศึกษาและนโยบายการศึกษาของชาติใน
ทุกระดับ เพื่อสงเสริมและสนับสนุนใหมีองคความรูและฐานขอมูลที่เกิดขึ้นจากการศึกษาวิจัยระบบการศึกษา
และนโยบายการศึกษาของชาติ ซึ่งเปนประโยชนตอการพัฒนาระบบการศึกษาและนโยบายการศึกษาของชาติ
ใหมีประสิทธิภาพ และเหมาะสมกับสภาพเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ และทันตอสถานการณความ
เปลี่ยนแปลงในสังคมโลก
ใหมีกองทุนศึกษาวิจัย และพัฒนาระบบการศึกษาและนโยบายการศึกษาของชาติ เพื่อเปน
ทุนหมุนเวียนและคาใชจายในการสนับสนุนการวิจัยระบบการศึกษาและนโยบายการศึกษาของชาติอยาง
ตอเนื่องและมีประสิทธิภาพ มีการวิจัยเชิงนโยบาย และการวิจัยประยุกตตางๆ เพื่อประโยชนในการพัฒนา
ระบบการศึกษาและนโยบายการศึกษาของชาติ
ใหสถาบันวิจัยและพัฒนาระบบการศึกษาแหงชาติตามมาตรา ๕๑ มีอํานาจหนาที่ในการ
ดําเนินการตามวรรคหนึ่งและวรรคสอง และตามที่กําหนดไวในพระราชบัญญัตินี้ และกฎหมายวาดวย
สถาบันวิจัยและพัฒนาระบบการศึกษาแหงชาติ
-๙-
หมวด ๔
แนวการจัดการศึกษา
มาตรา ๒๗ การจัดการศึกษาตองยึดหลักวาผูเรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรูและพัฒนา
ตนเองได และถือวาผูเรียนมีความสําคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาตองสงเสริมใหผูเรียนสามารถพัฒนา
ตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ
มาตรา ๒๘ การจัดการศึกษา ทั้งการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษา
ตามอัธยาศัย ตองเนนความสําคัญทั้งความรู คุณธรรม กระบวนการเรียนรูและบูรณาการตามความเหมาะสม
ของแตละระดับการศึกษาในเรื่องตอไปนี้
(๑) ความรูเรื่องเกี่ยวกับตนเอง และความสัมพันธของตนเองกับสังคม ไดแก ครอบครัว
ชุมชน ชาติ และสังคมโลก รวมถึงความรูเกี่ยวกับประวัติศาสตรความเปนมาของสังคมไทยและระบบการเมือง
การปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข
(๒) ความรูและทักษะดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี รวมทั้งความรูความเขาใจและ
ประสบการณเรื่องการจัดการ การบํารุงรักษา และการใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
อยางสมดุลยั่งยืน
(๓) ความรูเกี่ยวกับศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม การกีฬา ภูมิปญญาไทย และการประยุกตใช
ภูมิปญญา
(๔) ความรูและทักษะดานคณิตศาสตรและดานภาษา เนนการใชภาษาไทยอยางถูกตอง
(๕) ความรูและทักษะในการประกอบอาชีพและการดํารงชีวิตอยางมีความสุข
มาตรา ๒๙ การจัดกระบวนการเรียนรู ใหสถานศึกษาและหนวยงานที่เกี่ยวของดําเนินการ
ดังตอไปนี้
(๑) จัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมใหสอดคลองกับความสนใจและความถนัดของผูเรียน โดย
คํานึงถึงความแตกตางระหวางบุคคล
(๒) ฝกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ และการประยุกตความรูมา
ใชเพื่อปองกันและแกไขปญหา
(๓) จัดกิจกรรมใหผูเรียนไดเรียนรูจากประสบการณจริง ฝกการปฏิบัติใหทําได คิดเปน ทํา
เปน รักการอาน และเกิดการใฝรูอยางตอเนื่อง
(๔) จัดการเรียนการสอนโดยผสมผสานสาระความรูดานตาง ๆ อยางไดสัดสวนสมดุลกัน
รวมทั้งปลูกฝงคุณธรรม คานิยมที่ดีงาม และคุณลักษณะอันพึงประสงคไวในทุกวิชา
(๕) สงเสริมสนับสนุนใหผูสอนสามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดลอม สื่อการเรียน และ
อํานวยความสะดวก เพื่อใหผูเรียนเกิดการเรียนรูและมีความรอบรู รวมทั้งสามารถใชการวิจัยเปนสวนหนึ่งของ
-๑๐-
กระบวนการเรียนรู ทั้งนี้ ผูสอนและผูเรียนอาจเรียนรูไปพรอมกันจากสื่อการเรียนการสอนและแหลง
วิทยาการประเภทตาง ๆ
(๖) จัดการเรียนรูใหเกิดขึ้นไดทุกเวลาทุกสถานที่ มีการประสานความรวมมือกับบิดา
มารดา ผูปกครอง และบุคคลในชุมชนทุกฝาย เพื่อรวมกันพัฒนาผูเรียนตามศักยภาพ
มาตรา ๓๐ รัฐตองสงเสริมการดําเนินงานและการจัดตั้งแหลงการเรียนรูตลอดชีวิตทุก
รูปแบบ ไดแก หองสมุดประชาชน พิพิธภัณฑ หอศิลป สวนสัตว สวนสาธารณะ สวนพฤกษศาสตร อุทยาน
วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีศูนยการกีฬาและนันทนาการ แหลงขอมูล และแหลงการเรียนรูอื่นอยางพอเพียงและ
มีประสิทธิภาพ
มาตรา ๓๑ ใหสถานศึกษาจัดการประเมินผูเรียนโดยพิจารณาจากพัฒนาการของผูเรียน
ความประพฤติ การสังเกตพฤติกรรมการเรียน การรวมกิจกรรมและการทดสอบควบคูไปในกระบวนการเรียน
การสอนตามความเหมาะสมของแตละระดับและรูปแบบการศึกษา
ใหสถานศึกษาใชวิธีการที่หลากหลายในการจัดสรรโอกาสการเขาศึกษาตอ และใหนําผลการ
ประเมินผูเรียนตามวรรคหนึ่งมาใชประกอบการพิจารณาดวย
มาตรา ๓๒ ใหสถานศึกษารวมกับบุคคล ครอบครัว ชุมชน องคกรชุมชน องคกรปกครอง
สวนทองถิ่น เอกชน องคกรเอกชน องคกรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอื่น
สงเสริมความเขมแข็งของชุมชนโดยจัดกระบวนการเรียนรูภายในชุมชน เพื่อใหชุมชนมีการจัดการศึกษาอบรม
มีการแสวงหาความรู ขอมูล ขาวสาร และรูจักเลือกสรรภูมิปญญาและวิทยาการตาง ๆ เพื่อพัฒนาชุมชนให
สอดคลองกับสภาพปญหาและความตองการ รวมทั้งหาวิธีการสนับสนุนใหมีการแลกเปลี่ยนประสบการณการ
พัฒนาระหวางชุมชน
มาตรา ๓๓ ใหสถานศึกษาพัฒนากระบวนการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ รวมทั้งการ
สงเสริมใหผูสอนสามารถวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรูที่เหมาะสมกับผูเรียนในแตละระดับการศึกษา
หมวด ๕
การบริหารและการจัดการศึกษา
สวนที่ ๑
การบริหารและการจัดการศึกษาของรัฐ
มาตรา ๓๔ โครงสรางองคกรจัดการศึกษาสวนกลาง ใหมีองคกรหลักในการกําหนด
นโยบายการบริหารการจัดการ และการตรวจสอบและรับรองมาตรฐาน โดยแบงองคกรเปนสี่กลุม
-๑๑-
(๑) กลุมนโยบายทางการศึกษา ไดแก สภานโยบายและพัฒนาการศึกษาแหงชาติ
คณะกรรมการพิทักษระบบคุณธรรมทางการศึกษา
(๒) กลุมปฏิบัติการทางการศึกษา ไดแก กระทรวงศึกษาธิการ สํานักงานปลัดกระทรวง
ศึกษาธิการ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาปฐมวัยและประถมศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการ
มัธยมศึกษา สํานักงานการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา และ
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
(๓) กลุมสนับสนุนการจัดการศึกษา ไดแก สถาบันวิจัยและพัฒนาระบบการศึกษาแหงชาติ
สถาบันวิจัยและพัฒนาหลักสูตรการศึกษาแหงชาติ สถาบันครุศึกษาแหงชาติ และสํานักงานนวัตกรรมและ
เทคโนโลยีทางการศึกษา
(๔) กลุมตรวจสอบและรับรองมาตรฐานการศึกษา ไดแก สํานักงานรับรองมาตรฐาน
การศึกษาแหงชาติ และสํานักงานรับรองคุณวุฒิการศึกษาแหงชาติ
มาตรา ๓๕ ใหมีคณะกรรมการขึ้นคณะหนึ่ง เรียกวา “สภานโยบายและพัฒนาการศึกษา
แหงชาติ” เพื่อทําหนาที่ในการกําหนดนโยบายการศึกษา และดําเนินการอื่นตามที่กําหนดในพระราชบัญญัตินี้
จํานวนไมเกินยี่สิบหาคน ประกอบดวย
(๑) นายกรัฐมนตรี เปนประธานกรรมการ
(๒) กรรมการผูทรงคุณวุฒิดานวิทยาศาสตร ดานสังคมศาสตร ดานปฐมวัยและประถมศึกษา
ดานมัธยมศึกษาและเตรียมอุดมศึกษา ดานอาชีวศึกษา ดานอุดมศึกษา ดานการศึกษานอกระบบและการศึกษา
ตามอัธยาศัย ดานกฎหมาย และดานเศรษฐศาสตร จํานวนดานละสองคน
(๓) กรรมการผูแทนจากภาคเอกชนที่เกี่ยวของกับการคาและการลงทุน จํานวนสองคน
(๔) กรรมการผูแทนจากภาคประชาสังคมดานการศึกษา จํานวนสองคน
(๕) กรรมการผูแทนจากองคกรปกครองสวนทองถิ่น จํานวนหนึ่งคน
(๖) กรรมการผูแทนผูปกครอง จํานวนหนึ่งคน
ใหสํานักงานสภานโยบายและพัฒนาการศึกษาแหงชาติเปนนิติบุคคลและเปนอิสระ และให
เลขาธิการสภาเปนเลขานุการในคณะกรรมการสภานโยบายและพัฒนาการศึกษาแหงชาติ
คุณสมบัติ หลักเกณฑ วิธีการไดมา วาระการดํารงตําแหนง การพนจากตําแหนง
ของกรรมการผูทรงคุณวุฒิตาม (๒) และกรรมการผูแทนตาม (๓) (๔) (๕) และ (๖) และการดําเนินงานของ
คณะกรรมการตามวรรคหนึ่ง ใหเปนไปตามที่กฎหมายวาดวยสภานโยบายและพัฒนาการศึกษาแหงชาติ
กําหนด
มาตรา ๓๖ สภานโยบายและพัฒนาการศึกษาแหงชาติ ใหมีอํานาจหนาที่ ดังตอไปนี้
(๑) กําหนดนโยบายการศึกษาของชาติทั้งระบบทุกระดับและทุกประเภท
-๑๒-
(๒) ใหความเห็นชอบและตรวจสอบการจัดสรรงบประมาณรายจายประจําปในสวนที่
เกี่ยวกับการศึกษาใหสอดคลองกับนโยบายการศึกษาแหงชาติ
(๓) กําหนดนโยบายการศึกษา วิเคราะห และวิจัยที่เกี่ยวของกับการศึกษาทุกระดับ
(๔) พิจารณาขอเสนอแนะการจัดทําหลักสูตรการศึกษาสําหรับการศึกษาในระบบทุกระดับและ
สาขา
(๕) พิจารณาใหความเห็นชอบนโยบายการศึกษาพิเศษ และการศึกษาทางเลือกในทุกระดับ
(๖) พิจารณาใหความเห็นชอบในการแตงตั้งคณะกรรมการตามมาตรา ๓๘ มาตรา ๔๐ มาตรา
๔๔ มาตรา ๔๖ และมาตรา ๕๐ ตามกฎหมายวาดวยระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ
(๗) พิจารณาออกระเบียบเกี่ยวกับการแตงตั้งคณะกรรมการมาตรา ๕๑ มาตรา ๕๒ มาตรา
๕๓ มาตรา ๕๔ มาตรา ๕๕ และมาตรา ๕๖ และใหความเห็นชอบแตงตั้งคณะกรรมการดังกลาว
(๘) พิจารณาใหความเห็นชอบการแตงตั้งโยกยายขาราชการ พนักงาน และเจาหนาที่
ระดับสูงในกระทรวงศึกษาธิการและหนวยงานที่เกี่ยวของกับการจัดการศึกษาของชาติ
(๙) พิจารณากําหนดมาตรฐานวิชาชีพ และจรรยาบรรณของวิชาชีพครู คณาจารย และ
บุคลากรทางการศึกษา รวมทั้งกําหนดนโยบายการพัฒนาวิชาชีพครู ผูบริหารสถานศึกษาและผูบริหารการศึกษา
(๑๐) ติดตามตรวจสอบการดําเนินการใหเปนไปตามนโยบายการศึกษาของชาติ
(๑๑) พิจารณาอุทธรณกรณีการสั่งเพิกถอนใบอนุญาต การปดหลักสูตร การปดสถานศึกษา
หรือการงดรับนักเรียนของสถานศึกษาเอกชน สถานศึกษาซึ่งไมไดรับการรับรองมาตรฐาน และสถานศึกษาที่
ไมไดขอรับการประเมินมาตรฐาน
(๑๒) พิจารณาสั่งปดสถานศึกษาของสถานศึกษาซึ่งไมไดรับการรับรองมาตรฐาน และ
สถานศึกษาที่ไมไดขอรับการประเมินมาตรฐานตามมาตรา ๗๒ และมาตรา ๗๕
(๑๓) การกํากับดูแลการปฏิบัติงานของสํานักงานสภานโยบายและพัฒนาการศึกษาแหงชาติ
(๑๔) เสนอแนะตอคณะรัฐมนตรีและรัฐสภาในการจัดการศึกษาของชาติ
(๑๕) อํานาจอื่นตามที่กําหนดไวในพระราชบัญญัตินี้ และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวของ
มาตรา ๓๗ กระทรวงมีอํานาจหนาที่เกี่ยวกับการสงเสริมและกํากับดูแลการจัดการศึกษาทุก
ระดับและทุกประเภท กําหนดนโยบาย แผน และมาตรฐานการศึกษา สนับสนุนทรัพยากรเพื่อการศึกษา
สงเสริมและประสานงานการศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม และการกีฬาเพื่อการศึกษา รวมทั้งการติดตาม
ตรวจสอบ และประเมินผลการจัดการศึกษาเทาที่ไมขัดหรือแยงกับองคกรที่มีหนาที่ในการตรวจสอบตาม
มาตรา ๕๕ และราชการอื่นตามที่มีกฎหมายกําหนดใหเปนอํานาจหนาที่ของกระทรวงหรือสวนราชการที่
สังกัดกระทรวง
มาตรา ๓๘ ใหมีคณะกรรมการการศึกษาปฐมวัยและประถมศึกษา ประกอบดวย
(๑) กรรมการสภานโยบายและพัฒนาการศึกษาแหงชาติผูทรงคุณวุฒิ เปนประธานกรรมการ
-๑๓-
(๒) กรรมการผูทรงคุณวุฒิดานการศึกษาปฐมวัย ดานประถมศึกษา ดานการศึกษาพิเศษ ดาน
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และดานกฎหมาย จํานวนดานละหนึ่งคน
(๓) กรรมการผูแทนองคกรปกครองสวนทองถิ่น จํานวนหนึ่งคน
(๔) กรรมการผูแทนครูอาจารยระดับปฐมวัยและประถมศึกษาจากสถานศึกษาของรัฐ จํานวน
หนึ่งคน
(๕) กรรมการผูแทนครูอาจารยระดับปฐมวัยและประถมศึกษาจากสถานศึกษาของเอกชน
จํานวนหนึ่งคน
ใหมีเลขาธิการสํานักงานการศึกษาปฐมวัยและประถมศึกษา เปนเลขานุการของ
คณะกรรมการตามวรรคหนึ่ง และดําเนินงานโดยทั่วไปของสํานักงานการศึกษาปฐมวัยและประถมศึกษา ทั้งนี้
ตามที่กําหนดในกฎหมายวาดวยระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ
คุณสมบัติ หลักเกณฑ วิธีการไดมา วาระการดํารงตําแหนง การพนจากตําแหนงของ
กรรมการผูทรงคุณวุฒิตาม (๒) และกรรมการผูแทนตาม (๓) และการดําเนินงานของคณะกรรมการตามวรรค
หนึ่ง ใหเปนไปตามกฎหมายวาดวยระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ
มาตรา ๓๙ ใหคณะกรรมการการศึกษาปฐมวัยและประถมศึกษา มีอํานาจหนาที่
(๑) เสนอแนะนโยบายการศึกษาปฐมวัยและประถมศึกษาตอสภานโยบายและพัฒนา
การศึกษาแหงชาติ
(๒) เสนอแนะการจัดทําหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยและประถมศึกษา
(๓) ติดตาม ตรวจสอบการดําเนินการจัดการศึกษาปฐมวัยและประถมศึกษาใหเปนไปตาม
นโยบายการศึกษาของชาติ
(๔) เสนอแนะนโยบายการศึกษาพิเศษระดับการศึกษาปฐมวัยและประถมศึกษา
(๕) พิจารณาใหความเห็นชอบการแตงตั้ง โยกยาย ขาราชการ พนักงาน และเจาหนาที่ของ
สํานักงานการศึกษาปฐมวัยและประถมศึกษา และของโรงเรียนและสถานศึกษาในสังกัดที่ยังไมไดถายโอนไป
องคกรปกครองสวนทองถิ่น
(๖) กํากับ ดูแลการปฏิบัติตามมาตรฐานและจรรยาบรรณของวิชาชีพของครู และบุคลากร
ทางการศึกษาของสํานักงานการศึกษาปฐมวัยและประถมศึกษา สถานศึกษาทั้งของรัฐ เอกชน และองคกร
ปกครองสวนทองถิ่น
(๗) พิจารณาการอนุญาตการจัดตั้งโรงเรียนและสถานศึกษาเอกชนและองคกรปกครองสวน
ทองถิ่นในขั้นปฐมวัยและประถมศึกษา ตลอดจนการพักใชใบอนุญาต และเพิกถอนใบอนุญาต
(๘) กํากับ ดูแลการปฏิบัติงานของสํานักงานการศึกษาปฐมวัยและประถมศึกษา สถานศึกษา
ทั้งของรัฐ เอกชน และองคกรปกครองสวนทองถิ่น
(๙) กําหนดกฎและหลักเกณฑที่จําเปนในการบริหารการศึกษาปฐมวัยและประถมศึกษา
-๑๔-
มาตรา ๔๐ ใหมีคณะกรรมการการมัธยมศึกษา ประกอบดวย
(๑) กรรมการสภานโยบายและพัฒนาการศึกษาแหงชาติผูทรงคุณวุฒิ เปนประธานกรรมการ
(๒) กรรมการผูทรงคุณวุฒิดานมัธยมศึกษา ดานอาชีวศึกษา ดานการศึกษาพิเศษ ดาน
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และดานกฎหมาย จํานวนดานละหนึ่งคน
(๓) กรรมการผูแทนองคกรปกครองสวนทองถิ่น จํานวนหนึ่งคน
(๔) กรรมการผูแทนครูอาจารยระดับมัธยมศึกษาจากสถานศึกษาของรัฐ จํานวนหนึ่งคน
(๕) กรรมการผูแทนครูอาจารยระดับมัธยมศึกษาจากสถานศึกษาของเอกชน จํานวนหนึ่งคน
ใหมีเลขาธิการสํานักงานการมัธยมศึกษา เปนเลขานุการของคณะกรรมการตามวรรคหนึ่ง
และดําเนินงานโดยทั่วไปของสํานักงานการมัธยมศึกษา ทั้งนี้ ตามที่กําหนดในกฎหมายวาดวยระเบียบบริหาร
ราชการกระทรวงศึกษาธิการ
คุณสมบัติ หลักเกณฑ วิธีการไดมา วาระการดํารงตําแหนง การพนจากตําแหนงของ
กรรมการผูทรงคุณวุฒิตาม (๒) และกรรมการผูแทนตาม (๓) และการดําเนินงานของคณะกรรมการตามวรรค
หนึ่ง ใหเปนไปตามกฎหมายวาดวยระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ
มาตรา ๔๑ ใหคณะกรรมการการมัธยมศึกษา มีอํานาจหนาที่
(๑) เสนอแนะนโยบายการศึกษามัธยมศึกษาตอสภานโยบายและพัฒนาการศึกษาแหงชาติ
(๒) เสนอแนะการจัดทําหลักสูตรมัธยมศึกษา
(๓) ติดตาม ตรวจสอบการดําเนินการจัดการศึกษามัธยมศึกษาใหเปนไปตามนโยบาย
การศึกษาของชาติ
(๔) เสนอแนะนโยบายการศึกษาพิเศษระดับมัธยมศึกษา
(๕) พิจารณาใหความเห็นชอบการแตงตั้ง โยกยาย ขาราชการ พนักงาน และเจาหนาที่ของ
สํานักงานการมัธยมศึกษา และของโรงเรียนและสถานศึกษาในสังกัดที่ยังไมไดถายโอนไปองคกรปกครองสวน
ทองถิ่น
(๖) กํากับ ดูแลการปฏิบัติตามมาตรฐานและจรรยาบรรณของวิชาชีพของครู และบุคลากร
ทางการศึกษาของสํานักงานการมัธยมศึกษา สถานศึกษาทั้งของรัฐ เอกชน และองคกรปกครองสวนทองถิ่น
(๗) พิจารณาการอนุญาตการจัดตั้งโรงเรียนและสถานศึกษาเอกชนและองคกรปกครองสวน
ทองถิ่นในขั้นมัธยมศึกษา ตลอดจนการพักใชใบอนุญาต และเพิกถอนใบอนุญาต
(๘) กํากับ ดูแลการปฏิบัติงานของสํานักงานการศึกษามัธยมศึกษา สถานศึกษาทั้งของรัฐ
เอกชน และองคกรปกครองสวนทองถิ่น
(๙) กําหนดกฎและหลักเกณฑที่จําเปนในการบริหารการศึกษามัธยมศึกษา
มาตรา ๔๒ ใหมีคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ประกอบดวย
(๑) กรรมการสภานโยบายและพัฒนาการศึกษาแหงชาติผูทรงคุณวุฒิ เปนประธานกรรมการ
-๑๕-
(๒) กรรมการผูทรงคุณวุฒิดานมัธยมศึกษา ดานอาชีวศึกษา ดานการศึกษาพิเศษ ดาน
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และดานกฎหมาย จํานวนดานละหนึ่งคน
(๓) กรรมการผูแทนองคกรปกครองสวนทองถิ่น จํานวนหนึ่งคน
(๔) กรรมการผูแทนครูอาจารยระดับอาชีวศึกษาจากสถานศึกษาของรัฐ จํานวนหนึ่งคน
(๕) กรรมการผูแทนครูอาจารยระดับอาชีวศึกษาจากสถานศึกษาของเอกชน จํานวนหนึ่งคน
ใหมีเลขาธิการสํานักงานการอาชีวศึกษา เปนเลขานุการของคณะกรรมการตามวรรคหนึ่ง
และดําเนินงานโดยทั่วไปของสํานักงานการอาชีวศึกษา ทั้งนี้ ตามที่กําหนดในกฎหมายวาดวยระเบียบบริหาร
ราชการกระทรวงศึกษาธิการ
คุณสมบัติ หลักเกณฑ วิธีการไดมา วาระการดํารงตําแหนง การพนจากตําแหนงของ
กรรมการผูทรงคุณวุฒิตาม (๒) และกรรมการผูแทนตาม (๓) และการดําเนินงานของคณะกรรมการตามวรรค
หนึ่ง ใหเปนไปตามกฎหมายวาดวยระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ
มาตรา ๔๓ ใหคณะกรรมการการอาชีวศึกษา มีอํานาจหนาที่
(๑) เสนอแนะนโยบายการศึกษาอาชีวศึกษาตอสภานโยบายและพัฒนาการศึกษาแหงชาติ
(๒) เสนอแนะการจัดทําหลักสูตรอาชีวศึกษา
(๓) ติดตาม ตรวจสอบการดําเนินการจัดการศึกษาอาชีวศึกษาใหเปนไปตามนโยบายการศึกษา
ของชาติ
(๔) เสนอแนะนโยบายการศึกษาพิเศษระดับอาชีวศึกษา
(๕) พิจารณาใหความเห็นชอบการแตงตั้ง โยกยาย ขาราชการ พนักงาน และเจาหนาที่ของ
สํานักงานการอาชีวศึกษา และของโรงเรียนและสถานศึกษาในสังกัดที่ยังไมไดถายโอนไปองคกรปกครองสวน
ทองถิ่น
(๖) กํากับ ดูแลการปฏิบัติตามมาตรฐานและจรรยาบรรณของวิชาชีพของครู และบุคลากร
ทางการศึกษาของสํานักงานการอาชีวศึกษา สถานศึกษาทั้งของรัฐ เอกชน และองคกรปกครองสวนทองถิ่น
(๗) พิจารณาการอนุญาตการจัดตั้งโรงเรียนและสถานศึกษาเอกชนและองคกรปกครองสวน
ทองถิ่นในขั้นอาชีวศึกษา ตลอดจนการพักใชใบอนุญาต และเพิกถอนใบอนุญาต
(๘) กํากับ ดูแลการปฏิบัติงานของสํานักงานการศึกษาอาชีวศึกษา สถานศึกษาทั้งของรัฐเอกชน
และองคกรปกครองสวนทองถิ่น
(๙) กําหนดกฎและหลักเกณฑที่จําเปนในการบริหารการศึกษาอาชีวศึกษา
มาตรา ๔๔ ใหมีคณะกรรมการการอุดมศึกษา ประกอบดวย
(๑) กรรมการสภานโยบายและพัฒนาการศึกษาแหงชาติผูทรงคุณวุฒิ เปนประธานกรรมการ
-๑๖-
(๒) กรรมการผูทรงคุณวุฒิดานการอุดมศึกษา ดานอาชีวศึกษา ดานการศึกษาพิเศษ ดาน
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ดานสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร ดานวิทยาศาสตรและ
เทคโนโลยี ดานวิทยาศาสตรสุขภาพ และดานกฎหมาย จํานวนดานละหนึ่งคน
(๓) กรรมการผูแทนจากผูบริหารสถาบันอุดมศึกษาซึ่งเลือกกันเอง กลุมละหนึ่งคน
ประกอบดวย
(ก) ผูแทนจากที่ประชุมอธิการบดีมหาวิทยาลัยของรัฐ
(ข) ผูแทนจากที่ประชุมอธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
ราชมงคล
(ค) ผูแทนจากที่ประชุมอธิการบดีสถาบันอุดมศึกษาเอกชน
(๔) กรรมการผูแทนอาจารยจากกลุมมหาวิทยาลัยของรัฐ กลุมมหาวิทยาลัยราชภัฏและ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล และกลุมสถาบันอุดมศึกษาเอกชน กลุมละหนึ่งคน
ใหมีเลขาธิการสํานักงานการอุดมศึกษา เปนเลขานุการของคณะกรรมการตามวรรคหนึ่ง
และดําเนินงานโดยทั่วไปของสํานักงานการอุดมศึกษา ทั้งนี้ ตามที่กําหนดในกฎหมายวาดวยระเบียบบริหาร
ราชการกระทรวงศึกษาธิการ
การเลือกกรรมการตาม (๓) และ (๔) ใหเปนไปตามกฎหมายวาดวยระเบียบบริหารราชการ
กระทรวงศึกษาธิการ
มาตรา ๔๕ ใหคณะกรรมการการอุดมศึกษา มีอํานาจหนาที่
(๑) เสนอแนะนโยบายการศึกษาอุดมศึกษาตอสภานโยบายและพัฒนาการศึกษาแหงชาติ
(๒) เสนอแนะการจัดทําหลักสูตรอุดมศึกษา
(๓) ติดตาม ตรวจสอบการดําเนินการจัดการศึกษาอุดมศึกษาใหเปนไปตามนโยบายการศึกษา
ของชาติ
(๔) เสนอแนะนโยบายการศึกษาพิเศษระดับอุดมศึกษา
(๕) พิจารณาใหความเห็นชอบการแตงตั้ง โยกยาย ขาราชการ พนักงาน และเจาหนาที่ของ
สํานักงานการอุดมศึกษา
(๖) กํากับ ดูแลการปฏิบัติตามมาตรฐานและจรรยาบรรณของวิชาชีพของคณาจารย และ
บุคลากรทางการศึกษาของสํานักงานการอุดมศึกษา สถานศึกษาทั้งของรัฐ เอกชน และองคกรปกครองสวน
ทองถิ่น
(๗) พิจารณาเหตุผลและความจําเปนในการจัดตั้งมหาวิทยาลัยและสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ
เพื่อเสนอตอคณะรัฐมนตรี
(๘) พิจารณาการอนุญาตการจัดตั้งสถาบันอุดมศึกษาของเอกชน ตลอดจนการพักใชใบอนุญาต
และเพิกถอนใบอนุญาต
-๑๗-
(๙) กํากับ ดูแลการปฏิบัติงานของสํานักงานการอุดมศึกษา มหาวิทยาลัย สถาบันอุดมศึกษา
ทั้งของรัฐ เอกชน และองคกรปกครองสวนทองถิ่น
(๑๐) กําหนดกฎและหลักเกณฑที่จําเปนในการบริหารการศึกษาอุดมศึกษา
มาตรา ๔๖ ใหมีคณะกรรมการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
ประกอบดวย
(๑) กรรมการสภานโยบายและพัฒนาการศึกษาแหงชาติผูทรงคุณวุฒิ เปนประธานกรรมการ
(๒) กรรมการผูทรงคุณวุฒิดานการศึกษาปฐมวัยและประถมศึกษา ดานมัธยมศึกษา ดาน
อาชีวศึกษา ดานการอุดมศึกษา ดานการศึกษาพิเศษ ดานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และ
ดานกฎหมาย จํานวนดานละหนึ่งคน
(๓) กรรมการผูแทนองคกรปกครองสวนทองถิ่น จํานวนหนึ่งคน
(๔) กรรมการผูแทนเครือขายภาคเอกชนที่จัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
จํานวนสองคน
ใหมีเลขาธิการสํานักงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เปนเลขานุการ
ของคณะกรรมการตามวรรคหนึ่ง และดําเนินงานโดยทั่วไปของสํานักงานการศึกษานอกระบบและการศึกษา
ตามอัธยาศัย ทั้งนี้ ตามที่กําหนดในกฎหมายวาดวยระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ
คุณสมบัติ หลักเกณฑ วิธีการไดมา วาระการดํารงตําแหนง การพนจากตําแหนงของ
กรรมการผูทรงคุณวุฒิตาม (๒) และกรรมการผูแทนตาม (๓) และการดําเนินงานของคณะกรรมการตามวรรค
หนึ่ง ใหเปนไปตามกฎหมายวาดวยระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ
มาตรา ๔๗ ใหคณะกรรมการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย มีอํานาจ
หนาที่
(๑) เสนอแนะนโยบายการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยตอสภานโยบายและ
พัฒนาการศึกษาแหงชาติ
(๒) เสนอแนะการจัดทําหลักสูตรการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
(๓) ติดตาม ตรวจสอบการดําเนินการจัดการศึกษาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศัยใหเปนไปตามนโยบายการศึกษาของชาติ
(๔) พิจารณาใหความเห็นชอบการแตงตั้ง โยกยาย ขาราชการ พนักงาน และเจาหนาที่ของ
สํานักงานการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
(๕) พิจารณาการอนุญาตการจัดการเรียนการสอนการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศัยของเอกชนและองคกรปกครองสวนทองถิ่น ตลอดจนการพักใชใบอนุญาต และเพิกถอนใบอนุญาต
(๖) กํากับ ดูแลการปฏิบัติงานของสํานักงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
-๑๘-
(๗) กําหนดกฎและหลักเกณฑที่จําเปนในการบริหารการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศัย
มาตรา ๔๘ ใหสถานศึกษาของรัฐที่จัดการศึกษาระดับปริญญาเปนนิติบุคคล และอาจจัดเปน
สวนราชการหรือเปนหนวยงานในกํากับของรัฐ ยกเวนสถานศึกษาเฉพาะทางตามมาตรา ๒๕
ใหสถานศึกษาดังกลาวดําเนินกิจการไดโดยอิสระ สามารถพัฒนาระบบบริหาร และการ
จัดการที่เปนของตนเอง มีความคลองตัว มีเสรีภาพทางวิชาการ โดยสอดคลองกับนโยบายการศึกษาแหงขาติ
และอยูภายใตการกํากับดูแลของสภาสถานศึกษา ตามกฎหมายวาดวยการจัดตั้งสถานศึกษานั้น ๆ
มาตรา ๔๙ การกํากับดูแลการจัดการศึกษาของภาคเอกชน และองคกรปกครองสวนทองถิ่น
ในแตละจังหวัด ใหอยูในอํานาจหนาที่ของสํานักงานการศึกษาปฐมวัยและประถมศึกษา สํานักงานการ
มัธยมศึกษา และสํานักงานการอาชีวศึกษา แลวแตกรณี ทั้งนี้ ตามที่บัญญัติไวในกฎหมายวาดวยระเบียบ
บริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ
มาตรา ๕๐ ในการจัดการศึกษาระดับปฐมวัย ประถมศึกษา มัธยมศึกษา หรืออาชีวศึกษา
แลวแตกรณี ใหมีคณะกรรมการสถานศึกษาแตละสถานศึกษา เพื่อทําหนาที่กําหนดนโยบายกํากับและสงเสริม
สนับสนุนกิจการของสถานศึกษา ใหความเห็นชอบแผนพัฒนาสถานศึกษา และใหความเห็นชอบหลักสูตร
สถานศึกษาที่ผูบริหารสถานศึกษานั้นจัดทําขึ้นตามที่กําหนดในมาตรา ๖๗
ใหคณะกรรมการสถานศึกษาตามวรรคหนึ่ง ประกอบดวย ผูแทนผูปกครอง ผูแทนครู ผูแทน
องคกรชุมชน ผูแทนองคกรปกครองสวนทองถิ่น ผูแทนศิษยเกาของสถานศึกษา ผูแทนพระภิกษุสงฆและหรือ
ผูแทนองคกรศาสนาอื่นในพื้นที่ และผูทรงคุณวุฒิในทองถิ่น โดยสถานศึกษาที่มีการจัดการศึกษาระดับ
อาชีวศึกษาอาจมีกรรมการเพิ่มขึ้นได ทั้งนี้ ตามที่บัญญัติไวในกฎหมายวาดวยการจัดการและบริหารการศึกษา
ขององคกรปกครองสวนทองถิ่น
ใหกรรมการสถานศึกษาคัดเลือกกรรมการคนใดคนหนึ่ง เปนเลขานุการของคณะกรรมการ
สถานศึกษา โดยใหผูบริหารสถานศึกษานั้นเปนผูชวยเลขานุการ
ในกรณีที่เปนสถานศึกษาขนาดเล็ก ซึ่งไมอาจมีองคประกอบของคณะกรรมการสถานศึกษา
ตามที่กําหนดในวรรคสองได ใหคณะกรรมการสถานศึกษาของสถานศึกษานั้นมีองคประกอบตามเทาที่มีอยูใน
เขตพื้นที่นั้น หรือในกรณีที่มีความประสงคใชคณะกรรมการสถานศึกษารวมกันกับสถานศึกษาขนาดเล็กอื่น
ใหหนวยงานภูมิภาคของสํานักงานการศึกษาปฐมวัยและประถมศึกษา สํานักงานการมัธยมศึกษา และ
สํานักงานการอาชีวศึกษาในพื้นที่นั้น แลวแตกรณี จัดใหมีคณะกรรมการสถานศึกษารวมกันได แตตองมี
จํานวนสถานศึกษาที่มีคณะกรรมการสถานศึกษารวมกันไดไมเกินสามแหง
ความในมาตรานี้ไมใชบังคับแกสถานศึกษาตามมาตรา ๒๑ (๑) และ (๓)
Edu reform-draft
Edu reform-draft
Edu reform-draft
Edu reform-draft
Edu reform-draft
Edu reform-draft
Edu reform-draft
Edu reform-draft
Edu reform-draft
Edu reform-draft
Edu reform-draft
Edu reform-draft
Edu reform-draft
Edu reform-draft
Edu reform-draft
Edu reform-draft
Edu reform-draft

More Related Content

What's hot

ติวสอบครูผู้ช่วย 2556
ติวสอบครูผู้ช่วย 2556ติวสอบครูผู้ช่วย 2556
ติวสอบครูผู้ช่วย 2556
Pakornkrits
 
มาตรฐานการศึกษา1
มาตรฐานการศึกษา1มาตรฐานการศึกษา1
มาตรฐานการศึกษา1
Pongsak รักในหลวง
 
ประกาศโรงเรียนนาดีวิทยารับสมัครลูกจ้างชั่วคราวตำแหน่งครูอัตราจ้างรายเดือน
ประกาศโรงเรียนนาดีวิทยารับสมัครลูกจ้างชั่วคราวตำแหน่งครูอัตราจ้างรายเดือนประกาศโรงเรียนนาดีวิทยารับสมัครลูกจ้างชั่วคราวตำแหน่งครูอัตราจ้างรายเดือน
ประกาศโรงเรียนนาดีวิทยารับสมัครลูกจ้างชั่วคราวตำแหน่งครูอัตราจ้างรายเดือน
Nadeewittaya School
 
เส้นทางครูมืออาชีพสำหรับครูผู้ช่วย
เส้นทางครูมืออาชีพสำหรับครูผู้ช่วยเส้นทางครูมืออาชีพสำหรับครูผู้ช่วย
เส้นทางครูมืออาชีพสำหรับครูผู้ช่วย
comed
 
นโยบาย สพฐ. ปีงบประมาณ 2559
นโยบาย สพฐ. ปีงบประมาณ 2559นโยบาย สพฐ. ปีงบประมาณ 2559
นโยบาย สพฐ. ปีงบประมาณ 2559
worapanthewaha
 
นโยบายสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ2559
นโยบายสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ2559นโยบายสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ2559
นโยบายสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ2559
นรินทร์ แสนแก้ว
 
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายกฎหมายการศึกษา(เก่าแล้วใช้ได้)
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายกฎหมายการศึกษา(เก่าแล้วใช้ได้)ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายกฎหมายการศึกษา(เก่าแล้วใช้ได้)
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายกฎหมายการศึกษา(เก่าแล้วใช้ได้)
สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 
Piriyalai 56 ok tu.indd-1-86
Piriyalai 56 ok tu.indd-1-86Piriyalai 56 ok tu.indd-1-86
Piriyalai 56 ok tu.indd-1-86Mk Mankong
 
01ประกาศโรงเรียนนาดีวิทยารับสมัครพนักงานราชการเอกภาษาไทย
01ประกาศโรงเรียนนาดีวิทยารับสมัครพนักงานราชการเอกภาษาไทย01ประกาศโรงเรียนนาดีวิทยารับสมัครพนักงานราชการเอกภาษาไทย
01ประกาศโรงเรียนนาดีวิทยารับสมัครพนักงานราชการเอกภาษาไทย
Nadeewittaya School
 
ให้ข้าราชการและลูกจ้างประจำสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ...
ให้ข้าราชการและลูกจ้างประจำสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน       ...ให้ข้าราชการและลูกจ้างประจำสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน       ...
ให้ข้าราชการและลูกจ้างประจำสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ...
napadon2
 
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์สมัครเพื่อเลือกสรรเป็นพนักงานราชการ 2
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์สมัครเพื่อเลือกสรรเป็นพนักงานราชการ  2ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์สมัครเพื่อเลือกสรรเป็นพนักงานราชการ  2
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์สมัครเพื่อเลือกสรรเป็นพนักงานราชการ 2
Wassana Rcm
 

What's hot (11)

ติวสอบครูผู้ช่วย 2556
ติวสอบครูผู้ช่วย 2556ติวสอบครูผู้ช่วย 2556
ติวสอบครูผู้ช่วย 2556
 
มาตรฐานการศึกษา1
มาตรฐานการศึกษา1มาตรฐานการศึกษา1
มาตรฐานการศึกษา1
 
ประกาศโรงเรียนนาดีวิทยารับสมัครลูกจ้างชั่วคราวตำแหน่งครูอัตราจ้างรายเดือน
ประกาศโรงเรียนนาดีวิทยารับสมัครลูกจ้างชั่วคราวตำแหน่งครูอัตราจ้างรายเดือนประกาศโรงเรียนนาดีวิทยารับสมัครลูกจ้างชั่วคราวตำแหน่งครูอัตราจ้างรายเดือน
ประกาศโรงเรียนนาดีวิทยารับสมัครลูกจ้างชั่วคราวตำแหน่งครูอัตราจ้างรายเดือน
 
เส้นทางครูมืออาชีพสำหรับครูผู้ช่วย
เส้นทางครูมืออาชีพสำหรับครูผู้ช่วยเส้นทางครูมืออาชีพสำหรับครูผู้ช่วย
เส้นทางครูมืออาชีพสำหรับครูผู้ช่วย
 
นโยบาย สพฐ. ปีงบประมาณ 2559
นโยบาย สพฐ. ปีงบประมาณ 2559นโยบาย สพฐ. ปีงบประมาณ 2559
นโยบาย สพฐ. ปีงบประมาณ 2559
 
นโยบายสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ2559
นโยบายสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ2559นโยบายสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ2559
นโยบายสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ2559
 
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายกฎหมายการศึกษา(เก่าแล้วใช้ได้)
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายกฎหมายการศึกษา(เก่าแล้วใช้ได้)ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายกฎหมายการศึกษา(เก่าแล้วใช้ได้)
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายกฎหมายการศึกษา(เก่าแล้วใช้ได้)
 
Piriyalai 56 ok tu.indd-1-86
Piriyalai 56 ok tu.indd-1-86Piriyalai 56 ok tu.indd-1-86
Piriyalai 56 ok tu.indd-1-86
 
01ประกาศโรงเรียนนาดีวิทยารับสมัครพนักงานราชการเอกภาษาไทย
01ประกาศโรงเรียนนาดีวิทยารับสมัครพนักงานราชการเอกภาษาไทย01ประกาศโรงเรียนนาดีวิทยารับสมัครพนักงานราชการเอกภาษาไทย
01ประกาศโรงเรียนนาดีวิทยารับสมัครพนักงานราชการเอกภาษาไทย
 
ให้ข้าราชการและลูกจ้างประจำสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ...
ให้ข้าราชการและลูกจ้างประจำสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน       ...ให้ข้าราชการและลูกจ้างประจำสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน       ...
ให้ข้าราชการและลูกจ้างประจำสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ...
 
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์สมัครเพื่อเลือกสรรเป็นพนักงานราชการ 2
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์สมัครเพื่อเลือกสรรเป็นพนักงานราชการ  2ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์สมัครเพื่อเลือกสรรเป็นพนักงานราชการ  2
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์สมัครเพื่อเลือกสรรเป็นพนักงานราชการ 2
 

Similar to Edu reform-draft

14 ตัวอย่างการประเมินผลนานาชาติ คณิตศาสตร์
14 ตัวอย่างการประเมินผลนานาชาติ คณิตศาสตร์14 ตัวอย่างการประเมินผลนานาชาติ คณิตศาสตร์
14 ตัวอย่างการประเมินผลนานาชาติ คณิตศาสตร์Nirut Uthatip
 
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
wasan
 
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
wasan
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา
ร่างหลักสูตรสถานศึกษาร่างหลักสูตรสถานศึกษา
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา
Nattayaporn Dokbua
 
ประกาศใช้มาตรฐาน ประถม
ประกาศใช้มาตรฐาน ประถมประกาศใช้มาตรฐาน ประถม
ประกาศใช้มาตรฐาน ประถมwarijung2012
 
Pisa
PisaPisa
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timssNirut Uthatip
 
12.ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa และ timss
12.ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa และ timss12.ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa และ timss
12.ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa และ timssNaughtily NaRee
 
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timssNirut Uthatip
 
ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ PISA และ TIMSS
ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ PISA และ TIMSSตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ PISA และ TIMSS
ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ PISA และ TIMSSkunkrooyim
 
Scireleaseditem pisa-timss
Scireleaseditem pisa-timssScireleaseditem pisa-timss
Scireleaseditem pisa-timssBiobiome
 
แผนการสอนอาเซียน ม.1-3
แผนการสอนอาเซียน ม.1-3แผนการสอนอาเซียน ม.1-3
แผนการสอนอาเซียน ม.1-3sompriaw aums
 
แผ่นพับหลักสูตรการอบรมคุณธรรม
แผ่นพับหลักสูตรการอบรมคุณธรรมแผ่นพับหลักสูตรการอบรมคุณธรรม
แผ่นพับหลักสูตรการอบรมคุณธรรม
niralai
 
STUDENT HANDBOOK 2566 v2.pdf
STUDENT HANDBOOK 2566  v2.pdfSTUDENT HANDBOOK 2566  v2.pdf
STUDENT HANDBOOK 2566 v2.pdf
jintana ver
 

Similar to Edu reform-draft (20)

14 ตัวอย่างการประเมินผลนานาชาติ คณิตศาสตร์
14 ตัวอย่างการประเมินผลนานาชาติ คณิตศาสตร์14 ตัวอย่างการประเมินผลนานาชาติ คณิตศาสตร์
14 ตัวอย่างการประเมินผลนานาชาติ คณิตศาสตร์
 
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
 
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
 
คู่มือ15มาตรฐาน
คู่มือ15มาตรฐานคู่มือ15มาตรฐาน
คู่มือ15มาตรฐาน
 
คู่มือ15มาตรฐาน
คู่มือ15มาตรฐานคู่มือ15มาตรฐาน
คู่มือ15มาตรฐาน
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา
ร่างหลักสูตรสถานศึกษาร่างหลักสูตรสถานศึกษา
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา
 
แผนการสอน..
แผนการสอน..แผนการสอน..
แผนการสอน..
 
ประกาศใช้มาตรฐาน ประถม
ประกาศใช้มาตรฐาน ประถมประกาศใช้มาตรฐาน ประถม
ประกาศใช้มาตรฐาน ประถม
 
Pisa
PisaPisa
Pisa
 
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
 
12.ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa และ timss
12.ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa และ timss12.ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa และ timss
12.ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa และ timss
 
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
 
ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ PISA และ TIMSS
ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ PISA และ TIMSSตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ PISA และ TIMSS
ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ PISA และ TIMSS
 
Scireleaseditem pisa-timss
Scireleaseditem pisa-timssScireleaseditem pisa-timss
Scireleaseditem pisa-timss
 
แผนการสอนอาเซียน ม.1-3
แผนการสอนอาเซียน ม.1-3แผนการสอนอาเซียน ม.1-3
แผนการสอนอาเซียน ม.1-3
 
แผนการสอนอาเชี่ยนศึกษา ม.1 3
แผนการสอนอาเชี่ยนศึกษา ม.1 3แผนการสอนอาเชี่ยนศึกษา ม.1 3
แผนการสอนอาเชี่ยนศึกษา ม.1 3
 
โครงการนาฏมวยไทย
โครงการนาฏมวยไทยโครงการนาฏมวยไทย
โครงการนาฏมวยไทย
 
แผนกลยุทธ์โรงเรียนบาเจาะ
แผนกลยุทธ์โรงเรียนบาเจาะแผนกลยุทธ์โรงเรียนบาเจาะ
แผนกลยุทธ์โรงเรียนบาเจาะ
 
แผ่นพับหลักสูตรการอบรมคุณธรรม
แผ่นพับหลักสูตรการอบรมคุณธรรมแผ่นพับหลักสูตรการอบรมคุณธรรม
แผ่นพับหลักสูตรการอบรมคุณธรรม
 
STUDENT HANDBOOK 2566 v2.pdf
STUDENT HANDBOOK 2566  v2.pdfSTUDENT HANDBOOK 2566  v2.pdf
STUDENT HANDBOOK 2566 v2.pdf
 

More from Boonlert Aroonpiboon

Excel quiz
Excel quizExcel quiz
Scival for Research Performance
Scival for Research PerformanceScival for Research Performance
Scival for Research Performance
Boonlert Aroonpiboon
 
20190726 icde-session-chularat-nstda-4
20190726 icde-session-chularat-nstda-420190726 icde-session-chularat-nstda-4
20190726 icde-session-chularat-nstda-4
Boonlert Aroonpiboon
 
20190409 social-media-backup
20190409 social-media-backup20190409 social-media-backup
20190409 social-media-backup
Boonlert Aroonpiboon
 
20190220 open-library
20190220 open-library20190220 open-library
20190220 open-library
Boonlert Aroonpiboon
 
20190220 digital-archives
20190220 digital-archives20190220 digital-archives
20190220 digital-archives
Boonlert Aroonpiboon
 
OER KKU Library
OER KKU LibraryOER KKU Library
OER KKU Library
Boonlert Aroonpiboon
 
Museum digital-code
Museum digital-codeMuseum digital-code
Museum digital-code
Boonlert Aroonpiboon
 
OER MOOC - Success Story
OER MOOC - Success StoryOER MOOC - Success Story
OER MOOC - Success Story
Boonlert Aroonpiboon
 
LAM Code of conduct
LAM Code of conductLAM Code of conduct
LAM Code of conduct
Boonlert Aroonpiboon
 
RLPD - OER MOOC
RLPD - OER MOOCRLPD - OER MOOC
RLPD - OER MOOC
Boonlert Aroonpiboon
 
New Technology for Information Services
New Technology for Information ServicesNew Technology for Information Services
New Technology for Information Services
Boonlert Aroonpiboon
 
New Technology for Information Services
New Technology for Information ServicesNew Technology for Information Services
New Technology for Information Services
Boonlert Aroonpiboon
 
digital law for GLAM
digital law for GLAMdigital law for GLAM
digital law for GLAM
Boonlert Aroonpiboon
 
20180919 digital-collections
20180919 digital-collections20180919 digital-collections
20180919 digital-collections
Boonlert Aroonpiboon
 
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
Boonlert Aroonpiboon
 
20180828 digital-archives
20180828 digital-archives20180828 digital-archives
20180828 digital-archives
Boonlert Aroonpiboon
 
Local Wisdom Information : How to
Local Wisdom Information : How toLocal Wisdom Information : How to
Local Wisdom Information : How to
Boonlert Aroonpiboon
 
201403 etda-library-settup
201403 etda-library-settup201403 etda-library-settup
201403 etda-library-settup
Boonlert Aroonpiboon
 
201403 etda-library
201403 etda-library201403 etda-library
201403 etda-library
Boonlert Aroonpiboon
 

More from Boonlert Aroonpiboon (20)

Excel quiz
Excel quizExcel quiz
Excel quiz
 
Scival for Research Performance
Scival for Research PerformanceScival for Research Performance
Scival for Research Performance
 
20190726 icde-session-chularat-nstda-4
20190726 icde-session-chularat-nstda-420190726 icde-session-chularat-nstda-4
20190726 icde-session-chularat-nstda-4
 
20190409 social-media-backup
20190409 social-media-backup20190409 social-media-backup
20190409 social-media-backup
 
20190220 open-library
20190220 open-library20190220 open-library
20190220 open-library
 
20190220 digital-archives
20190220 digital-archives20190220 digital-archives
20190220 digital-archives
 
OER KKU Library
OER KKU LibraryOER KKU Library
OER KKU Library
 
Museum digital-code
Museum digital-codeMuseum digital-code
Museum digital-code
 
OER MOOC - Success Story
OER MOOC - Success StoryOER MOOC - Success Story
OER MOOC - Success Story
 
LAM Code of conduct
LAM Code of conductLAM Code of conduct
LAM Code of conduct
 
RLPD - OER MOOC
RLPD - OER MOOCRLPD - OER MOOC
RLPD - OER MOOC
 
New Technology for Information Services
New Technology for Information ServicesNew Technology for Information Services
New Technology for Information Services
 
New Technology for Information Services
New Technology for Information ServicesNew Technology for Information Services
New Technology for Information Services
 
digital law for GLAM
digital law for GLAMdigital law for GLAM
digital law for GLAM
 
20180919 digital-collections
20180919 digital-collections20180919 digital-collections
20180919 digital-collections
 
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
 
20180828 digital-archives
20180828 digital-archives20180828 digital-archives
20180828 digital-archives
 
Local Wisdom Information : How to
Local Wisdom Information : How toLocal Wisdom Information : How to
Local Wisdom Information : How to
 
201403 etda-library-settup
201403 etda-library-settup201403 etda-library-settup
201403 etda-library-settup
 
201403 etda-library
201403 etda-library201403 etda-library
201403 etda-library
 

Recently uploaded

การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 

Recently uploaded (10)

การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 

Edu reform-draft

  • 1. ราง พระราชบัญญัติ การศึกษาแหงชาติ พ.ศ. .... ....................................... .................................... .......................................... ........................................................................................................................................ โดยที่เปนการสมควรปรับปรุงกฎหมายวาดวยการศึกษาแหงชาติ พระราชบัญญัตินี้มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจํากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล… .................................................................................................................................................. ......................................................................................................................................................................... มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกวา “พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. ....” มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เปนตนไป มาตรา ๓ ใหยกเลิก (๑) พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ (๒) พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ (๓) พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๓
  • 2. -๒- มาตรา ๔ ในพระราชบัญญัตินี้ “การศึกษา” หมายความวา กระบวนการเรียนรูเพื่อความเจริญงอกงามของบุคคลและสังคม โดยการถายทอดความรู การฝก การอบรม การสืบสานทางวัฒนธรรม การสรางสรรคจรรโลงความกาวหนาทาง วิชาการ การสรางองคความรูอันเกิดจากการจัดสภาพแวดลอม สังคม การเรียนรูและปจจัยเกื้อหนุนใหบุคคล เรียนรูอยางตอเนื่องตลอดชีวิต “การศึกษาภาคบังคับ”หมายความวา การศึกษาที่จัดใหเด็กจํานวนเกาชั้นปโดยไมเสีย คาใชจาย และใหเด็กซึ่งมีอายุยางเขาปที่สี่เขาเรียนในสถานศึกษาจนอายุเขาปที่สิบสอง เวนแตสอบไดชั้นปที่ เกาของการศึกษาภาคบังคับ “เตรียมอุดมศึกษา” หมายความวา การศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เพื่อเตรียมความ พรอมผูเรียนกอนเขาเรียนระดับอุดมศึกษา “การศึกษาตลอดชีวิต” หมายความวา การศึกษาที่เกิดจากการผสมผสานระหวางการศึกษา ในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อใหสามารถพัฒนาคุณภาพชีวิตไดอยางตอเนื่อง ตลอดชีวิต “สถานศึกษา” หมายความวา สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย โรงเรียน ศูนยการเรียน วิทยาลัย สถาบัน มหาวิทยาลัย หนวยงานการศึกษา หรือหนวยงานอื่นของรัฐหรือของเอกชน ที่มีอํานาจหนาที่หรือมี วัตถุประสงคในการจัดการศึกษา “มาตรฐานการศึกษา” หมายความวา ขอกําหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะ คุณภาพ ที่พึง ประสงคและมาตรฐานที่ตองการใหเกิดขึ้นในสถานศึกษาทุกแหง และเพื่อใชเปนหลักในการเทียบเคียงสําหรับ การสงเสริมและกํากับดูแล การตรวจสอบ การประเมินผล และการประกันคุณภาพทางการศึกษา “หลักสูตรแกนกลางการศึกษาภาคบังคับ” หมายความวา หลักสูตรการศึกษาที่สถาบันวิจัย และพัฒนาหลักสูตรแหงชาติจัดทําขึ้นเพื่อเปนกรอบหรือแนวทางของการจัดทําหลักสูตรการศึกษาภาคบังคับ ของสถานศึกษา “การประกันคุณภาพภายใน” หมายความวา การประเมินผล การควบคุมและการติดตาม ตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาจากภายใน เพื่อใหเกิดการพัฒนาคุณภาพและ มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา โดยบุคลากรของสถานศึกษานั้นเอง หรือโดยหนวยงานตนสังกัดที่มีหนาที่ กํากับดูแลสถานศึกษานั้น “การประกันคุณภาพภายนอก” หมายความวา การประเมินผลและการติดตามตรวจสอบ คุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาจากภายนอก โดยสํานักงานรับรองมาตรฐานการศึกษา แหงชาติหรือบุคคลหรือหนวยงานภายนอกที่สํานักงานดังกลาวรับรอง เพื่อใหเกิดการพัฒนาการประกัน คุณภาพ และพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา “ผูสอน” หมายความวา ครูและคณาจารยในสถานศึกษาระดับตาง ๆ
  • 3. -๓- “ครู” หมายความวา บุคลากรวิชาชีพซึ่งทําหนาที่หลักทางดานการเรียนการสอนและการ สงเสริมการเรียนรูของผูเรียนดวยวิธีการตาง ๆ ในสถานศึกษาทั้งของรัฐและเอกชน “คณาจารย” หมายความวา บุคลากรซึ่งทําหนาที่หลักทางดานการสอนและการวิจัยใน สถานศึกษาระดับอุดมศึกษาระดับปริญญาของรัฐและเอกชน “ผูบริหารสถานศึกษา” หมายความวา บุคลากรวิชาชีพที่รับผิดชอบการบริหารสถานศึกษา แตละแหง ทั้งของรัฐและเอกชน “ผูบริหารการศึกษา” หมายความวา บุคลากรวิชาชีพที่รับผิดชอบการบริหารการศึกษานอก สถานศึกษา “บุคลากรทางการศึกษา” หมายความวา ผูบริหารสถานศึกษา ผูบริหารการศึกษา รวมทั้ง ผูสนับสนุนการศึกษาซึ่งเปนผูทําหนาที่ใหบริการ หรือปฏิบัติงานเกี่ยวเนื่องกับการจัดกระบวนการเรียนการ สอน การนิเทศ และการบริหารการศึกษาในหนวยงานการศึกษาตาง ๆ “กระทรวง” หมายความวา กระทรวงกลาโหม กระทรวงการทองเที่ยวและกีฬา กระทรวง การพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงมหาดไทยหรือกระทรวงวัฒนธรรม แลวแตกรณี “รัฐมนตรี” หมายความวา รัฐมนตรีผูรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ มาตรา ๕ ใหนายกรัฐมนตรีรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ ใหสภานโยบายและพัฒนาการศึกษาแหงชาติ มีอํานาจในการออกระเบียบ หรือประกาศ เพื่อใหมีการปฏิบัติตามอํานาจหนาที่ที่กําหนดไวในพระราชบัญญัตินี้ ระเบียบ และประกาศนั้น เมื่อไดประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลวใหใชบังคับได หมวด ๑ บททั่วไป ความมุงหมายและหลักการ มาตรา ๖ การจัดการศึกษาตองเปนไปเพื่อพัฒนาคนไทยใหเปนมนุษยที่สมบูรณทั้ง รางกาย จิตใจ สติปญญา ความรู และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดํารงชีวิต สามารถอยูรวมกับ ผูอื่นไดอยางมีความสุข และตองมีการพัฒนาการศึกษาอยางมีคุณภาพและมาตรฐานและทันการเปลี่ยนแปลง ของสังคมโลกและเปนไปอยางตอเนื่องและทันเหตุการณ
  • 4. -๔- มาตรา ๗ ในกระบวนการเรียนรูตองมุงปลูกฝงใหผูเรียนมีคุณลักษณะ ดังตอไปนี้ (๑) มีจิตสํานึกที่ถูกตองและยึดมั่นในการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริยทรงเปนประมุข (๒) รูจักรักษาและสงเสริมสิทธิ หนาที่ เสรีภาพ ความเคารพกฎหมาย ความเสมอภาค และ ศักดิ์ศรีความเปนมนุษย (๓) มีระเบียบวินัยคํานึงถึงประโยชนสวนรวม รูจักเสียสละเพื่อสวนรวม (๔) มีความภาคภูมิใจในความเปนไทย รูจักรักษาผลประโยชนสวนรวมและของประเทศชาติ รวมทั้งสงเสริมศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรมของชาติ การกีฬา ภูมิปญญาไทย ภูมิปญญาทองถิ่น และความรูอัน เปนสากล ตลอดจนอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (๕) มีความสามารถในการประกอบอาชีพ รูจักพึ่งตนเอง ยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง (๖) มีความคิดริเริ่มสรางสรรค ใฝรูและเรียนรูไดดวยตนเองอยางตอเนื่องตลอดชีวิต มาตรา ๘ การจัดการศึกษาใหยึดหลัก ดังนี้ (๑) เปนการศึกษาตลอดชีวิตสําหรับประชาชน (๒) ใหสังคมมีสวนรวมในการจัดการศึกษา (๓) การพัฒนาสาระและกระบวนการเรียนรูใหเปนไปอยางตอเนื่อง มาตรา ๙ การจัดระบบ โครงสราง และกระบวนการจัดการศึกษา ใหยึดหลัก ดังนี้ (๑) มีเอกภาพดานนโยบาย และมีความหลากหลายในการปฏิบัติ (๒) มีการกระจายอํานาจทางการศึกษา งบประมาณ และทรัพยากรทางการศึกษาไป สูสถานศึกษา และองคกรปกครองสวนทองถิ่น (๓) มีการกําหนดมาตรฐานการศึกษา และจัดระบบประกันคุณภาพการศึกษาทุกระดับและ ประเภทการศึกษา มีการรับรองและตรวจสอบคุณวุฒิการศึกษาของผูเรียนและครู คณาจารย และบุคลากร ทางการศึกษา (๔) มีการจัดการศึกษาใหเปนไปตามหลักสูตรของสถานศึกษา โดยเฉพาะอยางยิ่งใน การศึกษาภาคบังคับตองสอดคลองกับหลักสูตรแกนกลางดวย (๕) มีหลักการสงเสริมมาตรฐานวิชาชีพครู คณาจารย และบุคลากรทางการศึกษา และการ พัฒนาครู คณาจารย และบุคลากรทางการศึกษาอยางตอเนื่อง (๖) ระดมทรัพยากรจากแหลงตาง ๆ มาใชในการจัดการศึกษา (๗) สงเสริม และพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา และนําไปใชอยางมี ประสิทธิภาพ (๘) การมีสวนรวมของบุคคล ครอบครัว ชุมชน องคกรชุมชน องคกรปกครองสวนทองถิ่น เอกชน องคกรเอกชน องคกรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอื่น
  • 5. -๕- หมวด ๒ สิทธิและหนาที่ทางการศึกษา มาตรา ๑๐ การจัดการศึกษา ตองจัดใหบุคคลมีสิทธิและโอกาสเสมอกันในการรับการศึกษา จํานวนเกาป ที่รัฐจะตองจัดใหอยางทั่วถึงและมีคุณภาพ โดยไมเก็บคาใชจาย เริ่มจากระดับปฐมวัยจนถึงระดับ ประถมศึกษา ภายใตบังคับมาตรา ๒๐ ใหรัฐจัดทุนการศึกษาใหแกบุคคลตามวรรคหนึ่งตามความจําเปน ทั้งนี้ ตามที่กําหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๑๑ บุคคลดังตอไปนี้มีสิทธิและโอกาสไดรับการศึกษาเปนพิเศษจากรัฐ (๑) บุคคลซึ่งมีความบกพรองทางรางกาย จิตใจ สติปญญา อารมณ สังคม การสื่อสาร และ การเรียนรู หรือมีรางกายพิการหรือทุพพลภาพ ใหจัดการศึกษาตั้งแตแรกเกิดหรือพบความพิการโดยไมเสีย คาใชจาย (๒) บุคคลซึ่งไมสามารถพึ่งตนเองได หรือไมมีผูดูแล หรือดอยโอกาส สิทธิและโอกาสไดรับการศึกษาเปนพิเศษจากรัฐ ใหหมายความรวมถึงการไดรับสิ่งอํานวย ความสะดวก สื่อ บริการ และความชวยเหลืออื่นใดทางการศึกษา ตามหลักเกณฑและวิธีการที่กําหนด ในระเบียบของสภานโยบายและพัฒนาการศึกษาแหงชาติ มาตรา ๑๒ การจัดการศึกษาสําหรับบุคคลซึ่งมีความสามารถพิเศษ ตองจัดดวยรูปแบบที่ เหมาะสมโดยคํานึงถึงความสามารถของบุคคลนั้น มาตรา ๑๓ บิดา มารดา หรือผูปกครองมีหนาที่จัดใหบุตรหรือบุคคลซึ่งอยูในความดูแลไดรับ การศึกษาภาคบังคับตามมาตรา ๒๐ และตามกฎหมายที่เกี่ยวของ ตลอดจนใหไดรับการศึกษานอกเหนือจาก การศึกษาภาคบังคับ ตามความพรอมของครอบครัว มาตรา ๑๔ ใหรัฐ และองคกรปกครองสวนทองถิ่นมีหนาที่ในการจัดการศึกษา ทั้งนี้ ตามที่ กําหนดในนโยบายการศึกษาแหงชาติ ตลอดจนใหบุคคล ครอบครัว องคกรชุมชน เอกชน องคกรเอกชน องคกรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอื่น มีสิทธิในการจัดการศึกษา ทั้งนี้ ให เปนไปตามที่กฎหมายวาดวยสภานโยบายและพัฒนาการศึกษาแหงชาติ มาตรา ๑๕ บิดา มารดา หรือผูปกครองมีสิทธิไดรับสิทธิประโยชน ดังตอไปนี้ (๑) การสนับสนุนจากรัฐ ใหมีความรูความสามารถในการอบรมเลี้ยงดู และการใหการศึกษา แกบุตรหรือบุคคลซึ่งอยูในความดูแล ทั้งนี้ ตามที่กําหนดในพระราชบัญญัตินี้
  • 6. -๖- (๒) เงินอุดหนุนจากรัฐสําหรับการจัดการศึกษาภาคบังคับของบุตรหรือบุคคลซึ่งอยูในความ ดูแลที่ครอบครัวจัดให ใหอุดหนุนเปนเวลาเกาปนับแตเริ่มเขารับการศึกษาภาคบังคับ ทั้งนี้ ตามที่กําหนดใน พระราชบัญญัตินี้ (๓) การดูแลและเสริมสรางพัฒนาการการเรียนรูของเด็กตั้งแตแรกเกิดจนเขาสูการศึกษาภาค บังคับโดยไดรับการอุดหนุนจากองคกรปกครองสวนทองถิ่น ทั้งนี้ ตามที่กําหนดในกฎหมายวาดวยการจัดการ และบริหารการศึกษาขององคกรปกครองสวนทองถิ่น (๔) การลดหยอนหรือยกเวนภาษีสําหรับคาใชจายการศึกษาตามที่กฎหมายกําหนด มาตรา ๑๖ บุคคล ครอบครัว ชุมชน องคกรชุมชน องคกรเอกชน องคกรวิชาชีพ สถาบัน ศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอื่น ซึ่งสนับสนุนหรือจัดการศึกษาภาคบังคับมีสิทธิไดรับสิทธิ ประโยชนตามควรแกกรณี ดังตอไปนี้ (๑) การสนับสนุนจากรัฐใหมีความรูความสามารถในการอบรมเลี้ยงดูบุคคลซึ่งอยูในความ ดูแลรับผิดชอบ ทั้งนี้ ตามที่กําหนดในพระราชบัญญัตินี้ (๒) เงินอุดหนุนจากรัฐสําหรับการจัดการศึกษาภาคบังคับ ทั้งนี้ ตามที่กําหนดใน พระราชบัญญัตินี้ (๓) การลดหยอนหรือยกเวนภาษีสําหรับคาใชจายการศึกษาตามที่กฎหมายกําหนด หมวด ๓ ระบบการศึกษา มาตรา ๑๗ การจัดการศึกษามีสามรูปแบบ คือ การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และ การศึกษาตามอัธยาศัย (๑) การศึกษาในระบบ เปนการศึกษาที่กําหนดจุดมุงหมาย วิธีการศึกษา หลักสูตร ระยะเวลาของการศึกษา และการวัดและประเมินผล ซึ่งเปนเงื่อนไขของการสําเร็จการศึกษาที่แนนอน (๒) การศึกษานอกระบบ เปนการศึกษาที่มีความยืดหยุนในการกําหนดจุดมุงหมาย รูปแบบ วิธีการจัดการศึกษา ระยะเวลาของการศึกษา และการวัดและประเมินผล ซึ่งเปนเงื่อนไขสําคัญของการสําเร็จ การศึกษา โดยเนื้อหาและหลักสูตรจะตองมีความเหมาะสมสอดคลองกับสภาพปญหาและความตองการของ บุคคลแตละกลุม (๓) การศึกษาตามอัธยาศัย เปนการศึกษาที่ใหผูเรียนไดเรียนรูดวยตนเองตามความสนใจ ศักยภาพ ความพรอม และโอกาส โดยศึกษาจากบุคคล ประสบการณ สังคม สภาพแวดลอม สื่อ หรือแหลง ความรูอื่น ๆ สถานศึกษาสามารถจัดการศึกษาในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่งหรือทั้งสามรูปแบบก็ได
  • 7. -๗- ใหมีการเทียบโอนผลการเรียนที่ผูเรียนสะสมไวในระหวางรูปแบบเดียวกันหรือตางรูปแบบได ไมวาจะเปนผลการเรียนจากสถานศึกษาเดียวกันหรือไมก็ตาม รวมทั้งจากการเรียนรูนอกระบบ ตามอัธยาศัย การ ฝกอาชีพ หรือจากประสบการณการทํางาน มาตรา ๑๘ การศึกษาในระบบมีสามระดับ คือ การศึกษาภาคบังคับ การศึกษาระดับกอน อุดมศึกษา และการศึกษาระดับอุดมศึกษา การศึกษาภาคบังคับประกอบดวย การศึกษาปฐมวัย และการศึกษาระดับประถมศึกษา การแบงระดับและประเภทของการศึกษาภาคบังคับ ใหเปนไปตามที่กําหนดในระเบียบของสภานโยบายและ พัฒนาการศึกษาแหงชาติ การศึกษาระดับกอนอุดมศึกษา ประกอบดวย (๑) การศึกษาระดับมัธยมศึกษา คือ การศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนตน และเตรียม อุดมศึกษา (๒) การศึกษาระดับอาชีวศึกษา คือ การศึกษาอาชีวศึกษาตอนตน และอาชีวศึกษาตอน ปลาย การแบงระดับและประเภทของการศึกษากอนอุดมศึกษาตามวรรคสาม ใหเปนไปตามที่ กําหนดในระเบียบของสภานโยบายและพัฒนาการศึกษาแหงชาติ การศึกษาระดับอุดมศึกษาแบงเปนสองระดับ คือ ระดับต่ํากวาปริญญา และระดับปริญญา มาตรา ๑๙ การแบงระดับหรือการเทียบระดับการศึกษานอกระบบหรือการศึกษาตาม อัธยาศัยใหเปนไปตามที่กําหนดในระเบียบของสภานโยบายและพัฒนาการศึกษาแหงชาติ มาตรา ๒๐ ใหมีการศึกษาภาคบังคับจํานวนเกาชั้นป โดยใหเด็กซึ่งมีอายุยางเขาปที่สี่เขาเรียน ในสถานศึกษาจนอายุเขาปที่สิบสอง เวนแตสอบไดชั้นปที่เกาของการศึกษาภาคบังคับ หลักเกณฑและวิธีการ นับอายุใหเปนไปตามที่คณะกรรมการการศึกษาปฐมวัยและประถมศึกษากําหนด มาตรา ๒๑ การจัดการศึกษาภาคบังคับ ใหจัดในสถานศึกษาดังตอไปนี้ (๑) สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย ไดแก ศูนยเด็กเล็ก ศูนยพัฒนาเด็กเล็ก ศูนยพัฒนาเด็กกอน เกณฑของสถาบันศาสนา ศูนยบริการชวยเหลือระยะแรกเริ่มของเด็กพิการและเด็กซึ่งมีความตองการพิเศษ หรือสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยที่เรียกชื่ออยางอื่น (๒) โรงเรียน ไดแก โรงเรียนของรัฐ โรงเรียนเอกชน และโรงเรียนที่สังกัดสถาบันพุทธศาสนา หรือศาสนาอื่น (๓) ศูนยการเรียน ไดแก สถานที่เรียนที่หนวยงานจัดการศึกษานอกโรงเรียน บุคคล ครอบครัว ชุมชน องคกรชุมชน องคกรปกครองสวนทองถิ่น องคกรเอกชน องคกรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ โรงพยาบาล สถาบันทางการแพทย สถานสงเคราะห และสถาบันสังคมอื่นเปนผูจัด
  • 8. -๘- มาตรา ๒๒ การจัดการศึกษาระดับกอนอุดมศึกษา ใหจัดในสถานศึกษาตามมาตรา ๒๑ (๒) และ (๓) เวนแตกรณีการจัดการศึกษาระดับกอนอุดมศึกษาที่เปนอาชีวศึกษา ใหเปนไปตามมาตรา ๒๔ มาตรา ๒๓ การจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาใหจัดในมหาวิทยาลัย สถาบัน วิทยาลัย หรือ หนวยงานที่เรียกชื่ออยางอื่น ทั้งนี้ ใหเปนไปตามกฎหมายเกี่ยวกับสถานศึกษาระดับอุดมศึกษา กฎหมายวา ดวยการจัดตั้งสถานศึกษานั้น ๆ และกฎหมายที่เกี่ยวของ มาตรา ๒๔ การจัดการอาชีวศึกษา การฝกอบรมวิชาชีพ ใหจัดในสถานศึกษาของรัฐ สถานศึกษาของเอกชน สถานประกอบการ หรือพื้นที่ประกอบการอุตสาหกรรมหรือกสิกรรม โดยความรวมมือ ระหวางสถานศึกษากับผูประกอบการ ทั้งนี้ ใหเปนไปตามกฎหมายวาดวยการอาชีวศึกษาและกฎหมายที่ เกี่ยวของ มาตรา ๒๕ กระทรวง ทบวง กรม รัฐวิสาหกิจ และหนวยงานอื่นของรัฐ อาจจัดการศึกษา เฉพาะทางตามความตองการและความชํานาญของหนวยงานนั้นได โดยคํานึงถึงนโยบายและมาตรฐาน การศึกษาของชาติ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่กําหนดในระเบียบของสภานโยบายและพัฒนา การศึกษาแหงชาติ มาตรา ๒๖ ใหมีการศึกษาวิจัยและพัฒนาระบบการศึกษาและนโยบายการศึกษาของชาติใน ทุกระดับ เพื่อสงเสริมและสนับสนุนใหมีองคความรูและฐานขอมูลที่เกิดขึ้นจากการศึกษาวิจัยระบบการศึกษา และนโยบายการศึกษาของชาติ ซึ่งเปนประโยชนตอการพัฒนาระบบการศึกษาและนโยบายการศึกษาของชาติ ใหมีประสิทธิภาพ และเหมาะสมกับสภาพเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ และทันตอสถานการณความ เปลี่ยนแปลงในสังคมโลก ใหมีกองทุนศึกษาวิจัย และพัฒนาระบบการศึกษาและนโยบายการศึกษาของชาติ เพื่อเปน ทุนหมุนเวียนและคาใชจายในการสนับสนุนการวิจัยระบบการศึกษาและนโยบายการศึกษาของชาติอยาง ตอเนื่องและมีประสิทธิภาพ มีการวิจัยเชิงนโยบาย และการวิจัยประยุกตตางๆ เพื่อประโยชนในการพัฒนา ระบบการศึกษาและนโยบายการศึกษาของชาติ ใหสถาบันวิจัยและพัฒนาระบบการศึกษาแหงชาติตามมาตรา ๕๑ มีอํานาจหนาที่ในการ ดําเนินการตามวรรคหนึ่งและวรรคสอง และตามที่กําหนดไวในพระราชบัญญัตินี้ และกฎหมายวาดวย สถาบันวิจัยและพัฒนาระบบการศึกษาแหงชาติ
  • 9. -๙- หมวด ๔ แนวการจัดการศึกษา มาตรา ๒๗ การจัดการศึกษาตองยึดหลักวาผูเรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรูและพัฒนา ตนเองได และถือวาผูเรียนมีความสําคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาตองสงเสริมใหผูเรียนสามารถพัฒนา ตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ มาตรา ๒๘ การจัดการศึกษา ทั้งการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษา ตามอัธยาศัย ตองเนนความสําคัญทั้งความรู คุณธรรม กระบวนการเรียนรูและบูรณาการตามความเหมาะสม ของแตละระดับการศึกษาในเรื่องตอไปนี้ (๑) ความรูเรื่องเกี่ยวกับตนเอง และความสัมพันธของตนเองกับสังคม ไดแก ครอบครัว ชุมชน ชาติ และสังคมโลก รวมถึงความรูเกี่ยวกับประวัติศาสตรความเปนมาของสังคมไทยและระบบการเมือง การปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข (๒) ความรูและทักษะดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี รวมทั้งความรูความเขาใจและ ประสบการณเรื่องการจัดการ การบํารุงรักษา และการใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม อยางสมดุลยั่งยืน (๓) ความรูเกี่ยวกับศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม การกีฬา ภูมิปญญาไทย และการประยุกตใช ภูมิปญญา (๔) ความรูและทักษะดานคณิตศาสตรและดานภาษา เนนการใชภาษาไทยอยางถูกตอง (๕) ความรูและทักษะในการประกอบอาชีพและการดํารงชีวิตอยางมีความสุข มาตรา ๒๙ การจัดกระบวนการเรียนรู ใหสถานศึกษาและหนวยงานที่เกี่ยวของดําเนินการ ดังตอไปนี้ (๑) จัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมใหสอดคลองกับความสนใจและความถนัดของผูเรียน โดย คํานึงถึงความแตกตางระหวางบุคคล (๒) ฝกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ และการประยุกตความรูมา ใชเพื่อปองกันและแกไขปญหา (๓) จัดกิจกรรมใหผูเรียนไดเรียนรูจากประสบการณจริง ฝกการปฏิบัติใหทําได คิดเปน ทํา เปน รักการอาน และเกิดการใฝรูอยางตอเนื่อง (๔) จัดการเรียนการสอนโดยผสมผสานสาระความรูดานตาง ๆ อยางไดสัดสวนสมดุลกัน รวมทั้งปลูกฝงคุณธรรม คานิยมที่ดีงาม และคุณลักษณะอันพึงประสงคไวในทุกวิชา (๕) สงเสริมสนับสนุนใหผูสอนสามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดลอม สื่อการเรียน และ อํานวยความสะดวก เพื่อใหผูเรียนเกิดการเรียนรูและมีความรอบรู รวมทั้งสามารถใชการวิจัยเปนสวนหนึ่งของ
  • 10. -๑๐- กระบวนการเรียนรู ทั้งนี้ ผูสอนและผูเรียนอาจเรียนรูไปพรอมกันจากสื่อการเรียนการสอนและแหลง วิทยาการประเภทตาง ๆ (๖) จัดการเรียนรูใหเกิดขึ้นไดทุกเวลาทุกสถานที่ มีการประสานความรวมมือกับบิดา มารดา ผูปกครอง และบุคคลในชุมชนทุกฝาย เพื่อรวมกันพัฒนาผูเรียนตามศักยภาพ มาตรา ๓๐ รัฐตองสงเสริมการดําเนินงานและการจัดตั้งแหลงการเรียนรูตลอดชีวิตทุก รูปแบบ ไดแก หองสมุดประชาชน พิพิธภัณฑ หอศิลป สวนสัตว สวนสาธารณะ สวนพฤกษศาสตร อุทยาน วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีศูนยการกีฬาและนันทนาการ แหลงขอมูล และแหลงการเรียนรูอื่นอยางพอเพียงและ มีประสิทธิภาพ มาตรา ๓๑ ใหสถานศึกษาจัดการประเมินผูเรียนโดยพิจารณาจากพัฒนาการของผูเรียน ความประพฤติ การสังเกตพฤติกรรมการเรียน การรวมกิจกรรมและการทดสอบควบคูไปในกระบวนการเรียน การสอนตามความเหมาะสมของแตละระดับและรูปแบบการศึกษา ใหสถานศึกษาใชวิธีการที่หลากหลายในการจัดสรรโอกาสการเขาศึกษาตอ และใหนําผลการ ประเมินผูเรียนตามวรรคหนึ่งมาใชประกอบการพิจารณาดวย มาตรา ๓๒ ใหสถานศึกษารวมกับบุคคล ครอบครัว ชุมชน องคกรชุมชน องคกรปกครอง สวนทองถิ่น เอกชน องคกรเอกชน องคกรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอื่น สงเสริมความเขมแข็งของชุมชนโดยจัดกระบวนการเรียนรูภายในชุมชน เพื่อใหชุมชนมีการจัดการศึกษาอบรม มีการแสวงหาความรู ขอมูล ขาวสาร และรูจักเลือกสรรภูมิปญญาและวิทยาการตาง ๆ เพื่อพัฒนาชุมชนให สอดคลองกับสภาพปญหาและความตองการ รวมทั้งหาวิธีการสนับสนุนใหมีการแลกเปลี่ยนประสบการณการ พัฒนาระหวางชุมชน มาตรา ๓๓ ใหสถานศึกษาพัฒนากระบวนการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ รวมทั้งการ สงเสริมใหผูสอนสามารถวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรูที่เหมาะสมกับผูเรียนในแตละระดับการศึกษา หมวด ๕ การบริหารและการจัดการศึกษา สวนที่ ๑ การบริหารและการจัดการศึกษาของรัฐ มาตรา ๓๔ โครงสรางองคกรจัดการศึกษาสวนกลาง ใหมีองคกรหลักในการกําหนด นโยบายการบริหารการจัดการ และการตรวจสอบและรับรองมาตรฐาน โดยแบงองคกรเปนสี่กลุม
  • 11. -๑๑- (๑) กลุมนโยบายทางการศึกษา ไดแก สภานโยบายและพัฒนาการศึกษาแหงชาติ คณะกรรมการพิทักษระบบคุณธรรมทางการศึกษา (๒) กลุมปฏิบัติการทางการศึกษา ไดแก กระทรวงศึกษาธิการ สํานักงานปลัดกระทรวง ศึกษาธิการ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาปฐมวัยและประถมศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการ มัธยมศึกษา สํานักงานการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา และ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (๓) กลุมสนับสนุนการจัดการศึกษา ไดแก สถาบันวิจัยและพัฒนาระบบการศึกษาแหงชาติ สถาบันวิจัยและพัฒนาหลักสูตรการศึกษาแหงชาติ สถาบันครุศึกษาแหงชาติ และสํานักงานนวัตกรรมและ เทคโนโลยีทางการศึกษา (๔) กลุมตรวจสอบและรับรองมาตรฐานการศึกษา ไดแก สํานักงานรับรองมาตรฐาน การศึกษาแหงชาติ และสํานักงานรับรองคุณวุฒิการศึกษาแหงชาติ มาตรา ๓๕ ใหมีคณะกรรมการขึ้นคณะหนึ่ง เรียกวา “สภานโยบายและพัฒนาการศึกษา แหงชาติ” เพื่อทําหนาที่ในการกําหนดนโยบายการศึกษา และดําเนินการอื่นตามที่กําหนดในพระราชบัญญัตินี้ จํานวนไมเกินยี่สิบหาคน ประกอบดวย (๑) นายกรัฐมนตรี เปนประธานกรรมการ (๒) กรรมการผูทรงคุณวุฒิดานวิทยาศาสตร ดานสังคมศาสตร ดานปฐมวัยและประถมศึกษา ดานมัธยมศึกษาและเตรียมอุดมศึกษา ดานอาชีวศึกษา ดานอุดมศึกษา ดานการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย ดานกฎหมาย และดานเศรษฐศาสตร จํานวนดานละสองคน (๓) กรรมการผูแทนจากภาคเอกชนที่เกี่ยวของกับการคาและการลงทุน จํานวนสองคน (๔) กรรมการผูแทนจากภาคประชาสังคมดานการศึกษา จํานวนสองคน (๕) กรรมการผูแทนจากองคกรปกครองสวนทองถิ่น จํานวนหนึ่งคน (๖) กรรมการผูแทนผูปกครอง จํานวนหนึ่งคน ใหสํานักงานสภานโยบายและพัฒนาการศึกษาแหงชาติเปนนิติบุคคลและเปนอิสระ และให เลขาธิการสภาเปนเลขานุการในคณะกรรมการสภานโยบายและพัฒนาการศึกษาแหงชาติ คุณสมบัติ หลักเกณฑ วิธีการไดมา วาระการดํารงตําแหนง การพนจากตําแหนง ของกรรมการผูทรงคุณวุฒิตาม (๒) และกรรมการผูแทนตาม (๓) (๔) (๕) และ (๖) และการดําเนินงานของ คณะกรรมการตามวรรคหนึ่ง ใหเปนไปตามที่กฎหมายวาดวยสภานโยบายและพัฒนาการศึกษาแหงชาติ กําหนด มาตรา ๓๖ สภานโยบายและพัฒนาการศึกษาแหงชาติ ใหมีอํานาจหนาที่ ดังตอไปนี้ (๑) กําหนดนโยบายการศึกษาของชาติทั้งระบบทุกระดับและทุกประเภท
  • 12. -๑๒- (๒) ใหความเห็นชอบและตรวจสอบการจัดสรรงบประมาณรายจายประจําปในสวนที่ เกี่ยวกับการศึกษาใหสอดคลองกับนโยบายการศึกษาแหงชาติ (๓) กําหนดนโยบายการศึกษา วิเคราะห และวิจัยที่เกี่ยวของกับการศึกษาทุกระดับ (๔) พิจารณาขอเสนอแนะการจัดทําหลักสูตรการศึกษาสําหรับการศึกษาในระบบทุกระดับและ สาขา (๕) พิจารณาใหความเห็นชอบนโยบายการศึกษาพิเศษ และการศึกษาทางเลือกในทุกระดับ (๖) พิจารณาใหความเห็นชอบในการแตงตั้งคณะกรรมการตามมาตรา ๓๘ มาตรา ๔๐ มาตรา ๔๔ มาตรา ๔๖ และมาตรา ๕๐ ตามกฎหมายวาดวยระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ (๗) พิจารณาออกระเบียบเกี่ยวกับการแตงตั้งคณะกรรมการมาตรา ๕๑ มาตรา ๕๒ มาตรา ๕๓ มาตรา ๕๔ มาตรา ๕๕ และมาตรา ๕๖ และใหความเห็นชอบแตงตั้งคณะกรรมการดังกลาว (๘) พิจารณาใหความเห็นชอบการแตงตั้งโยกยายขาราชการ พนักงาน และเจาหนาที่ ระดับสูงในกระทรวงศึกษาธิการและหนวยงานที่เกี่ยวของกับการจัดการศึกษาของชาติ (๙) พิจารณากําหนดมาตรฐานวิชาชีพ และจรรยาบรรณของวิชาชีพครู คณาจารย และ บุคลากรทางการศึกษา รวมทั้งกําหนดนโยบายการพัฒนาวิชาชีพครู ผูบริหารสถานศึกษาและผูบริหารการศึกษา (๑๐) ติดตามตรวจสอบการดําเนินการใหเปนไปตามนโยบายการศึกษาของชาติ (๑๑) พิจารณาอุทธรณกรณีการสั่งเพิกถอนใบอนุญาต การปดหลักสูตร การปดสถานศึกษา หรือการงดรับนักเรียนของสถานศึกษาเอกชน สถานศึกษาซึ่งไมไดรับการรับรองมาตรฐาน และสถานศึกษาที่ ไมไดขอรับการประเมินมาตรฐาน (๑๒) พิจารณาสั่งปดสถานศึกษาของสถานศึกษาซึ่งไมไดรับการรับรองมาตรฐาน และ สถานศึกษาที่ไมไดขอรับการประเมินมาตรฐานตามมาตรา ๗๒ และมาตรา ๗๕ (๑๓) การกํากับดูแลการปฏิบัติงานของสํานักงานสภานโยบายและพัฒนาการศึกษาแหงชาติ (๑๔) เสนอแนะตอคณะรัฐมนตรีและรัฐสภาในการจัดการศึกษาของชาติ (๑๕) อํานาจอื่นตามที่กําหนดไวในพระราชบัญญัตินี้ และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวของ มาตรา ๓๗ กระทรวงมีอํานาจหนาที่เกี่ยวกับการสงเสริมและกํากับดูแลการจัดการศึกษาทุก ระดับและทุกประเภท กําหนดนโยบาย แผน และมาตรฐานการศึกษา สนับสนุนทรัพยากรเพื่อการศึกษา สงเสริมและประสานงานการศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม และการกีฬาเพื่อการศึกษา รวมทั้งการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการจัดการศึกษาเทาที่ไมขัดหรือแยงกับองคกรที่มีหนาที่ในการตรวจสอบตาม มาตรา ๕๕ และราชการอื่นตามที่มีกฎหมายกําหนดใหเปนอํานาจหนาที่ของกระทรวงหรือสวนราชการที่ สังกัดกระทรวง มาตรา ๓๘ ใหมีคณะกรรมการการศึกษาปฐมวัยและประถมศึกษา ประกอบดวย (๑) กรรมการสภานโยบายและพัฒนาการศึกษาแหงชาติผูทรงคุณวุฒิ เปนประธานกรรมการ
  • 13. -๑๓- (๒) กรรมการผูทรงคุณวุฒิดานการศึกษาปฐมวัย ดานประถมศึกษา ดานการศึกษาพิเศษ ดาน การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และดานกฎหมาย จํานวนดานละหนึ่งคน (๓) กรรมการผูแทนองคกรปกครองสวนทองถิ่น จํานวนหนึ่งคน (๔) กรรมการผูแทนครูอาจารยระดับปฐมวัยและประถมศึกษาจากสถานศึกษาของรัฐ จํานวน หนึ่งคน (๕) กรรมการผูแทนครูอาจารยระดับปฐมวัยและประถมศึกษาจากสถานศึกษาของเอกชน จํานวนหนึ่งคน ใหมีเลขาธิการสํานักงานการศึกษาปฐมวัยและประถมศึกษา เปนเลขานุการของ คณะกรรมการตามวรรคหนึ่ง และดําเนินงานโดยทั่วไปของสํานักงานการศึกษาปฐมวัยและประถมศึกษา ทั้งนี้ ตามที่กําหนดในกฎหมายวาดวยระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ คุณสมบัติ หลักเกณฑ วิธีการไดมา วาระการดํารงตําแหนง การพนจากตําแหนงของ กรรมการผูทรงคุณวุฒิตาม (๒) และกรรมการผูแทนตาม (๓) และการดําเนินงานของคณะกรรมการตามวรรค หนึ่ง ใหเปนไปตามกฎหมายวาดวยระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ มาตรา ๓๙ ใหคณะกรรมการการศึกษาปฐมวัยและประถมศึกษา มีอํานาจหนาที่ (๑) เสนอแนะนโยบายการศึกษาปฐมวัยและประถมศึกษาตอสภานโยบายและพัฒนา การศึกษาแหงชาติ (๒) เสนอแนะการจัดทําหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยและประถมศึกษา (๓) ติดตาม ตรวจสอบการดําเนินการจัดการศึกษาปฐมวัยและประถมศึกษาใหเปนไปตาม นโยบายการศึกษาของชาติ (๔) เสนอแนะนโยบายการศึกษาพิเศษระดับการศึกษาปฐมวัยและประถมศึกษา (๕) พิจารณาใหความเห็นชอบการแตงตั้ง โยกยาย ขาราชการ พนักงาน และเจาหนาที่ของ สํานักงานการศึกษาปฐมวัยและประถมศึกษา และของโรงเรียนและสถานศึกษาในสังกัดที่ยังไมไดถายโอนไป องคกรปกครองสวนทองถิ่น (๖) กํากับ ดูแลการปฏิบัติตามมาตรฐานและจรรยาบรรณของวิชาชีพของครู และบุคลากร ทางการศึกษาของสํานักงานการศึกษาปฐมวัยและประถมศึกษา สถานศึกษาทั้งของรัฐ เอกชน และองคกร ปกครองสวนทองถิ่น (๗) พิจารณาการอนุญาตการจัดตั้งโรงเรียนและสถานศึกษาเอกชนและองคกรปกครองสวน ทองถิ่นในขั้นปฐมวัยและประถมศึกษา ตลอดจนการพักใชใบอนุญาต และเพิกถอนใบอนุญาต (๘) กํากับ ดูแลการปฏิบัติงานของสํานักงานการศึกษาปฐมวัยและประถมศึกษา สถานศึกษา ทั้งของรัฐ เอกชน และองคกรปกครองสวนทองถิ่น (๙) กําหนดกฎและหลักเกณฑที่จําเปนในการบริหารการศึกษาปฐมวัยและประถมศึกษา
  • 14. -๑๔- มาตรา ๔๐ ใหมีคณะกรรมการการมัธยมศึกษา ประกอบดวย (๑) กรรมการสภานโยบายและพัฒนาการศึกษาแหงชาติผูทรงคุณวุฒิ เปนประธานกรรมการ (๒) กรรมการผูทรงคุณวุฒิดานมัธยมศึกษา ดานอาชีวศึกษา ดานการศึกษาพิเศษ ดาน การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และดานกฎหมาย จํานวนดานละหนึ่งคน (๓) กรรมการผูแทนองคกรปกครองสวนทองถิ่น จํานวนหนึ่งคน (๔) กรรมการผูแทนครูอาจารยระดับมัธยมศึกษาจากสถานศึกษาของรัฐ จํานวนหนึ่งคน (๕) กรรมการผูแทนครูอาจารยระดับมัธยมศึกษาจากสถานศึกษาของเอกชน จํานวนหนึ่งคน ใหมีเลขาธิการสํานักงานการมัธยมศึกษา เปนเลขานุการของคณะกรรมการตามวรรคหนึ่ง และดําเนินงานโดยทั่วไปของสํานักงานการมัธยมศึกษา ทั้งนี้ ตามที่กําหนดในกฎหมายวาดวยระเบียบบริหาร ราชการกระทรวงศึกษาธิการ คุณสมบัติ หลักเกณฑ วิธีการไดมา วาระการดํารงตําแหนง การพนจากตําแหนงของ กรรมการผูทรงคุณวุฒิตาม (๒) และกรรมการผูแทนตาม (๓) และการดําเนินงานของคณะกรรมการตามวรรค หนึ่ง ใหเปนไปตามกฎหมายวาดวยระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ มาตรา ๔๑ ใหคณะกรรมการการมัธยมศึกษา มีอํานาจหนาที่ (๑) เสนอแนะนโยบายการศึกษามัธยมศึกษาตอสภานโยบายและพัฒนาการศึกษาแหงชาติ (๒) เสนอแนะการจัดทําหลักสูตรมัธยมศึกษา (๓) ติดตาม ตรวจสอบการดําเนินการจัดการศึกษามัธยมศึกษาใหเปนไปตามนโยบาย การศึกษาของชาติ (๔) เสนอแนะนโยบายการศึกษาพิเศษระดับมัธยมศึกษา (๕) พิจารณาใหความเห็นชอบการแตงตั้ง โยกยาย ขาราชการ พนักงาน และเจาหนาที่ของ สํานักงานการมัธยมศึกษา และของโรงเรียนและสถานศึกษาในสังกัดที่ยังไมไดถายโอนไปองคกรปกครองสวน ทองถิ่น (๖) กํากับ ดูแลการปฏิบัติตามมาตรฐานและจรรยาบรรณของวิชาชีพของครู และบุคลากร ทางการศึกษาของสํานักงานการมัธยมศึกษา สถานศึกษาทั้งของรัฐ เอกชน และองคกรปกครองสวนทองถิ่น (๗) พิจารณาการอนุญาตการจัดตั้งโรงเรียนและสถานศึกษาเอกชนและองคกรปกครองสวน ทองถิ่นในขั้นมัธยมศึกษา ตลอดจนการพักใชใบอนุญาต และเพิกถอนใบอนุญาต (๘) กํากับ ดูแลการปฏิบัติงานของสํานักงานการศึกษามัธยมศึกษา สถานศึกษาทั้งของรัฐ เอกชน และองคกรปกครองสวนทองถิ่น (๙) กําหนดกฎและหลักเกณฑที่จําเปนในการบริหารการศึกษามัธยมศึกษา มาตรา ๔๒ ใหมีคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ประกอบดวย (๑) กรรมการสภานโยบายและพัฒนาการศึกษาแหงชาติผูทรงคุณวุฒิ เปนประธานกรรมการ
  • 15. -๑๕- (๒) กรรมการผูทรงคุณวุฒิดานมัธยมศึกษา ดานอาชีวศึกษา ดานการศึกษาพิเศษ ดาน การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และดานกฎหมาย จํานวนดานละหนึ่งคน (๓) กรรมการผูแทนองคกรปกครองสวนทองถิ่น จํานวนหนึ่งคน (๔) กรรมการผูแทนครูอาจารยระดับอาชีวศึกษาจากสถานศึกษาของรัฐ จํานวนหนึ่งคน (๕) กรรมการผูแทนครูอาจารยระดับอาชีวศึกษาจากสถานศึกษาของเอกชน จํานวนหนึ่งคน ใหมีเลขาธิการสํานักงานการอาชีวศึกษา เปนเลขานุการของคณะกรรมการตามวรรคหนึ่ง และดําเนินงานโดยทั่วไปของสํานักงานการอาชีวศึกษา ทั้งนี้ ตามที่กําหนดในกฎหมายวาดวยระเบียบบริหาร ราชการกระทรวงศึกษาธิการ คุณสมบัติ หลักเกณฑ วิธีการไดมา วาระการดํารงตําแหนง การพนจากตําแหนงของ กรรมการผูทรงคุณวุฒิตาม (๒) และกรรมการผูแทนตาม (๓) และการดําเนินงานของคณะกรรมการตามวรรค หนึ่ง ใหเปนไปตามกฎหมายวาดวยระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ มาตรา ๔๓ ใหคณะกรรมการการอาชีวศึกษา มีอํานาจหนาที่ (๑) เสนอแนะนโยบายการศึกษาอาชีวศึกษาตอสภานโยบายและพัฒนาการศึกษาแหงชาติ (๒) เสนอแนะการจัดทําหลักสูตรอาชีวศึกษา (๓) ติดตาม ตรวจสอบการดําเนินการจัดการศึกษาอาชีวศึกษาใหเปนไปตามนโยบายการศึกษา ของชาติ (๔) เสนอแนะนโยบายการศึกษาพิเศษระดับอาชีวศึกษา (๕) พิจารณาใหความเห็นชอบการแตงตั้ง โยกยาย ขาราชการ พนักงาน และเจาหนาที่ของ สํานักงานการอาชีวศึกษา และของโรงเรียนและสถานศึกษาในสังกัดที่ยังไมไดถายโอนไปองคกรปกครองสวน ทองถิ่น (๖) กํากับ ดูแลการปฏิบัติตามมาตรฐานและจรรยาบรรณของวิชาชีพของครู และบุคลากร ทางการศึกษาของสํานักงานการอาชีวศึกษา สถานศึกษาทั้งของรัฐ เอกชน และองคกรปกครองสวนทองถิ่น (๗) พิจารณาการอนุญาตการจัดตั้งโรงเรียนและสถานศึกษาเอกชนและองคกรปกครองสวน ทองถิ่นในขั้นอาชีวศึกษา ตลอดจนการพักใชใบอนุญาต และเพิกถอนใบอนุญาต (๘) กํากับ ดูแลการปฏิบัติงานของสํานักงานการศึกษาอาชีวศึกษา สถานศึกษาทั้งของรัฐเอกชน และองคกรปกครองสวนทองถิ่น (๙) กําหนดกฎและหลักเกณฑที่จําเปนในการบริหารการศึกษาอาชีวศึกษา มาตรา ๔๔ ใหมีคณะกรรมการการอุดมศึกษา ประกอบดวย (๑) กรรมการสภานโยบายและพัฒนาการศึกษาแหงชาติผูทรงคุณวุฒิ เปนประธานกรรมการ
  • 16. -๑๖- (๒) กรรมการผูทรงคุณวุฒิดานการอุดมศึกษา ดานอาชีวศึกษา ดานการศึกษาพิเศษ ดาน การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ดานสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร ดานวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยี ดานวิทยาศาสตรสุขภาพ และดานกฎหมาย จํานวนดานละหนึ่งคน (๓) กรรมการผูแทนจากผูบริหารสถาบันอุดมศึกษาซึ่งเลือกกันเอง กลุมละหนึ่งคน ประกอบดวย (ก) ผูแทนจากที่ประชุมอธิการบดีมหาวิทยาลัยของรัฐ (ข) ผูแทนจากที่ประชุมอธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคล (ค) ผูแทนจากที่ประชุมอธิการบดีสถาบันอุดมศึกษาเอกชน (๔) กรรมการผูแทนอาจารยจากกลุมมหาวิทยาลัยของรัฐ กลุมมหาวิทยาลัยราชภัฏและ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล และกลุมสถาบันอุดมศึกษาเอกชน กลุมละหนึ่งคน ใหมีเลขาธิการสํานักงานการอุดมศึกษา เปนเลขานุการของคณะกรรมการตามวรรคหนึ่ง และดําเนินงานโดยทั่วไปของสํานักงานการอุดมศึกษา ทั้งนี้ ตามที่กําหนดในกฎหมายวาดวยระเบียบบริหาร ราชการกระทรวงศึกษาธิการ การเลือกกรรมการตาม (๓) และ (๔) ใหเปนไปตามกฎหมายวาดวยระเบียบบริหารราชการ กระทรวงศึกษาธิการ มาตรา ๔๕ ใหคณะกรรมการการอุดมศึกษา มีอํานาจหนาที่ (๑) เสนอแนะนโยบายการศึกษาอุดมศึกษาตอสภานโยบายและพัฒนาการศึกษาแหงชาติ (๒) เสนอแนะการจัดทําหลักสูตรอุดมศึกษา (๓) ติดตาม ตรวจสอบการดําเนินการจัดการศึกษาอุดมศึกษาใหเปนไปตามนโยบายการศึกษา ของชาติ (๔) เสนอแนะนโยบายการศึกษาพิเศษระดับอุดมศึกษา (๕) พิจารณาใหความเห็นชอบการแตงตั้ง โยกยาย ขาราชการ พนักงาน และเจาหนาที่ของ สํานักงานการอุดมศึกษา (๖) กํากับ ดูแลการปฏิบัติตามมาตรฐานและจรรยาบรรณของวิชาชีพของคณาจารย และ บุคลากรทางการศึกษาของสํานักงานการอุดมศึกษา สถานศึกษาทั้งของรัฐ เอกชน และองคกรปกครองสวน ทองถิ่น (๗) พิจารณาเหตุผลและความจําเปนในการจัดตั้งมหาวิทยาลัยและสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ เพื่อเสนอตอคณะรัฐมนตรี (๘) พิจารณาการอนุญาตการจัดตั้งสถาบันอุดมศึกษาของเอกชน ตลอดจนการพักใชใบอนุญาต และเพิกถอนใบอนุญาต
  • 17. -๑๗- (๙) กํากับ ดูแลการปฏิบัติงานของสํานักงานการอุดมศึกษา มหาวิทยาลัย สถาบันอุดมศึกษา ทั้งของรัฐ เอกชน และองคกรปกครองสวนทองถิ่น (๑๐) กําหนดกฎและหลักเกณฑที่จําเปนในการบริหารการศึกษาอุดมศึกษา มาตรา ๔๖ ใหมีคณะกรรมการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ประกอบดวย (๑) กรรมการสภานโยบายและพัฒนาการศึกษาแหงชาติผูทรงคุณวุฒิ เปนประธานกรรมการ (๒) กรรมการผูทรงคุณวุฒิดานการศึกษาปฐมวัยและประถมศึกษา ดานมัธยมศึกษา ดาน อาชีวศึกษา ดานการอุดมศึกษา ดานการศึกษาพิเศษ ดานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และ ดานกฎหมาย จํานวนดานละหนึ่งคน (๓) กรรมการผูแทนองคกรปกครองสวนทองถิ่น จํานวนหนึ่งคน (๔) กรรมการผูแทนเครือขายภาคเอกชนที่จัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จํานวนสองคน ใหมีเลขาธิการสํานักงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เปนเลขานุการ ของคณะกรรมการตามวรรคหนึ่ง และดําเนินงานโดยทั่วไปของสํานักงานการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย ทั้งนี้ ตามที่กําหนดในกฎหมายวาดวยระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ คุณสมบัติ หลักเกณฑ วิธีการไดมา วาระการดํารงตําแหนง การพนจากตําแหนงของ กรรมการผูทรงคุณวุฒิตาม (๒) และกรรมการผูแทนตาม (๓) และการดําเนินงานของคณะกรรมการตามวรรค หนึ่ง ใหเปนไปตามกฎหมายวาดวยระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ มาตรา ๔๗ ใหคณะกรรมการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย มีอํานาจ หนาที่ (๑) เสนอแนะนโยบายการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยตอสภานโยบายและ พัฒนาการศึกษาแหงชาติ (๒) เสนอแนะการจัดทําหลักสูตรการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (๓) ติดตาม ตรวจสอบการดําเนินการจัดการศึกษาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยใหเปนไปตามนโยบายการศึกษาของชาติ (๔) พิจารณาใหความเห็นชอบการแตงตั้ง โยกยาย ขาราชการ พนักงาน และเจาหนาที่ของ สํานักงานการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (๕) พิจารณาการอนุญาตการจัดการเรียนการสอนการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยของเอกชนและองคกรปกครองสวนทองถิ่น ตลอดจนการพักใชใบอนุญาต และเพิกถอนใบอนุญาต (๖) กํากับ ดูแลการปฏิบัติงานของสํานักงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
  • 18. -๑๘- (๗) กําหนดกฎและหลักเกณฑที่จําเปนในการบริหารการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัย มาตรา ๔๘ ใหสถานศึกษาของรัฐที่จัดการศึกษาระดับปริญญาเปนนิติบุคคล และอาจจัดเปน สวนราชการหรือเปนหนวยงานในกํากับของรัฐ ยกเวนสถานศึกษาเฉพาะทางตามมาตรา ๒๕ ใหสถานศึกษาดังกลาวดําเนินกิจการไดโดยอิสระ สามารถพัฒนาระบบบริหาร และการ จัดการที่เปนของตนเอง มีความคลองตัว มีเสรีภาพทางวิชาการ โดยสอดคลองกับนโยบายการศึกษาแหงขาติ และอยูภายใตการกํากับดูแลของสภาสถานศึกษา ตามกฎหมายวาดวยการจัดตั้งสถานศึกษานั้น ๆ มาตรา ๔๙ การกํากับดูแลการจัดการศึกษาของภาคเอกชน และองคกรปกครองสวนทองถิ่น ในแตละจังหวัด ใหอยูในอํานาจหนาที่ของสํานักงานการศึกษาปฐมวัยและประถมศึกษา สํานักงานการ มัธยมศึกษา และสํานักงานการอาชีวศึกษา แลวแตกรณี ทั้งนี้ ตามที่บัญญัติไวในกฎหมายวาดวยระเบียบ บริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ มาตรา ๕๐ ในการจัดการศึกษาระดับปฐมวัย ประถมศึกษา มัธยมศึกษา หรืออาชีวศึกษา แลวแตกรณี ใหมีคณะกรรมการสถานศึกษาแตละสถานศึกษา เพื่อทําหนาที่กําหนดนโยบายกํากับและสงเสริม สนับสนุนกิจการของสถานศึกษา ใหความเห็นชอบแผนพัฒนาสถานศึกษา และใหความเห็นชอบหลักสูตร สถานศึกษาที่ผูบริหารสถานศึกษานั้นจัดทําขึ้นตามที่กําหนดในมาตรา ๖๗ ใหคณะกรรมการสถานศึกษาตามวรรคหนึ่ง ประกอบดวย ผูแทนผูปกครอง ผูแทนครู ผูแทน องคกรชุมชน ผูแทนองคกรปกครองสวนทองถิ่น ผูแทนศิษยเกาของสถานศึกษา ผูแทนพระภิกษุสงฆและหรือ ผูแทนองคกรศาสนาอื่นในพื้นที่ และผูทรงคุณวุฒิในทองถิ่น โดยสถานศึกษาที่มีการจัดการศึกษาระดับ อาชีวศึกษาอาจมีกรรมการเพิ่มขึ้นได ทั้งนี้ ตามที่บัญญัติไวในกฎหมายวาดวยการจัดการและบริหารการศึกษา ขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ใหกรรมการสถานศึกษาคัดเลือกกรรมการคนใดคนหนึ่ง เปนเลขานุการของคณะกรรมการ สถานศึกษา โดยใหผูบริหารสถานศึกษานั้นเปนผูชวยเลขานุการ ในกรณีที่เปนสถานศึกษาขนาดเล็ก ซึ่งไมอาจมีองคประกอบของคณะกรรมการสถานศึกษา ตามที่กําหนดในวรรคสองได ใหคณะกรรมการสถานศึกษาของสถานศึกษานั้นมีองคประกอบตามเทาที่มีอยูใน เขตพื้นที่นั้น หรือในกรณีที่มีความประสงคใชคณะกรรมการสถานศึกษารวมกันกับสถานศึกษาขนาดเล็กอื่น ใหหนวยงานภูมิภาคของสํานักงานการศึกษาปฐมวัยและประถมศึกษา สํานักงานการมัธยมศึกษา และ สํานักงานการอาชีวศึกษาในพื้นที่นั้น แลวแตกรณี จัดใหมีคณะกรรมการสถานศึกษารวมกันได แตตองมี จํานวนสถานศึกษาที่มีคณะกรรมการสถานศึกษารวมกันไดไมเกินสามแหง ความในมาตรานี้ไมใชบังคับแกสถานศึกษาตามมาตรา ๒๑ (๑) และ (๓)