SlideShare a Scribd company logo
Israel Anti-Drug Authority
การจัดบริการทางเทคนิคการแพทย์
ด้านสารเสพติดที่สาคัญ
ทนพ.ประภพ ด่าน
เศรษฐกุล
ผู้จัดการฝ
่ ายผลิตภัณฑ์ บริษัทดับเบิ้ลเอสไดแอกนอสติกส์ จากัด
ผู้ทรงคุณวุฒิด้านเครื่องมือแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
กรรมการบริหารสมาคมชีวเคมีคลินิกประเทศไทย (TACB)
ประสบการณ์ที่ผ่านมา
• หัวหน้าสานักงาน สภาเทคนิคการแพทย์
• เลขาธิการ สมาคมเทคนิคการแพทย์แห่งประเทศไทย ในพระอุปถัมภ์ฯ
• อาจารย์ประจาภาควิชาเคมีคลินิก คณะเทคนิคการแพทย์ ม.มหิดล
1
MT
Professional
Service
• Clinical
Microscopy
ประภพ ด่านเศรษฐกุล
• Clinical
Chemistry
• Clinical
Microbiology
• Molecular
Biology
• Toxicology
• TDM
• Drug of abuse
: DOAs
The main goals of MT professional
service is to providing accurate
laboratory results that enhance care
while minimizing risk and support
decisions.
• Hematology
• Transfusion
Science
• Legal
• Criminal
• Justice
• Medicare
2
สารเสพติดตามคาจากัดความขององค์การ
อนามัยโลก
(World Health Organization: WHO)
 เพิ่มปริมาณของสารขึ้นเพื่อให้เกิดอาการมึนเมา สนุกสนาน มีพละกาลัง
 เมื่อหยุดการใช้สารนั้น จะเกิดอาการขาดสาร อ่อนเพลีย นอนไม่หลับ อารมณ์เศร้า
 เสพสารปริมาณมากติดต่อเป็นเวลานาน เกิดความเคยชิน และหลงใหล
 มีความบกพร่องในหน้าที่การงาน เช่น พยายามหาสารมาเสพ ไม่รับผิดชอบ ไม่สนใจงาน
 ยังคงเสพต่อเนื่อง แม้จะทราบว่าเกิดปัญหาทั้งทางร่างกาย จิตใจ และ ผิดกฎหมาย
สิ่งที่เสพเข้าไปแล้วจะเกิดความต้องการทั้งทาง
ร่างกายและจิตใจต่อไป โดย ไม่สามารถหยุด
เสพได้ และจะต้องเพิ่มปริมาณมากขึ้นเรื่อยๆ จน
ในที่สุดจะทาให้เกิดอาการผิดปกติ โรคภัยไข้เจ็บ
ต่อร่างกาย และจิตใจขึ้น
ประภพ ด่านเศรษฐกุล 3
สารเคมีหรือวัตถุชนิดใดๆ ซึ่งเมื่อเสพเข้าสู่ร่างกายไม่ว่า
จะโดยรับประทาน ดม สูบ ฉีด หรือด้วยประการใดๆ แล้ว
ทาให้เกิดผลต่อร่างกายและจิตใจ
สารเสพติด (Drug abuse) ตามคาจากัดความของ
ประเทศไทย
พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พุทธศักราช
2522
ต้องการเสพ
(Need to addict)
เพิ่มปริมาณ
(increase over
dose) (Tolerance)
สุขภาพทรุดโทรม โรคแทรกซ้อน
อาการทางประสาทจิต
(Complications with psychological
effects
อาการขาดยา หรืออยาก
ยา
(Withdrawal
symptoms/
want to use drug
abuse/drug
dependence)
ประภพ ด่านเศรษฐกุล 4
ประเภทของสารเสพติด (Type
of Drug abuse)
ประเภทที่ 1 ยาเสพติดชนิดให้โทษชนิดร้ายแรง เช่น เฮโรอีน แอลเอสดี แอมเฟตา
มีน ยาอี
ประเภทที่ 2 ยาเสพติดประเภทนี้สามารถนามาใช้เพื่อประโยชน์ทาง
การแพทย์ได้แต่ต้องใช้ภายใต้การควบคุมของแพทย์และใช้เฉพาะ
กรณีที่จาเป็ นเท่านั้น เช่น ฝิ่น มอร์ฟีน โคเคน/โคคาอีน/โคเคอีน และเมทาโดน
ประเภทที่ 3 ยาเสพติดประเภทนี้เป็ นยาเสพติดให้โทษที่มียาเสพติด
ประเภทที่ 2 ผสมอยู่ด้วย มีประโยชน์ทางการแพทย์ การนาไปใช้เพื่อ
จุดประสงค์อื่นหรือเพื่อเสพติด จะมีบทลงโทษกากับไว้ ยาเสพติดประเภทนี้ได้แก่
ยาแก้ไอที่มีตัวยาโคเคอีน, ยาแก้ท้องเสียที่มีฝิ่นผสมอยู่, และยาฉีดระงับปวดต่างๆ เช่น มอร์ฟีน เพทิดีน
(Pethidine) ซึ่งสกัดมาจากฝิ่น
ประเภทที่ 4 สารเคมีที่ใช้ในการผลิตยาเสพติดให้โทษ ประเภทที่ 1 หรือ
ประเภทที่ 2 ยาเสพติดประเภทนี้ไม่มีการนามาใช้ประโยชน์ในการ
บาบัดโรคแต่อย่างใด และมีบทลงโทษกากับไว้ด้วย ได้แก่ น้ายาอะเซติคแอนไฮไดรย์
(Acetic anhydride) และ อะเซติลคลอไรด์ (Acetyl chloride) ซึ่งใช้ในการเปลี่ยน
มอร์ฟีนเป็นเฮโรอีน, และสารคลอซูโดอีเฟครีน (Chlo-pseudoephedrine) สามารถใช้ในการ
ผลิตยาบ้าได้ (สารเคมีที่ใช้ในการผลิตยาเสพติดให้โทษประเภท 1 หรือ 2)
พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522
ประภพ ด่านเศรษฐกุล 5
1. ฤทธิ์กดประสาท
(Depressants)
2. ฤทธิ์กระตุ้นประสาท
(Stimulants)
3. ฤทธิ์หลอนประสาท
(Hallucinations)
ประภพ ด่านเศรษฐกุล
สารเสพติดทางการแพทย์ แบ่งตามอาการและ
การออกฤทธิ์
(Medicine, symptoms and actions)
6
 ประเภทกดประสาท
(Depressants/Narcotics)
ฝิ่ น (opium) มอร ์ฟี น (Morphine) เฮโรอีน (Heroin)
ยานอนหลับ (Hypnotic) ยากล่อมประสาท/ยาคลาย
เครียด (Tranquilizers) บาร ์บิทูเรต (Barbiturate)
เครื่องดื่มมึนเมา (Alcohol) และสารระเหยต่างๆ (Volatile
Solvents) เช่น ทินเนอร ์(Thinner) น้ามัน
เบนซิน (Benzene)
Symptoms: thin, weakness, muddle, groggy, mad,
induce sleep, depress bodily function, slow down
the functions of the CNS
อาการ ร่างกายซูบซีด ผอมเหลือง อ่อนเพลีย ฟุ้ งซ่าน
มึนงง อาการคลุ้มคลั่ง เป็ นต้น
 ประเภทกระตุ้นประสาท (Stimulants)
ยาบ้า (Amphetamine) ยาอี (Ecstasy) กระท่อม
(Kratom) โคเคน (Cocaine) เครื่องดื่มคาเฟอีน
(Caffeine) เป็ นต้น
Symptoms: Excitation, not sleepy (insomnia),
ประภพ ด่านเศรษฐกุล 7
 ประเภทหลอนประสาท (Hallucinations)
กัญชา (Cannabis/Marijuana) แอลเอสดี (LSD:
Lysergic Acid Diethylamide) เห็ดขี้ควาย (Magic
mushroom/Buffalo dung Mushroom) เป็ นต้น
Symptom: hallucination, hearing things,
seeing the strange and scary pictures or
amazing pictures (mirage)
อาการ ประสาทหลอน หูแว่ว เห็นภาพแปลกๆ
น่ากลัว หรือภาพสวยงามวิจิตรพิสดาร ในที่สุดมัก
ป่ วยเป็ นโรคจิต
 ประเภทออกฤทธิ์ผสมผสาน (Mixed
actions)
กัญชา (Cannabis/Marijuana): กระตุ้นประสาท
กด และ หลอนประสาท
Symptom: euphoria, hallucination, mirage,
hearing things, confusion, psychological
Psilocybecubensis
เห็ดโอสถลวงจิต
ประภพ ด่านเศรษฐกุล 8
‘ยาบ้า’ ยังเป็นยาเสพติดที่ได้รับความนิยมสูงสุดในไทย รองลงมาคือกัญชา พืชกระท่อม ไอซ์
และเฮโรอีน และที่ต้องเฝ้าระวังอย่างใกล้ชิด คือ คีตามีน ที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจากในอดีต โดย
ประชากรที่เข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติดส่วนใหญ่ร้อยละ 40 ยังอยู่ในกลุ่มอายุ 15-19 ปี ร้อยละ 70
ของผู้เข้าไปเกี่ยวข้องมีอาชีพรับจ้าง แรงงาน และเกษตรกร
ข้อมูลจาก คาสั่งศูนย์อานวยการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดแห่งชาติที่ 3/2561 เรื่อง แผนป้องกันและแก้ไข
ปัญหายาเสพติดเร่งด่วนปี 2561 (มีนาคม- กันยายน 2561)
ประภพ ด่านเศรษฐกุล 9
ประภพ ด่านเศรษฐกุล 10
ประภพ ด่านเศรษฐกุล 11
ผู้รับบริการ…มาจากไหน
1. พนักงานใหม่ และพนักงานเดิมในองค์กร
2. นักกีฬา ในการแข่งขันกีฬาสากล
3. ผู้ต้องสงสัย ผู้มีเหตุให้สงสัย
4. ผู้ต้องการทาประกันชีวิต ประกันภัย
5. ผู้ที่ได้รับการบาบัดโดยคาสั่งศาล หรือโดยสมัครใจ
6. ผู้ที่ได้รับการรักษาทางการแพทย์
7. ผู้เข้ารับการศึกษาในวิชาชีพเฉพาะ
8. ผู้ประสงค์บวช
9. ผู้ปกครองที่ดูแลลูกหลาน
10. นักเรียนในโรงเรียน
ประภพ ด่านเศรษฐกุล 12
“Substance Abuse and Mental Health
Services Administration: SAMHSA panel”
Common Name/Street Name Parent Drug / Metabolite Cutoff (ng/mL)
Meth
d-Methamphetamine/
d-Amphetamine
500 (1000)
Marijuana (Pot)
THCA (11-nor-Δ
9
-THC-
COOH)
50
Cocaine (Coke)
Cocaine metabolite
(Benzoylecgonine)
150
Opiates Codeine / Morphine 2000
PCP Phencyclidine 25
Heroin 6-Acetylmorphine (6-AM) 10
Ecstasy MDMA/MDA 500
Vicodin® / Dilaudid®
(New to SAMHSA)
Hydrocodone /
Hydromorphone
300
OxyContin®
(New to SAMHSA)
Oxycodone /
Oxymorphone
100
ประภพ ด่านเศรษฐกุล 13
ค่าเกณฑ์ตัดสินผลบวก (cut-off)
หมายถึงปริมาณต่าสุดของสารเสพติดในปัสสาวะที่กฏหมายกาหนด
และใช้เป็นเกณฑ์ตัดสินว่ามีสารเสพติดอยู่ในปัสสาวะหรือไม่
ประภพ ด่านเศรษฐกุล
ประกาศคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดเรื่องกาหนดหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขการตรวจหรือทดสอบว่าบุคคลหรือกลุ่มบุคคลใดมีสารเสพติดอยู่ในร่างกายหรือไม่พ.ศ.
2543
14
ประภพ ด่านเศรษฐกุล 15
เทคนิคการแพทย์ สนับสนุนการตรวจวิเคราะห์ด้านสารเสพติด
จัดหา Markers / Tests / Method และ Technology
ในการทดสอบแสดงผลที่มีคุณภาพ เพื่อเป็นข้อมูลประกอบ
•การวินิจฉัย การรักษา การติดตาม
•การดาเนินการทางกฎหมาย
•การจัดการของสถานประกอบการ/ โรงเรียน/ วัด/ ครอบครัว
ประภพ ด่านเศรษฐกุล 16
ตัวอย่างการจัดกระบวนการ
บริการทดสอบ DOAs
ประภพ ด่านเศรษฐกุล
มี
แบบฟอร ์ม
เฉพาะงาน
มีการฝึ ก
จนท.ผู้
จัดเก็บ Sp.
การ
รายงาน
ผล
เฉพาะ
ผู้เกี่ยวข้
อง
การ
วิเคราะห์
อย่างมี
ประสิทธิ
ภาพ
การรายงานผล
เฉพาะผู้เกี่ยวข้อง
และการอธิบาย
ทางห้องปฏิบัติการ
เพื่อการใช้
ประโยชน์ในผล
การทดสอบ เพื่อ
การป้ องปราม/
ติดตามผล
https://www.alliance2020.com/services/drug-testing/#1446545054170-61f82c07-eff6
17
Internatio
nal
guideline.
ประภพ ด่านเศรษฐกุล 18
• การตรวจปัสสาวะ เป็นวิธีพื้นฐานที่ดีที่สุดและเป็นที่ยอมรับใน
กระบวนการยุติธรรมในระดับสากล สาเหตุที่ใช้วิธีการตรวจ
ปัสสาวะนั้นเป็นเพราะว่า เมื่อสารเสพติดเข้าสู่ร่างกายไม่ว่าจะ
ด้วยการกิน ฉีด สูบหรือสูดดมควัน สารเสพติดจะดูดซึมเข้าสู่
กระแสเลือด และอยู่ในเลือดประมาณ 2-3 ชั่วโมง จากนั้นจะถูก
ขับออกทางปัสสาวะ และตกค้างอยู่ในปัสสาวะระยะหนึ่ง ขึ้นอยู่
กับปริมาณที่ใช้ ความถี่ ชนิดของสารเสพติด รวมทั้งสภาวะ
ร่างกายของแต่ละคน
• หากเสพไม่ประจา สามารถตรวจพบได้หลังการเสพ 1-3 วัน
• ผู้เสพประจา จะมีโอกาสตรวจพบได้หลังเสพ 2-6 วัน
• ผู้เสพเรื้อรังอาจตรวจพบได้หลังจากการเสพถึง 2-3 สัปดาห์
ประภพ ด่านเศรษฐกุล 19
ชนิดสิ่งส่งตรวจ และคุณภาพของการทดสอบ
ประภพ ด่านเศรษฐกุล A Publication of Warde Medical Laboratory 2011
Volume 22, Number 2 “Quality in Laboratory Diagnosis”
20
ประภพ ด่านเศรษฐกุล
https://captivalab.com/blog/how-long-do-drugs-stay-in-urine/
21
ประภพ ด่านเศรษฐกุล 22
ความเชื่อมั่นในบริการที่เกินคาดหมาย
ประภพ ด่านเศรษฐกุล
ผู้รับบริการ
1. การทดสอบมีครบตามมาตรฐานเกณฑ์กาหนดสากล (SAMHSA)
2. วิธีการทดสอบเป็นไปตามกฎหมายประเทศไทยกาหนด (Immunoassay)
3. ผลการทดสอบมีความน่าเชื่อถือ ให้ความเชื่อมั่นสูง
1) บอกได้ว่าสิ่งส่งตรวจใช่ปัสสาวะหรือไม่ และ/หรือมีการปลอมปน ปนเปื้อน เจือจางมาหรือไม่
2) แสดงค่าผลบวก หรือ ลบ ชัดเจน (Qualitative) พร้อมแสดงค่าระดับของสาร (Semiquantitative)
3) ยังไม่พบผลบวกลวง (False positive) ลบลวง (False negative)
4) มีการควบคุมคุณภาพตามมาตรฐานการบริการ ผลการทดสอบสามารถแสดงย้อนหลังได้
4. ผลการทดสอบใช้ประโยชน์ได้
1) คัดกรอง (แยกกลุ่มปกติ เสี่ยง เสพ >>> ลบมีค่าเป็น 0)
2) ป้องปราม (กากับ ติดตามความเสี่ยง >>> ลบมีค่าต่ากว่า cut-off )
3) ติดตามผล (การบาบัด หรือตามมาตรการในสถานประกอบการ >>> จนได้ลบค่าเป็น 0)
MEDICAL TECHNOLOGY
LABORATORY SERVICE
23
เทคนิคการแพทย์ บริการทางวิชาชีพอะไร
ในกลุ่มไหน....
• การตรวจคัดกรองเบื้องต้น (Qualitative-rapid diagnostic test screening)
• Lateral-flow chromatography
• การคัดกรองเชิงคุณภาพ กึ่งปริมาณ (Qualitative and Semi
quantitative screening)
• Automate Immunoassay
• การตรวจยืนยัน (Confirmatory test/ Standard method)
• LC-MS/MS, GC-MS/MS
ประภพ ด่านเศรษฐกุล 24
Confirmatory methods: Gas liquid chromatography,
High performance liquid chromatography and
Gas chromatography/mass spectrometry (GC/MS)
(the gold standard for drug detection
Qualitative and Semi quantitative screening method for drug detection:
Homogeneous competitive immunoassay
in solution is a screening test used with most substances.
DRI, KIMS, CEDIA, EMIT, FPIA
Qualitative screening method for drug detection:
Lateral flow immuno-assay (LFIA) or rapid diagnostic test (RDT),
Thin-layer chromatography (TLC)
ประภพ ด่านเศรษฐกุล
การวิเคราะห์/ตรวจ
สารเสพติด
(Drug abuse
determination)
25
 การตรวจคัดกรอง
Screening test- Semi Quantitative : Approx numeric
- Qualitative : Positive/Negative
1.1 Chromatography
TLC (Thin layer chromatography)
Lateral flow immuno-assay (LFIA) or rapid diagnostic
test (RDT)
1.2 Immunoassay
LAI (Latex Agglutination Inhibition)
RIA (Radioimmunoassay)
DRI (Diagnostic Reagent Immunoassay)
EMIT (Enzyme Multiply Immunoassay Technique)
FPIA (Fluorescence Polarization Immunoassay
Technique)
CEDIA (Cloned Enzyme Donor Immunoassay
Technique)
KIMS (Kinetic Interaction of Microparticles in solution)
GLORIA (Gold labeled Optically Read Rapid
Immunoassay Technique)
 การตรวจยืนยัน
การวิเคราะห์/ตรวจสารเสพติด (Drug abuse determination)
ประภพ ด่านเศรษฐกุล 26
Various Types of Commercial DAU
Immunoassay Techniques Using
Homogeneous Assay Format
ประภพ ด่านเศรษฐกุล 27
Technology ที่ “เทคนิคการแพทย์” เลือกใช้....
ประเภทบริการ ข้อดี ข้อจากัด
Basic screening
Qualitative screening method
(Rapid Diagnostic Tests :
Lateral-flow chromatography)
• ให้ผลได้รวดเร็ว
• ใช้ง่าย-สะดวก
• ไม่ต้องการความสามารถในการ
ดาเนินการมากนัก
• ต้องการพื้นที่ในการทดสอบน้อย
• ไม่มีการบารุงรักษา
• ผลการทดสอบบอกได้เชิงคุณภาพเท่านั้น
• ความจาเพาะไม่ดี ถูกรบกวนจากสารอนุพันธ์/
การปนเปื้อน/ การปลอมปนได้ง่าย
• มีประกันคุณภาพ เฉพาะชุดทดสอบนั้นเท่านั้น
• ไม่มีสารควบคุมคุณภาพ
• ผลการทดสอบทวนย้อนกลับไม่ได้
• มีอัตราผลบวกลวง/ลบลวงที่สูง
• ผลการทดสอบไม่ชัดเจนแน่นอนส่งผลต่อต้นทุน
ที่เพิ่มขึ้น
Confirmatory test
Standard method
(LC-MS/MS, GC-MS/MS)
• บอกได้ชัดเจนว่ามีสารที่ต้องการอยู่
หรือไม่/ปริมาณเท่าไร
• มีความจาเพาะ และความไวสูง
• ผลการวิเคราะห์ออกจากเครื่อง
สามารถสอบทวนย้อนกลับได้
• มีการควบคุมคุณภาพ โดยมีสาร
มาตรฐานและสารควบคุมคุณภาพ
• มีอัตราผลบวกลวง/ลบลวงต่ามาก
• ผลการทดสอบสามารถใช้อ้างอิงทาง
กฎหมายได้
• เครื่องมือมีราคาสูง
• อุปกรณ์/น้ายา มีความจาเพาะในการใช้
• ต้องการพื้นที่ในการติดตั้ง
• ขั้นตอนการดาเนินการมีความซับซ้อน
• ต้องการผู้ที่มีทักษะความรู้/ความชานาญเฉพาะ
• ต้นทุนต่อการทดสอบสูง
• ค่าการบารุงรักษาสูง
ประภพ ด่านเศรษฐกุล 28
Lateral flow immunoassay
เจือปน (substitution)
ปลอมปน (adulteration)
ประภพ ด่านเศรษฐกุล 29
ประเภทบริการ ข้อดี ข้อจากัด
Basic screening: RDTs, TLC
New platform of
screening:
Qualitative and
Semiquantitative
immunoassay
• วิเคราะห์บนเครื่องวิเคราะห์อัตโนมัติ
• รายการทดสอบสั่งทาได้ครบถ้วน
ครอบคลุมมาตรฐาน SAMSHSA และ
ความต้องการในครั้งเดียว
• มีระบบตรวจสอบคุณภาพสิ่งส่งตรวจ
กันการปนเปื้อน/ การปลอมปนได้
• ใช้ตัวอย่างทดสอบปริมาณน้อย-
ระดับไมโครลิตร
• มีระบบการควบคุมคุณภาพ โดยใช้
QCM
• น้ายาวิเคราะห์เป็ นแบบ Liquid
ready-to-use ลดเวลาการเตรียม
น้ายา
• เทคนิควิเคราะห์ใช้เทคนิคแสดงผล
ปฏิกิริยาที่แม่นยา turbidity,
colorimetry, fluorescence-
polarization
• ใช้ specific monoclonal antibody
ที่มีความจาเพาะต่อ parent และ
major metabolites ของสารเสพติด
ที่ให้ค่าการวิเคราะห์สอดคล้องไปกับ
การตรวจด้วยวิธียืนยัน
• ทาบนเครื่อง
วิเคราะห์อัตโนมัติ
ไม่สามารถขนย้าย
ออกนอกพื้นที่ได้
หรือต้องได้รับการ
ติดตั้งเฉพาะกิจ
• ราคาต้นทุนที่สูง
กว่าการทดสอบ
RDTs, TLC, LFIA
ประภพ ด่านเศรษฐกุล
30
DRITM Technology
Enzyme-labelled Molecules of
the compound to be measured
“ENZ-CONJUGATE”
Diagnostic Reagent Incorporate Enzyme Immunoassay (DRITM) is based
on the competition between a drug or drug enzyme conjugate (glucose-6-
phosphate dehydrogenase:G6PDH) and free drug from the sample for a
fixed amount of specific antibody binding sites.
G6PDH in the presence of Cofactor and Substrate forms NADH.
The NADH absorbs light at 340 nm.
Cofactor
“NAD”
SUBSTRATE
“G6P”
NADH
Monoclonal antibody
specific for molecules
of target analyte
“specific-Ab”
มีสารเป้าหมายเยอะ...เอนไซย์ม ยิ่งทางานดี
เนื่องจากสารเป้าหมายแย่งจับกับแอนตีบอดี
ประภพ ด่านเศรษฐกุล
31
DRITM Technology
Homogeneous competitive enzyme immunoassay
สารเป้าหมายยิ่งเยอะ...เอนไซย์มเหลือเยอะ....ปฏิกิริยายิ่งสูง
ประภพ ด่านเศรษฐกุล 32
DRITM Technology, features and benefits
1. Liquid ready-to-use homogeneous competitive enzyme immunoassay.
2. High analytical accuracy while eliminating time-consuming steps in
reagent preparation.
3. The assay uses bio-engineered specific monoclonal antibodies, not
interfere by endogenous enzyme.
4. Minimal cross-reactivity to various over the counter structurally
unrelated compounds, add excellent sensitivity, linearity, specificity,
precision and accuracy to the mix.
5. Give excellent result acceptance of analyte levels through excellent
correlation to GC/MS.
6. Provide excellent open vial stability via guaranteed consistency: kit to
kit, lot to lot, and year to year
7. All of excellent that has been proven to reduce costs and increase
laboratory productivity without sacrificing quality (close to zero
false positive).
ประภพ ด่านเศรษฐกุล 33
ตัวอย่างการรายงานผลคุณภาพและเชิงคุณภาพ
ชื่อหน่วยงาน
Date ………………………….…. Patient ID ……………………… Patient name ………………………
Sample type …………………… Time …………………………....
ประภพ ด่านเศรษฐกุล
FP
FP
FP
FP
ป้องปราม
เชื่อมั่น
FP 34
Amp + Methamp =
Amphetamine assay
• Both methamphetamine and amphetamines are potent
stimulants by release dopamine surges into the brain, quickly
elevating your blood pressure and heart rate to increase so
speed up the body’s metabolism and raise body
temperature.
• Methamphetamine can release five times more dopamine
than amphetamine this might contribute to the greater
addictiveness and largely abuse than amphetamine.
• More prescription medications, like Adderall, contain
amphetamine and dextroamphetamine, has an important
place as a prescription drug that treats attention deficit
hyperactivity disorder (ADHD).
• These substances have many similarities, methamphetamine
was derived from amphetamines in 1919.
• The European Monitoring Centre for Drugs and Drug
Addiction (EMCDDA) states that there are so many
similarities between the two that, for monitoring purposes,
they are often lumped into one term: amphetamines.
ประภพ ด่านเศรษฐกุล 35
DRITM Amphetamine Assay
• Between 30-54% of an oral dose is excreted in urine
as unchanged meth and 10-23% as unchanged
amphetamine.
• Following an intravenous dose, 45% is excreted as
unchanged meth and 7% amphetamine.
ประภพ ด่านเศรษฐกุล
The National Highway Traffic Safety Administration (NHTSA) 36
ชนิดสารเสพติด
สารสาคัญ
สารเมตาบอไลต์
และ
สารที่ตรวจพบได้
ในปัสสาวะ
ประภพ ด่านเศรษฐกุล 37
DRITM Amphetamine Assay
• Amphetamine are synthetic derivatives of ephedrine.
• The most common amphetamines include
d-amphetamine, d-methamphetamine, and
d,l-amphetamine.
• When amphetamine ingested, it is either rapidly
deactivated in the liver or excreted unchanged into
the urine.
• Other ephedrine derivatives such as,
methamphetamine can be metabolized and excreted
in urine as amphetamine.
ประภพ ด่านเศรษฐกุล 38
ประภพ ด่านเศรษฐกุล
https://www.practicalpainmanagement.com/treatments/pharmacological/non-opioids/methamphetamine-urine-toxicology-depth-review
•The challenge for the laboratory is to differentiate
between the d and the l isomer forms of
methamphetamine. The clinician needs this critical
information because without the d:l-isomer ratio,
the clinician is unable to narrow down the potential
sources of the methamphetamine.
•A positive methamphetamine test could be caused
by use of an OTC product, a prescription drug, or
illicit use (Table1). The laboratory may run up to 3
distinct tests to produce a complete amphetamine
profile.
•The first test is an immunoassay (IA) screening test
for the amphetamine class of medications, which
includes both amphetamines and
methamphetamines.
•If the screening test is positive (a reaction greater
than the cutoff), then a mass spectrometry (MS)
confirmation test is performed to determine which
specific compounds, amphetamine and/or
methamphetamine, are present.
•Once methamphetamine is confirmed positive by
MS, a third test may be performed to ascertain the
ratio between the 2 isomers of methamphetamine.
•The d,l-isomer test also is performed by MS.
Understanding each of the 3 testing steps is
essential to clinical decision making related to
patient care.
39
ประภพ ด่านเศรษฐกุล
J Anal Toxicol. 2014 Oct; 38(8): 524–527.
doi: 10.1093/jat/bku077 40
ประภพ ด่านเศรษฐกุล
https://www.contemporarypediatrics.c
om/pediatrics/urine-drug-screens-
caveats-interpreting-results
41
ประภพ ด่านเศรษฐกุล 42
ประภพ ด่านเศรษฐกุล
https://www.nature.com/articles/s41570-017-0101?draft=collection
https://hms.harvard.edu/news/unraveling-cannabinoids
43
So far, 100+ cannabinoids have been identified,
estimate there to be 560 cannabinoid compounds contained in
the Cannabis genus of plants.
ประภพ ด่านเศรษฐกุล
Some other cannabinoids that scientists have discovered include:
1. THC (tetrahydrocannabinol)
2. THCA (tetrahydrocannabinolic acid)
3. CBD (cannabidiol)
4. CBDA (cannabidiolic acid)
5. CBN (cannabinol)
6. CBC (cannabichromene)
7. CBL (cannabicyclol)
8. CBV (cannabivarin)
9. THCV (tetrahydrocannabivarin)
10. CBDV (cannabidivarin)
11. CBCV (cannabichromevarin)
12. CBGV (cannabigerovarin)
13. CBGM (cannabigerol monomethyl ether)
14. CBE (cannabielsoin)
15. CBT (cannabicitran)
https://www.greencultured.co/what-does-cannabigerol-cbg-cannabinoid-do/
Terpene++
44
ประภพ ด่านเศรษฐกุล
https://bengreenfieldfitness.com/article/supplements-articles/how-to-use-cbd-oil/ 45
• การใช้กัญชาจะมีความเสี่ยงกับการเสพติด (cannabis addiction) โดยอัตราของ
การเสพติดของกัญชา (rate of cannabis addiction) จะอยู่ระหว่าง 8 – 10 % ของ
จานวนผู้เสพกัญชาทั้งหมด สาร delta-9 tetrahydrocannabinol (THC) จะเป็นสาร
หลักที่มีฤทธิ์กระตุ้นประสาท (principal psychoactive phytocannabinoid)
• cannabidiol (CBD) และ delta-9-tetrahydrocannabirarin ( 9-THCV) เป็นสาร
ต้านฤทธิ์การเสพติดที่มีประสิทธิผล (anti-addition efficacy) โดยจะแย่งมิให้
THC จับกับตัวรับ (receptors) CB1 ทาให้ผลการกระตุ้นประสาทของ THC ลดลง
• ผู้ที่สูบกัญชา จะตรวจพบ THC ในพลาสม่า ซึ่งจะมีค่าครึ่งชีวิต (half life) 2 ชั่วโมง
และถ้าสูบต่อเนื่อง 5 – 7 นาที จะตรวจพบปริมาณของ THC เทียบเท่าปริมาณ 10
– 15 มก. และจะพบปริมาณ 9-THC ประมาณ 100 มก./ลิตร ถ้ากินกัญชาจะให้
ฤทธิ์การกระตุ้นประสาทที่น้อยกว่าเนื่องจาก THC ละลายน้าได้น้อย
• ผู้เสพติดกัญชาจะมีความต้องการอย่างมากที่จะเสพ ไม่สามารถที่จะลดการ
เสพลงได้ เกิดภาวการณ์หยุดยาและเกิดพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม
(withdrawal and behavioural systems)
ประภพ ด่านเศรษฐกุล 46
ประภพ ด่านเศรษฐกุล
ผลิตภัณฑ์กัญชา GPO มี 3 สูตร ดังนี้
1.สูตรที่มีสารทีเอชซี (THC) เด่น กล่องสีแดง ซึ่งอาจมีฤทธิ์มึนเมา
ได้ กัญชาสายพันธุ์แรง
2.สูตรที่มีสารซีบีดี (CBD) เด่น กล่องสีเขียว มีฤทธิ์มึนเมาต่า
กัญชาสายพันธุ์อ่อน
3.สูตรที่มีอัตราส่วนสารซีบีดี และทีเอชซี 1 : 1 (THC : CBD 1:1)
กล่องสีเหลือง เป็นกัญชาสายพันธุ์ผสม มีฤทธิ์มึนเมาปานกลาง
เรื่องความปลอดภัยของ GPO THC พบว่า ขนาดของ delta-9-THC ที่ทาให้
คนเสียชีวิตเป็นจานวน 50 % (Lethal dose) ต้องมีการใช้ในขนาดปริมาณสูง
ถึง 4 กรัม ในผู้ที่มีน้าหนัก 70 กิโลกรัม (ค่าประมาณจากการคานวณ) ซึ่ง
ขนาดยานี้ คนไม่สามารถได้รับจากการรับประทาน การสูบ หรือการสูดดมสาร
ระเหย (vaporizing) ของสารดังกล่าวได้ นอกจากนี้การให้ยา THC 2.5 mg
ทางหลอดเลือดดา ไม่ก่อให้เกิดอันตรายร้ายแรงถึงชีวิต แต่อาจ
ก่อให้เกิดอาการข้างเคียง GPO THC มีความแรงเพียง 0.5 mg ต่อหยด
ซึ่งน้อยกว่าขนาดยาดังกล่าว 5 เท่า จึงมีความปลอดภัยต่อผู้ป่วย แต่
อย่างไรก็ตามการใช้ยา GPO THC จะต้องอยู่ภายใต้คาแนะนาของแพทย์หรือ
เภสัชกรที่ผ่านการอบรม
https://news.thaipbs.or.th/content/282539 47
กัญชา และ กัญชง ยังคงเป็นยาเสพติดให้โทษประเภท 5 หากผู้ใดลักลอบผลิต นาเข้า
ส่งออก จาหน่าย ครอบครองเพื่อจาหน่าย และเพื่อเสพกัญชง ก็จะถูกดาเนินคดีตาม
พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522 ยาเสพติดให้โทษประเภท 5
ประภพ ด่านเศรษฐกุล 48
ประภพ ด่านเศรษฐกุล
https://www.apoe4.info/wiki/Cannabinoids,_Cannabidiol_(CBD),_THC,_HEMP,_Marijuana,
_Cannabis
กัญชง (Hemp) กัญชา (Cannabis) เป็นพืชที่มีถิ่นกาเนิดจากพืชชนิดเดียวกัน และมีสารสาคัญ 3 ชนิด คือ
Tetrahydrocannabinol(THC), Cannabinol(CBN) และ Cannabidiol (CBD) ซึ่ง THC เป็นสารเสพติดส่งผล
ต่อระบบสมอง โดยในกัญชงจะมีสาร THC น้อยกว่า 0.3 % แต่ในกัญชาจะมีสาร THC สูง 1-10% มีฤทธิ์
กระตุ้นประสาท หากเสพต่อเนื่องจะทาให้มีอาการเสพติด ส่งผลอันตรายต่อร่างกายและสมอง
49
“คาแนะนาการใช้กัญชาทางการแพทย์”
1. ไม่มีขนาดยาเริ่มต้นที่แน่นอนในผลิตภัณฑ์กัญชาแต่ละชนิด ขนาดยาที่เหมาะสมขึ้นกับลักษณะของ
ผู้ป่วยแต่ละคนและปรับตามแต่ละผลิตภัณฑ์ โดยเริ่มต้นขนาดต่าและปรับเพิ่มขนาดช้าๆ จนได้ขนาดยา
เหมาะสมที่ให้ผลการรักษาสูงสุด และเกิดผลข้างเคียงต่าสุด ขนาดยาในระดับต่ามีโอกาสเกิดผลข้างเคียงน้อย
2. ผู้ที่เริ่มต้นรักษา และได้รับผลิตภัณฑ์กัญชาเป็นครั้งแรกควรเริ่มต้นที่ขนาดต่ามากๆ เฝ้าระวังผลข้างเคียง
3. การให้สารสกัดกัญชาในครั้งแรกควรให้เวลาก่อนนอนและมีผู้ดูแลใกล้ชิด เนื่องจากอาจเกิดผลข้างเคียงได้
4. เนื่องจากยังไม่มีข้อมูลการใช้สารสกัดกัญชาในรูปน้ามัน ก่อนเริ่มรักษาควรตรวจการทางานของตับ (liver
function test) เป็นข้อมูลเบื้องต้น ภายหลังเริ่มต้นให้การรักษา 2 สัปดาห์ และทุก 2 สัปดาห์ ภายหลัง
เพิ่มปริมาณที่ใช้ในแต่ละครั้ง เนื่องจากพบอุบัติการณ์ของตับอักเสบสูงขึ้น
5. ผู้สั่งใช้ต้องเฝ้าระวังและติดตามความปลอดภัยของการใช้สารสกัดกัญชา
และเก็บรวบรวมข้อมูลของขนาดยาที่ใช้โดยเฉพาะเมื่อใช้ในผู้สูงอายุ
และผู้ที่มีอายุน้อย
ประภพ ด่านเศรษฐกุล 50
ประภพ ด่านเศรษฐกุล
การทดสอบ : กาตรวจคัดกรองหาสาร Cannabinoids (THC) ใน
ปัสสาวะ
1. ข้อบ่งชี้ในการส่งตรวจ (indication) : การตรวจหาระดับ Canabinoids
(THC) ในปัสสาวะ ด้วย DRI Cannabinoid assay ใช้เป็นการตรวจคัดกรอง
เบื้องต้นของผู้ที่สงสัยว่าได้รับสาร Cannabinoids (THC) ใช้เพื่อการ
Diagnosis และ treatment การรับยา Cannabinoids ทั้งทางการรักษาปกติ
และการใช้เป็นยาเสพติด เพื่อประกอบการตัดสินใจของแพทย์
2. สิ่งส่งตรวจ ( specimen ) ปริมาณและภาชนะที่ใช้เก็บ (collection
medium) และการนาส่ง: ปัสสาวะที่เก็บใส่ภาชนะที่สะอาด (ขวดพลาสติก
15 - 20 ml) นาส่งห้องปฏิบัติการทันที หรือเก็บไว้ที่ตู้เย็น 2 - 8 องศา
เซลเซียส ภายใน 24 ชั่วโมง แต่ถ้าไม่สามารถตรวจได้ภายใน 48 ชั่วโมงให้
เก็บที่อุณหภูมิ -10 องศาเซลเซียสหรือต่ากว่า ภายหลังละลายให้ผสมให้ดี
ก่อนตรวจ
3. วิธีการรายงานผล และแปลผล : ผลการทดสอบเป็นค่าความเข้มข้น ซึ่ง
คานวณจากค่ามาตรฐาน (Standard Curve) มีหน่วยเป็น ng/mL
- ความเข้มข้นของปริมาณสาร metabolite < 50 ng/mL ถือว่า Negative
- ความเข้มข้นของปริมาณสาร metabolite > 50 ng/mL ถือว่า Positive
- ค่า cutoff ยึดตามสถาบัน SAMHSA (NIDA) แนะนาให้ใช้เกณฑ์ตัดสินที่
ความเข้มข้น 50 ng/mL ในการตรวจคัดกรองสาร
- ความเข้มข้นของปริมาณสาร metabolite ที่ตรวจพบในปัสสาวะ
ไม่มีความสัมพันธ์กับ ระดับสารในกระแสเลือด การตรวจพบสาร
metabolite บ่งชี้ว่ามีการใช้ยาเท่านั้น
4. วิธีตรวจ (methodology) : DRI Cannabinoid assay หลักการ
Homogeneous enzyme immunoassay
51
การทดสอบที่ให้บริการใน
ปัจจุบัน
SAMHSA Panel: Analyte
Attributes
Common Name Analytes Detection Window Screening for Abuse
Marijuana (Pot) Metabolite:
THCA (11-nor-
Δ
9
-THC-COOH)
Single Use: 3 days
4 times/wk Use: 5-7 days
Daily Use: 10-15 days
Heavy User: 3+ weeks
9
Marijuana is rapidly
metabolized, with little to
none found in the urine.
However, its major metabolite,
THCA, is detectable within
hours after exposure and for
up to 3+ weeks in heavy users.
Therefore, only the metabolite
is required for detection.
16
ประภพ ด่านเศรษฐกุล 52
THC-Positive (xx.xx ng/mL) in urine
ติดตามปริมาณเพื่อ medical decision
ติดตามการใช้ที่ไม่พึงประสงค์
ติดตามปริมาณกับการเสพติด
>50 ng/mL ….. ผิดกฎหมาย
ประภพ ด่านเศรษฐกุล
CBD บริสุทธิ์
CBD+THC (น้อยกว่า 0.2%)
https://www.thairath.co.th/news/local/northeast/1643463
THC-Negative (00.00 ng/mL) in urine
น้ามันกัญชาสกัด RSO หรือ เรียกว่า น้าตานกฟิ นิกส์ ในกรณีนี้
จะผิดกฏหมาย จึงต้องทาการสกัดน้ามันกัญชา เองที่บ้านได้ มี
วิธีการสอนใน Youtube
https://น้ํามันกัญชา
สกัด.com/%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B3%E0%B8%A1%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%81%E0%
B8%B1%E0%B8%8D%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%94/397
สารสกัดกัญชาทางการแพทย์
จ่ายโดยแพทย์ในสถานพยาบาล
53
Sample ID Test Name Result Result unit Interpretation Date
621001065 DRI THC 5SQ 12.5 ng/mL [-] 01/10/62
621015054 DRI THC 5SQ 32.5 ng/mL [-] 15/10/62
621029015 DRI THC 5SQ 36.0 ng/mL [-] 29/10/62
621112130 DRI THC 5SQ 52.5 ng/mL [+] 12/11/62
ตัวอย่างการรายงานผลเชิงคุณภาพและปริมาณ
ชื่อหน่วยงาน
Date ………………………….…. Patient ID 620532365 Patient name ………………………
Sample type …………………… Time …………………………....
ประภพ ด่านเศรษฐกุล
การใช้ประโยชน์ของผลการทดสอบ
1. ใช้ในการแสดงว่ามี/ไม่มีสาร THC
2. ระดับของ THC ใช้เป็นข้อมูลเบื้องต้นเพื่อประโยชน์ด้านการบาบัดรักษา ติดตามผู้ใช้สาร
3. เป็นข้อมูลประกอบการพิจารณาทางกฎหมาย
54
ตัวอย่างปัสสาวะที่ส่ง....ได้คุณภาพหรือไม่
ประภพ ด่านเศรษฐกุล 55
Specimen validity tests (SVT)
• Methods used on a urine drug screen specimen to
detect for substitution, adulteration, or dilution.
• Thermo Fisher Scientific provides Specimen Validity
Tests for creatinine, specific gravity, oxidizing agents
(e.g. nitrites) and pH.
ประภพ ด่านเศรษฐกุล 56
Specimen validity tests (SVT)
ประภพ ด่านเศรษฐกุล
• Substitution and dilution of the urine samples is done
by using either water or other liquids which have a
color similar to urine, such as tea and/or apple juice.
• SAMHSA recommends several ways to assess for this
type of substitution/dilution by using Creatinine and
Specific Gravity tests.
• Creatinine is a waste product produced by the body
and excreted in the urine at a relatively constant rate.
Fluctuations in creatinine concentration may be an
indication of hydration, dilution or substitution.
• Specific gravity reflects the density of the urine
specimen when compared to water. The lower the
specific gravity, the closer its consistency to water and
therefore possible indication of dilution or
substitution.
57
Specimen validity tests (SVT)
ประภพ ด่านเศรษฐกุล
Indicator SAMHSA Guidelines Thermo Scientific Test
Creatinine
Specific Gravity
< 2 mg/dL
≤ 1.0010 or ≥ 1.0200
DRI Creatinine-Detect
DRI Gravity-Detect
Monitoring for Substitution
Monitoring for Dilution
Indicator SAMHSA Guidelines* SAMHSA Guidelines† Thermo Scientific Test
Creatinine
Specific Gravity
5 mg/dL but < 20 mg/dL
≥ 1.002 but < 1.003
≥ 2 mg/mL but < 20 mg/dL
> 1.0010 but < 1.0030
DRI Creatinine-Detect
DRI Gravity-Detect
58
Specimen validity tests (SVT)
• Adulterants (Additives เจือปน) Oxidizing agents can be
purchased commercially and used to adulterate urine samples.
• The most commonly used oxidizing agents are nitrite (Klear™),
chromate (Urine Luck™), iodine, bleach, and horseradish
peroxidase (Stealth).
• These oxidizing agents, when added to urine, do not show any
significant change to the appearance of the urine and may not
be detected by other methods such as pH, specific gravity or
even creatinine concentration.
• Testing the urine for pH gives an indication of whether the
specimen is adulterated with bleach or ammonia (producing a
basic pH >11.0) or adulterated with lemon juice or vinegar
(producing an acidic pH < 4.0).
ประภพ ด่านเศรษฐกุล 59
Specimen validity tests (SVT)
ประภพ ด่านเศรษฐกุล
Indicator SAMHSA Guidelines Thermo Scientific Test
pH pH < 4.0 or > 11.0 DRI™ pH-Detect
Nitrite ≥ 500 µg/mL DRI General Oxidant-Detect
Chromium ≥ 50 µg/mL DRI General Oxidant-Detect
Halogens
(bleach, iodine, fluoride)
Use either a general
oxidant or halogen
colorimetric test
DRI General Oxidant-Detect
Pyridine Use either a general
oxidant or chromium
colorimetric test
DRI General Oxidant-Detect
60
ประภพ ด่านเศรษฐกุล
https://www.questdiagnostics.com/home/companies/employer/drug-screening/products-services/specimen-validity.html
61
ประภพ ด่านเศรษฐกุล 62
Alcohol Determination in the Clinical Laboratory
ประภพ ด่านเศรษฐกุล
American Journal of Clinical Pathology 74(5):747-50 · December 1980
63
ประภพ ด่านเศรษฐกุล
DRITM EthOH (enzymatic method)
Range: 10-600 mg/dL
Plasma/ serum/ urine
64
1. ยกระดับมาตรฐานการบริการของสถานพยาบาล
2. สามารถควบคุมคุณภาพได้ทั้งกระบวนการทดสอบ
3. สามารถควบคุมค่าใช้จ่ายในกระบวนการคัดกรองและการส่งยืนยันผล
4. ลดอัตราเสี่ยงต่อการร้องเรียนผลผิดพลาดในกระบวนการคัดกรอง
5. เพิ่มประสิทธิภาพในกระบวนการบาบัดรักษา
6. เพิ่มประสิทธิภาพในมาตรการด้านยาเสพติดขององค์กร
7. สามารถใช้ประกอบมาตราการต่างๆเพื่อคืนคนดีสู่สังคม
ประภพ ด่านเศรษฐกุล
MEDICAL
TECHNOLOGY
LABORATORY
SERVICE
65
ประภพ ด่านเศรษฐกุล
ความเชื่อมั่นในบริการที่เกินคาดหมาย
ผู้รับบริการ
MEDICAL TECHNOLOGY
LABORATORY SERVICE
การใช้
Quaitative and Semiquantitative
Immunoassay
66
1. Performing
professional services
with quality for
taking care of
individual and
population health
2. Mastering novel
and appropriate
technology for
health sciences
application
ประภพ ด่านเศรษฐกุล 67
ประภพ ด่านเศรษฐกุล 68

More Related Content

Similar to DOAs for MT student.pptx

แนวเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า
แนวเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้าแนวเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า
แนวเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า
sucheera Leethochawalit
 
หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547
หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547
หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547
dentyomaraj
 
คู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชนคู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชน
Utai Sukviwatsirikul
 
Drug induced liver injury
Drug induced liver injuryDrug induced liver injury
Drug induced liver injury
Utai Sukviwatsirikul
 
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิต
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิตนำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิต
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิต
Gob Chantaramanee
 
นวัตกรรมเพื่อสุขภาพและความงาม
นวัตกรรมเพื่อสุขภาพและความงามนวัตกรรมเพื่อสุขภาพและความงาม
นวัตกรรมเพื่อสุขภาพและความงาม
Isyapatr
 
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2Kobchai Khamboonruang
 
5555
55555555
Adverse Drug Reactions and Drug Allergy Adverse Drug Reactions and Drug All...
Adverse Drug Reactions and Drug Allergy 	 Adverse Drug Reactions and Drug All...Adverse Drug Reactions and Drug Allergy 	 Adverse Drug Reactions and Drug All...
Adverse Drug Reactions and Drug Allergy Adverse Drug Reactions and Drug All...MedicineAndHealth
 
การใช้ยาอย่างไรให้ถูกต้องปลอดภัยเหมาะสม.pptx
การใช้ยาอย่างไรให้ถูกต้องปลอดภัยเหมาะสม.pptxการใช้ยาอย่างไรให้ถูกต้องปลอดภัยเหมาะสม.pptx
การใช้ยาอย่างไรให้ถูกต้องปลอดภัยเหมาะสม.pptx
NareenatBoonchoo
 
Antidote pocket guide v.3
Antidote pocket guide v.3Antidote pocket guide v.3
Antidote pocket guide v.3
sucheera Leethochawalit
 
Local anestic presentation 55
Local  anestic presentation 55 Local  anestic presentation 55
Local anestic presentation 55
Juny June
 
บทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidaseบทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidase
dentyomaraj
 
ระบบยา
ระบบยาระบบยา
ระบบยา
Rachanont Hiranwong
 
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
Isara Chiawiriyabunya
 
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
Isara Chiawiriyabunya
 
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์Kruthai Kidsdee
 
โครงงานเรื่อง คอเรสเตอรอล
โครงงานเรื่อง คอเรสเตอรอลโครงงานเรื่อง คอเรสเตอรอล
โครงงานเรื่อง คอเรสเตอรอลNat Pat
 
โครงงานเรื่อง คอเรสเตอรอล
โครงงานเรื่อง คอเรสเตอรอลโครงงานเรื่อง คอเรสเตอรอล
โครงงานเรื่อง คอเรสเตอรอลNat Pat
 

Similar to DOAs for MT student.pptx (20)

แนวเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า
แนวเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้าแนวเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า
แนวเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า
 
หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547
หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547
หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547
 
คู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชนคู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชน
 
Drug induced liver injury
Drug induced liver injuryDrug induced liver injury
Drug induced liver injury
 
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิต
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิตนำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิต
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิต
 
นวัตกรรมเพื่อสุขภาพและความงาม
นวัตกรรมเพื่อสุขภาพและความงามนวัตกรรมเพื่อสุขภาพและความงาม
นวัตกรรมเพื่อสุขภาพและความงาม
 
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
 
5555
55555555
5555
 
Adverse Drug Reactions and Drug Allergy Adverse Drug Reactions and Drug All...
Adverse Drug Reactions and Drug Allergy 	 Adverse Drug Reactions and Drug All...Adverse Drug Reactions and Drug Allergy 	 Adverse Drug Reactions and Drug All...
Adverse Drug Reactions and Drug Allergy Adverse Drug Reactions and Drug All...
 
Endocrine system
Endocrine systemEndocrine system
Endocrine system
 
การใช้ยาอย่างไรให้ถูกต้องปลอดภัยเหมาะสม.pptx
การใช้ยาอย่างไรให้ถูกต้องปลอดภัยเหมาะสม.pptxการใช้ยาอย่างไรให้ถูกต้องปลอดภัยเหมาะสม.pptx
การใช้ยาอย่างไรให้ถูกต้องปลอดภัยเหมาะสม.pptx
 
Antidote pocket guide v.3
Antidote pocket guide v.3Antidote pocket guide v.3
Antidote pocket guide v.3
 
Local anestic presentation 55
Local  anestic presentation 55 Local  anestic presentation 55
Local anestic presentation 55
 
บทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidaseบทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidase
 
ระบบยา
ระบบยาระบบยา
ระบบยา
 
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
 
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
 
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์
 
โครงงานเรื่อง คอเรสเตอรอล
โครงงานเรื่อง คอเรสเตอรอลโครงงานเรื่อง คอเรสเตอรอล
โครงงานเรื่อง คอเรสเตอรอล
 
โครงงานเรื่อง คอเรสเตอรอล
โครงงานเรื่อง คอเรสเตอรอลโครงงานเรื่อง คอเรสเตอรอล
โครงงานเรื่อง คอเรสเตอรอล
 

DOAs for MT student.pptx

  • 1. Israel Anti-Drug Authority การจัดบริการทางเทคนิคการแพทย์ ด้านสารเสพติดที่สาคัญ ทนพ.ประภพ ด่าน เศรษฐกุล ผู้จัดการฝ ่ ายผลิตภัณฑ์ บริษัทดับเบิ้ลเอสไดแอกนอสติกส์ จากัด ผู้ทรงคุณวุฒิด้านเครื่องมือแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข กรรมการบริหารสมาคมชีวเคมีคลินิกประเทศไทย (TACB) ประสบการณ์ที่ผ่านมา • หัวหน้าสานักงาน สภาเทคนิคการแพทย์ • เลขาธิการ สมาคมเทคนิคการแพทย์แห่งประเทศไทย ในพระอุปถัมภ์ฯ • อาจารย์ประจาภาควิชาเคมีคลินิก คณะเทคนิคการแพทย์ ม.มหิดล 1
  • 2. MT Professional Service • Clinical Microscopy ประภพ ด่านเศรษฐกุล • Clinical Chemistry • Clinical Microbiology • Molecular Biology • Toxicology • TDM • Drug of abuse : DOAs The main goals of MT professional service is to providing accurate laboratory results that enhance care while minimizing risk and support decisions. • Hematology • Transfusion Science • Legal • Criminal • Justice • Medicare 2
  • 3. สารเสพติดตามคาจากัดความขององค์การ อนามัยโลก (World Health Organization: WHO)  เพิ่มปริมาณของสารขึ้นเพื่อให้เกิดอาการมึนเมา สนุกสนาน มีพละกาลัง  เมื่อหยุดการใช้สารนั้น จะเกิดอาการขาดสาร อ่อนเพลีย นอนไม่หลับ อารมณ์เศร้า  เสพสารปริมาณมากติดต่อเป็นเวลานาน เกิดความเคยชิน และหลงใหล  มีความบกพร่องในหน้าที่การงาน เช่น พยายามหาสารมาเสพ ไม่รับผิดชอบ ไม่สนใจงาน  ยังคงเสพต่อเนื่อง แม้จะทราบว่าเกิดปัญหาทั้งทางร่างกาย จิตใจ และ ผิดกฎหมาย สิ่งที่เสพเข้าไปแล้วจะเกิดความต้องการทั้งทาง ร่างกายและจิตใจต่อไป โดย ไม่สามารถหยุด เสพได้ และจะต้องเพิ่มปริมาณมากขึ้นเรื่อยๆ จน ในที่สุดจะทาให้เกิดอาการผิดปกติ โรคภัยไข้เจ็บ ต่อร่างกาย และจิตใจขึ้น ประภพ ด่านเศรษฐกุล 3
  • 4. สารเคมีหรือวัตถุชนิดใดๆ ซึ่งเมื่อเสพเข้าสู่ร่างกายไม่ว่า จะโดยรับประทาน ดม สูบ ฉีด หรือด้วยประการใดๆ แล้ว ทาให้เกิดผลต่อร่างกายและจิตใจ สารเสพติด (Drug abuse) ตามคาจากัดความของ ประเทศไทย พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พุทธศักราช 2522 ต้องการเสพ (Need to addict) เพิ่มปริมาณ (increase over dose) (Tolerance) สุขภาพทรุดโทรม โรคแทรกซ้อน อาการทางประสาทจิต (Complications with psychological effects อาการขาดยา หรืออยาก ยา (Withdrawal symptoms/ want to use drug abuse/drug dependence) ประภพ ด่านเศรษฐกุล 4
  • 5. ประเภทของสารเสพติด (Type of Drug abuse) ประเภทที่ 1 ยาเสพติดชนิดให้โทษชนิดร้ายแรง เช่น เฮโรอีน แอลเอสดี แอมเฟตา มีน ยาอี ประเภทที่ 2 ยาเสพติดประเภทนี้สามารถนามาใช้เพื่อประโยชน์ทาง การแพทย์ได้แต่ต้องใช้ภายใต้การควบคุมของแพทย์และใช้เฉพาะ กรณีที่จาเป็ นเท่านั้น เช่น ฝิ่น มอร์ฟีน โคเคน/โคคาอีน/โคเคอีน และเมทาโดน ประเภทที่ 3 ยาเสพติดประเภทนี้เป็ นยาเสพติดให้โทษที่มียาเสพติด ประเภทที่ 2 ผสมอยู่ด้วย มีประโยชน์ทางการแพทย์ การนาไปใช้เพื่อ จุดประสงค์อื่นหรือเพื่อเสพติด จะมีบทลงโทษกากับไว้ ยาเสพติดประเภทนี้ได้แก่ ยาแก้ไอที่มีตัวยาโคเคอีน, ยาแก้ท้องเสียที่มีฝิ่นผสมอยู่, และยาฉีดระงับปวดต่างๆ เช่น มอร์ฟีน เพทิดีน (Pethidine) ซึ่งสกัดมาจากฝิ่น ประเภทที่ 4 สารเคมีที่ใช้ในการผลิตยาเสพติดให้โทษ ประเภทที่ 1 หรือ ประเภทที่ 2 ยาเสพติดประเภทนี้ไม่มีการนามาใช้ประโยชน์ในการ บาบัดโรคแต่อย่างใด และมีบทลงโทษกากับไว้ด้วย ได้แก่ น้ายาอะเซติคแอนไฮไดรย์ (Acetic anhydride) และ อะเซติลคลอไรด์ (Acetyl chloride) ซึ่งใช้ในการเปลี่ยน มอร์ฟีนเป็นเฮโรอีน, และสารคลอซูโดอีเฟครีน (Chlo-pseudoephedrine) สามารถใช้ในการ ผลิตยาบ้าได้ (สารเคมีที่ใช้ในการผลิตยาเสพติดให้โทษประเภท 1 หรือ 2) พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522 ประภพ ด่านเศรษฐกุล 5
  • 6. 1. ฤทธิ์กดประสาท (Depressants) 2. ฤทธิ์กระตุ้นประสาท (Stimulants) 3. ฤทธิ์หลอนประสาท (Hallucinations) ประภพ ด่านเศรษฐกุล สารเสพติดทางการแพทย์ แบ่งตามอาการและ การออกฤทธิ์ (Medicine, symptoms and actions) 6
  • 7.  ประเภทกดประสาท (Depressants/Narcotics) ฝิ่ น (opium) มอร ์ฟี น (Morphine) เฮโรอีน (Heroin) ยานอนหลับ (Hypnotic) ยากล่อมประสาท/ยาคลาย เครียด (Tranquilizers) บาร ์บิทูเรต (Barbiturate) เครื่องดื่มมึนเมา (Alcohol) และสารระเหยต่างๆ (Volatile Solvents) เช่น ทินเนอร ์(Thinner) น้ามัน เบนซิน (Benzene) Symptoms: thin, weakness, muddle, groggy, mad, induce sleep, depress bodily function, slow down the functions of the CNS อาการ ร่างกายซูบซีด ผอมเหลือง อ่อนเพลีย ฟุ้ งซ่าน มึนงง อาการคลุ้มคลั่ง เป็ นต้น  ประเภทกระตุ้นประสาท (Stimulants) ยาบ้า (Amphetamine) ยาอี (Ecstasy) กระท่อม (Kratom) โคเคน (Cocaine) เครื่องดื่มคาเฟอีน (Caffeine) เป็ นต้น Symptoms: Excitation, not sleepy (insomnia), ประภพ ด่านเศรษฐกุล 7
  • 8.  ประเภทหลอนประสาท (Hallucinations) กัญชา (Cannabis/Marijuana) แอลเอสดี (LSD: Lysergic Acid Diethylamide) เห็ดขี้ควาย (Magic mushroom/Buffalo dung Mushroom) เป็ นต้น Symptom: hallucination, hearing things, seeing the strange and scary pictures or amazing pictures (mirage) อาการ ประสาทหลอน หูแว่ว เห็นภาพแปลกๆ น่ากลัว หรือภาพสวยงามวิจิตรพิสดาร ในที่สุดมัก ป่ วยเป็ นโรคจิต  ประเภทออกฤทธิ์ผสมผสาน (Mixed actions) กัญชา (Cannabis/Marijuana): กระตุ้นประสาท กด และ หลอนประสาท Symptom: euphoria, hallucination, mirage, hearing things, confusion, psychological Psilocybecubensis เห็ดโอสถลวงจิต ประภพ ด่านเศรษฐกุล 8
  • 9. ‘ยาบ้า’ ยังเป็นยาเสพติดที่ได้รับความนิยมสูงสุดในไทย รองลงมาคือกัญชา พืชกระท่อม ไอซ์ และเฮโรอีน และที่ต้องเฝ้าระวังอย่างใกล้ชิด คือ คีตามีน ที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจากในอดีต โดย ประชากรที่เข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติดส่วนใหญ่ร้อยละ 40 ยังอยู่ในกลุ่มอายุ 15-19 ปี ร้อยละ 70 ของผู้เข้าไปเกี่ยวข้องมีอาชีพรับจ้าง แรงงาน และเกษตรกร ข้อมูลจาก คาสั่งศูนย์อานวยการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดแห่งชาติที่ 3/2561 เรื่อง แผนป้องกันและแก้ไข ปัญหายาเสพติดเร่งด่วนปี 2561 (มีนาคม- กันยายน 2561) ประภพ ด่านเศรษฐกุล 9
  • 12. ผู้รับบริการ…มาจากไหน 1. พนักงานใหม่ และพนักงานเดิมในองค์กร 2. นักกีฬา ในการแข่งขันกีฬาสากล 3. ผู้ต้องสงสัย ผู้มีเหตุให้สงสัย 4. ผู้ต้องการทาประกันชีวิต ประกันภัย 5. ผู้ที่ได้รับการบาบัดโดยคาสั่งศาล หรือโดยสมัครใจ 6. ผู้ที่ได้รับการรักษาทางการแพทย์ 7. ผู้เข้ารับการศึกษาในวิชาชีพเฉพาะ 8. ผู้ประสงค์บวช 9. ผู้ปกครองที่ดูแลลูกหลาน 10. นักเรียนในโรงเรียน ประภพ ด่านเศรษฐกุล 12
  • 13. “Substance Abuse and Mental Health Services Administration: SAMHSA panel” Common Name/Street Name Parent Drug / Metabolite Cutoff (ng/mL) Meth d-Methamphetamine/ d-Amphetamine 500 (1000) Marijuana (Pot) THCA (11-nor-Δ 9 -THC- COOH) 50 Cocaine (Coke) Cocaine metabolite (Benzoylecgonine) 150 Opiates Codeine / Morphine 2000 PCP Phencyclidine 25 Heroin 6-Acetylmorphine (6-AM) 10 Ecstasy MDMA/MDA 500 Vicodin® / Dilaudid® (New to SAMHSA) Hydrocodone / Hydromorphone 300 OxyContin® (New to SAMHSA) Oxycodone / Oxymorphone 100 ประภพ ด่านเศรษฐกุล 13
  • 14. ค่าเกณฑ์ตัดสินผลบวก (cut-off) หมายถึงปริมาณต่าสุดของสารเสพติดในปัสสาวะที่กฏหมายกาหนด และใช้เป็นเกณฑ์ตัดสินว่ามีสารเสพติดอยู่ในปัสสาวะหรือไม่ ประภพ ด่านเศรษฐกุล ประกาศคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดเรื่องกาหนดหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขการตรวจหรือทดสอบว่าบุคคลหรือกลุ่มบุคคลใดมีสารเสพติดอยู่ในร่างกายหรือไม่พ.ศ. 2543 14
  • 16. เทคนิคการแพทย์ สนับสนุนการตรวจวิเคราะห์ด้านสารเสพติด จัดหา Markers / Tests / Method และ Technology ในการทดสอบแสดงผลที่มีคุณภาพ เพื่อเป็นข้อมูลประกอบ •การวินิจฉัย การรักษา การติดตาม •การดาเนินการทางกฎหมาย •การจัดการของสถานประกอบการ/ โรงเรียน/ วัด/ ครอบครัว ประภพ ด่านเศรษฐกุล 16
  • 17. ตัวอย่างการจัดกระบวนการ บริการทดสอบ DOAs ประภพ ด่านเศรษฐกุล มี แบบฟอร ์ม เฉพาะงาน มีการฝึ ก จนท.ผู้ จัดเก็บ Sp. การ รายงาน ผล เฉพาะ ผู้เกี่ยวข้ อง การ วิเคราะห์ อย่างมี ประสิทธิ ภาพ การรายงานผล เฉพาะผู้เกี่ยวข้อง และการอธิบาย ทางห้องปฏิบัติการ เพื่อการใช้ ประโยชน์ในผล การทดสอบ เพื่อ การป้ องปราม/ ติดตามผล https://www.alliance2020.com/services/drug-testing/#1446545054170-61f82c07-eff6 17
  • 19. • การตรวจปัสสาวะ เป็นวิธีพื้นฐานที่ดีที่สุดและเป็นที่ยอมรับใน กระบวนการยุติธรรมในระดับสากล สาเหตุที่ใช้วิธีการตรวจ ปัสสาวะนั้นเป็นเพราะว่า เมื่อสารเสพติดเข้าสู่ร่างกายไม่ว่าจะ ด้วยการกิน ฉีด สูบหรือสูดดมควัน สารเสพติดจะดูดซึมเข้าสู่ กระแสเลือด และอยู่ในเลือดประมาณ 2-3 ชั่วโมง จากนั้นจะถูก ขับออกทางปัสสาวะ และตกค้างอยู่ในปัสสาวะระยะหนึ่ง ขึ้นอยู่ กับปริมาณที่ใช้ ความถี่ ชนิดของสารเสพติด รวมทั้งสภาวะ ร่างกายของแต่ละคน • หากเสพไม่ประจา สามารถตรวจพบได้หลังการเสพ 1-3 วัน • ผู้เสพประจา จะมีโอกาสตรวจพบได้หลังเสพ 2-6 วัน • ผู้เสพเรื้อรังอาจตรวจพบได้หลังจากการเสพถึง 2-3 สัปดาห์ ประภพ ด่านเศรษฐกุล 19
  • 20. ชนิดสิ่งส่งตรวจ และคุณภาพของการทดสอบ ประภพ ด่านเศรษฐกุล A Publication of Warde Medical Laboratory 2011 Volume 22, Number 2 “Quality in Laboratory Diagnosis” 20
  • 23. ความเชื่อมั่นในบริการที่เกินคาดหมาย ประภพ ด่านเศรษฐกุล ผู้รับบริการ 1. การทดสอบมีครบตามมาตรฐานเกณฑ์กาหนดสากล (SAMHSA) 2. วิธีการทดสอบเป็นไปตามกฎหมายประเทศไทยกาหนด (Immunoassay) 3. ผลการทดสอบมีความน่าเชื่อถือ ให้ความเชื่อมั่นสูง 1) บอกได้ว่าสิ่งส่งตรวจใช่ปัสสาวะหรือไม่ และ/หรือมีการปลอมปน ปนเปื้อน เจือจางมาหรือไม่ 2) แสดงค่าผลบวก หรือ ลบ ชัดเจน (Qualitative) พร้อมแสดงค่าระดับของสาร (Semiquantitative) 3) ยังไม่พบผลบวกลวง (False positive) ลบลวง (False negative) 4) มีการควบคุมคุณภาพตามมาตรฐานการบริการ ผลการทดสอบสามารถแสดงย้อนหลังได้ 4. ผลการทดสอบใช้ประโยชน์ได้ 1) คัดกรอง (แยกกลุ่มปกติ เสี่ยง เสพ >>> ลบมีค่าเป็น 0) 2) ป้องปราม (กากับ ติดตามความเสี่ยง >>> ลบมีค่าต่ากว่า cut-off ) 3) ติดตามผล (การบาบัด หรือตามมาตรการในสถานประกอบการ >>> จนได้ลบค่าเป็น 0) MEDICAL TECHNOLOGY LABORATORY SERVICE 23
  • 24. เทคนิคการแพทย์ บริการทางวิชาชีพอะไร ในกลุ่มไหน.... • การตรวจคัดกรองเบื้องต้น (Qualitative-rapid diagnostic test screening) • Lateral-flow chromatography • การคัดกรองเชิงคุณภาพ กึ่งปริมาณ (Qualitative and Semi quantitative screening) • Automate Immunoassay • การตรวจยืนยัน (Confirmatory test/ Standard method) • LC-MS/MS, GC-MS/MS ประภพ ด่านเศรษฐกุล 24
  • 25. Confirmatory methods: Gas liquid chromatography, High performance liquid chromatography and Gas chromatography/mass spectrometry (GC/MS) (the gold standard for drug detection Qualitative and Semi quantitative screening method for drug detection: Homogeneous competitive immunoassay in solution is a screening test used with most substances. DRI, KIMS, CEDIA, EMIT, FPIA Qualitative screening method for drug detection: Lateral flow immuno-assay (LFIA) or rapid diagnostic test (RDT), Thin-layer chromatography (TLC) ประภพ ด่านเศรษฐกุล การวิเคราะห์/ตรวจ สารเสพติด (Drug abuse determination) 25
  • 26.  การตรวจคัดกรอง Screening test- Semi Quantitative : Approx numeric - Qualitative : Positive/Negative 1.1 Chromatography TLC (Thin layer chromatography) Lateral flow immuno-assay (LFIA) or rapid diagnostic test (RDT) 1.2 Immunoassay LAI (Latex Agglutination Inhibition) RIA (Radioimmunoassay) DRI (Diagnostic Reagent Immunoassay) EMIT (Enzyme Multiply Immunoassay Technique) FPIA (Fluorescence Polarization Immunoassay Technique) CEDIA (Cloned Enzyme Donor Immunoassay Technique) KIMS (Kinetic Interaction of Microparticles in solution) GLORIA (Gold labeled Optically Read Rapid Immunoassay Technique)  การตรวจยืนยัน การวิเคราะห์/ตรวจสารเสพติด (Drug abuse determination) ประภพ ด่านเศรษฐกุล 26
  • 27. Various Types of Commercial DAU Immunoassay Techniques Using Homogeneous Assay Format ประภพ ด่านเศรษฐกุล 27
  • 28. Technology ที่ “เทคนิคการแพทย์” เลือกใช้.... ประเภทบริการ ข้อดี ข้อจากัด Basic screening Qualitative screening method (Rapid Diagnostic Tests : Lateral-flow chromatography) • ให้ผลได้รวดเร็ว • ใช้ง่าย-สะดวก • ไม่ต้องการความสามารถในการ ดาเนินการมากนัก • ต้องการพื้นที่ในการทดสอบน้อย • ไม่มีการบารุงรักษา • ผลการทดสอบบอกได้เชิงคุณภาพเท่านั้น • ความจาเพาะไม่ดี ถูกรบกวนจากสารอนุพันธ์/ การปนเปื้อน/ การปลอมปนได้ง่าย • มีประกันคุณภาพ เฉพาะชุดทดสอบนั้นเท่านั้น • ไม่มีสารควบคุมคุณภาพ • ผลการทดสอบทวนย้อนกลับไม่ได้ • มีอัตราผลบวกลวง/ลบลวงที่สูง • ผลการทดสอบไม่ชัดเจนแน่นอนส่งผลต่อต้นทุน ที่เพิ่มขึ้น Confirmatory test Standard method (LC-MS/MS, GC-MS/MS) • บอกได้ชัดเจนว่ามีสารที่ต้องการอยู่ หรือไม่/ปริมาณเท่าไร • มีความจาเพาะ และความไวสูง • ผลการวิเคราะห์ออกจากเครื่อง สามารถสอบทวนย้อนกลับได้ • มีการควบคุมคุณภาพ โดยมีสาร มาตรฐานและสารควบคุมคุณภาพ • มีอัตราผลบวกลวง/ลบลวงต่ามาก • ผลการทดสอบสามารถใช้อ้างอิงทาง กฎหมายได้ • เครื่องมือมีราคาสูง • อุปกรณ์/น้ายา มีความจาเพาะในการใช้ • ต้องการพื้นที่ในการติดตั้ง • ขั้นตอนการดาเนินการมีความซับซ้อน • ต้องการผู้ที่มีทักษะความรู้/ความชานาญเฉพาะ • ต้นทุนต่อการทดสอบสูง • ค่าการบารุงรักษาสูง ประภพ ด่านเศรษฐกุล 28
  • 29. Lateral flow immunoassay เจือปน (substitution) ปลอมปน (adulteration) ประภพ ด่านเศรษฐกุล 29
  • 30. ประเภทบริการ ข้อดี ข้อจากัด Basic screening: RDTs, TLC New platform of screening: Qualitative and Semiquantitative immunoassay • วิเคราะห์บนเครื่องวิเคราะห์อัตโนมัติ • รายการทดสอบสั่งทาได้ครบถ้วน ครอบคลุมมาตรฐาน SAMSHSA และ ความต้องการในครั้งเดียว • มีระบบตรวจสอบคุณภาพสิ่งส่งตรวจ กันการปนเปื้อน/ การปลอมปนได้ • ใช้ตัวอย่างทดสอบปริมาณน้อย- ระดับไมโครลิตร • มีระบบการควบคุมคุณภาพ โดยใช้ QCM • น้ายาวิเคราะห์เป็ นแบบ Liquid ready-to-use ลดเวลาการเตรียม น้ายา • เทคนิควิเคราะห์ใช้เทคนิคแสดงผล ปฏิกิริยาที่แม่นยา turbidity, colorimetry, fluorescence- polarization • ใช้ specific monoclonal antibody ที่มีความจาเพาะต่อ parent และ major metabolites ของสารเสพติด ที่ให้ค่าการวิเคราะห์สอดคล้องไปกับ การตรวจด้วยวิธียืนยัน • ทาบนเครื่อง วิเคราะห์อัตโนมัติ ไม่สามารถขนย้าย ออกนอกพื้นที่ได้ หรือต้องได้รับการ ติดตั้งเฉพาะกิจ • ราคาต้นทุนที่สูง กว่าการทดสอบ RDTs, TLC, LFIA ประภพ ด่านเศรษฐกุล 30
  • 31. DRITM Technology Enzyme-labelled Molecules of the compound to be measured “ENZ-CONJUGATE” Diagnostic Reagent Incorporate Enzyme Immunoassay (DRITM) is based on the competition between a drug or drug enzyme conjugate (glucose-6- phosphate dehydrogenase:G6PDH) and free drug from the sample for a fixed amount of specific antibody binding sites. G6PDH in the presence of Cofactor and Substrate forms NADH. The NADH absorbs light at 340 nm. Cofactor “NAD” SUBSTRATE “G6P” NADH Monoclonal antibody specific for molecules of target analyte “specific-Ab” มีสารเป้าหมายเยอะ...เอนไซย์ม ยิ่งทางานดี เนื่องจากสารเป้าหมายแย่งจับกับแอนตีบอดี ประภพ ด่านเศรษฐกุล 31
  • 32. DRITM Technology Homogeneous competitive enzyme immunoassay สารเป้าหมายยิ่งเยอะ...เอนไซย์มเหลือเยอะ....ปฏิกิริยายิ่งสูง ประภพ ด่านเศรษฐกุล 32
  • 33. DRITM Technology, features and benefits 1. Liquid ready-to-use homogeneous competitive enzyme immunoassay. 2. High analytical accuracy while eliminating time-consuming steps in reagent preparation. 3. The assay uses bio-engineered specific monoclonal antibodies, not interfere by endogenous enzyme. 4. Minimal cross-reactivity to various over the counter structurally unrelated compounds, add excellent sensitivity, linearity, specificity, precision and accuracy to the mix. 5. Give excellent result acceptance of analyte levels through excellent correlation to GC/MS. 6. Provide excellent open vial stability via guaranteed consistency: kit to kit, lot to lot, and year to year 7. All of excellent that has been proven to reduce costs and increase laboratory productivity without sacrificing quality (close to zero false positive). ประภพ ด่านเศรษฐกุล 33
  • 34. ตัวอย่างการรายงานผลคุณภาพและเชิงคุณภาพ ชื่อหน่วยงาน Date ………………………….…. Patient ID ……………………… Patient name ……………………… Sample type …………………… Time ………………………….... ประภพ ด่านเศรษฐกุล FP FP FP FP ป้องปราม เชื่อมั่น FP 34
  • 35. Amp + Methamp = Amphetamine assay • Both methamphetamine and amphetamines are potent stimulants by release dopamine surges into the brain, quickly elevating your blood pressure and heart rate to increase so speed up the body’s metabolism and raise body temperature. • Methamphetamine can release five times more dopamine than amphetamine this might contribute to the greater addictiveness and largely abuse than amphetamine. • More prescription medications, like Adderall, contain amphetamine and dextroamphetamine, has an important place as a prescription drug that treats attention deficit hyperactivity disorder (ADHD). • These substances have many similarities, methamphetamine was derived from amphetamines in 1919. • The European Monitoring Centre for Drugs and Drug Addiction (EMCDDA) states that there are so many similarities between the two that, for monitoring purposes, they are often lumped into one term: amphetamines. ประภพ ด่านเศรษฐกุล 35
  • 36. DRITM Amphetamine Assay • Between 30-54% of an oral dose is excreted in urine as unchanged meth and 10-23% as unchanged amphetamine. • Following an intravenous dose, 45% is excreted as unchanged meth and 7% amphetamine. ประภพ ด่านเศรษฐกุล The National Highway Traffic Safety Administration (NHTSA) 36
  • 38. DRITM Amphetamine Assay • Amphetamine are synthetic derivatives of ephedrine. • The most common amphetamines include d-amphetamine, d-methamphetamine, and d,l-amphetamine. • When amphetamine ingested, it is either rapidly deactivated in the liver or excreted unchanged into the urine. • Other ephedrine derivatives such as, methamphetamine can be metabolized and excreted in urine as amphetamine. ประภพ ด่านเศรษฐกุล 38
  • 39. ประภพ ด่านเศรษฐกุล https://www.practicalpainmanagement.com/treatments/pharmacological/non-opioids/methamphetamine-urine-toxicology-depth-review •The challenge for the laboratory is to differentiate between the d and the l isomer forms of methamphetamine. The clinician needs this critical information because without the d:l-isomer ratio, the clinician is unable to narrow down the potential sources of the methamphetamine. •A positive methamphetamine test could be caused by use of an OTC product, a prescription drug, or illicit use (Table1). The laboratory may run up to 3 distinct tests to produce a complete amphetamine profile. •The first test is an immunoassay (IA) screening test for the amphetamine class of medications, which includes both amphetamines and methamphetamines. •If the screening test is positive (a reaction greater than the cutoff), then a mass spectrometry (MS) confirmation test is performed to determine which specific compounds, amphetamine and/or methamphetamine, are present. •Once methamphetamine is confirmed positive by MS, a third test may be performed to ascertain the ratio between the 2 isomers of methamphetamine. •The d,l-isomer test also is performed by MS. Understanding each of the 3 testing steps is essential to clinical decision making related to patient care. 39
  • 40. ประภพ ด่านเศรษฐกุล J Anal Toxicol. 2014 Oct; 38(8): 524–527. doi: 10.1093/jat/bku077 40
  • 44. So far, 100+ cannabinoids have been identified, estimate there to be 560 cannabinoid compounds contained in the Cannabis genus of plants. ประภพ ด่านเศรษฐกุล Some other cannabinoids that scientists have discovered include: 1. THC (tetrahydrocannabinol) 2. THCA (tetrahydrocannabinolic acid) 3. CBD (cannabidiol) 4. CBDA (cannabidiolic acid) 5. CBN (cannabinol) 6. CBC (cannabichromene) 7. CBL (cannabicyclol) 8. CBV (cannabivarin) 9. THCV (tetrahydrocannabivarin) 10. CBDV (cannabidivarin) 11. CBCV (cannabichromevarin) 12. CBGV (cannabigerovarin) 13. CBGM (cannabigerol monomethyl ether) 14. CBE (cannabielsoin) 15. CBT (cannabicitran) https://www.greencultured.co/what-does-cannabigerol-cbg-cannabinoid-do/ Terpene++ 44
  • 46. • การใช้กัญชาจะมีความเสี่ยงกับการเสพติด (cannabis addiction) โดยอัตราของ การเสพติดของกัญชา (rate of cannabis addiction) จะอยู่ระหว่าง 8 – 10 % ของ จานวนผู้เสพกัญชาทั้งหมด สาร delta-9 tetrahydrocannabinol (THC) จะเป็นสาร หลักที่มีฤทธิ์กระตุ้นประสาท (principal psychoactive phytocannabinoid) • cannabidiol (CBD) และ delta-9-tetrahydrocannabirarin ( 9-THCV) เป็นสาร ต้านฤทธิ์การเสพติดที่มีประสิทธิผล (anti-addition efficacy) โดยจะแย่งมิให้ THC จับกับตัวรับ (receptors) CB1 ทาให้ผลการกระตุ้นประสาทของ THC ลดลง • ผู้ที่สูบกัญชา จะตรวจพบ THC ในพลาสม่า ซึ่งจะมีค่าครึ่งชีวิต (half life) 2 ชั่วโมง และถ้าสูบต่อเนื่อง 5 – 7 นาที จะตรวจพบปริมาณของ THC เทียบเท่าปริมาณ 10 – 15 มก. และจะพบปริมาณ 9-THC ประมาณ 100 มก./ลิตร ถ้ากินกัญชาจะให้ ฤทธิ์การกระตุ้นประสาทที่น้อยกว่าเนื่องจาก THC ละลายน้าได้น้อย • ผู้เสพติดกัญชาจะมีความต้องการอย่างมากที่จะเสพ ไม่สามารถที่จะลดการ เสพลงได้ เกิดภาวการณ์หยุดยาและเกิดพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม (withdrawal and behavioural systems) ประภพ ด่านเศรษฐกุล 46
  • 47. ประภพ ด่านเศรษฐกุล ผลิตภัณฑ์กัญชา GPO มี 3 สูตร ดังนี้ 1.สูตรที่มีสารทีเอชซี (THC) เด่น กล่องสีแดง ซึ่งอาจมีฤทธิ์มึนเมา ได้ กัญชาสายพันธุ์แรง 2.สูตรที่มีสารซีบีดี (CBD) เด่น กล่องสีเขียว มีฤทธิ์มึนเมาต่า กัญชาสายพันธุ์อ่อน 3.สูตรที่มีอัตราส่วนสารซีบีดี และทีเอชซี 1 : 1 (THC : CBD 1:1) กล่องสีเหลือง เป็นกัญชาสายพันธุ์ผสม มีฤทธิ์มึนเมาปานกลาง เรื่องความปลอดภัยของ GPO THC พบว่า ขนาดของ delta-9-THC ที่ทาให้ คนเสียชีวิตเป็นจานวน 50 % (Lethal dose) ต้องมีการใช้ในขนาดปริมาณสูง ถึง 4 กรัม ในผู้ที่มีน้าหนัก 70 กิโลกรัม (ค่าประมาณจากการคานวณ) ซึ่ง ขนาดยานี้ คนไม่สามารถได้รับจากการรับประทาน การสูบ หรือการสูดดมสาร ระเหย (vaporizing) ของสารดังกล่าวได้ นอกจากนี้การให้ยา THC 2.5 mg ทางหลอดเลือดดา ไม่ก่อให้เกิดอันตรายร้ายแรงถึงชีวิต แต่อาจ ก่อให้เกิดอาการข้างเคียง GPO THC มีความแรงเพียง 0.5 mg ต่อหยด ซึ่งน้อยกว่าขนาดยาดังกล่าว 5 เท่า จึงมีความปลอดภัยต่อผู้ป่วย แต่ อย่างไรก็ตามการใช้ยา GPO THC จะต้องอยู่ภายใต้คาแนะนาของแพทย์หรือ เภสัชกรที่ผ่านการอบรม https://news.thaipbs.or.th/content/282539 47
  • 48. กัญชา และ กัญชง ยังคงเป็นยาเสพติดให้โทษประเภท 5 หากผู้ใดลักลอบผลิต นาเข้า ส่งออก จาหน่าย ครอบครองเพื่อจาหน่าย และเพื่อเสพกัญชง ก็จะถูกดาเนินคดีตาม พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522 ยาเสพติดให้โทษประเภท 5 ประภพ ด่านเศรษฐกุล 48
  • 49. ประภพ ด่านเศรษฐกุล https://www.apoe4.info/wiki/Cannabinoids,_Cannabidiol_(CBD),_THC,_HEMP,_Marijuana, _Cannabis กัญชง (Hemp) กัญชา (Cannabis) เป็นพืชที่มีถิ่นกาเนิดจากพืชชนิดเดียวกัน และมีสารสาคัญ 3 ชนิด คือ Tetrahydrocannabinol(THC), Cannabinol(CBN) และ Cannabidiol (CBD) ซึ่ง THC เป็นสารเสพติดส่งผล ต่อระบบสมอง โดยในกัญชงจะมีสาร THC น้อยกว่า 0.3 % แต่ในกัญชาจะมีสาร THC สูง 1-10% มีฤทธิ์ กระตุ้นประสาท หากเสพต่อเนื่องจะทาให้มีอาการเสพติด ส่งผลอันตรายต่อร่างกายและสมอง 49
  • 50. “คาแนะนาการใช้กัญชาทางการแพทย์” 1. ไม่มีขนาดยาเริ่มต้นที่แน่นอนในผลิตภัณฑ์กัญชาแต่ละชนิด ขนาดยาที่เหมาะสมขึ้นกับลักษณะของ ผู้ป่วยแต่ละคนและปรับตามแต่ละผลิตภัณฑ์ โดยเริ่มต้นขนาดต่าและปรับเพิ่มขนาดช้าๆ จนได้ขนาดยา เหมาะสมที่ให้ผลการรักษาสูงสุด และเกิดผลข้างเคียงต่าสุด ขนาดยาในระดับต่ามีโอกาสเกิดผลข้างเคียงน้อย 2. ผู้ที่เริ่มต้นรักษา และได้รับผลิตภัณฑ์กัญชาเป็นครั้งแรกควรเริ่มต้นที่ขนาดต่ามากๆ เฝ้าระวังผลข้างเคียง 3. การให้สารสกัดกัญชาในครั้งแรกควรให้เวลาก่อนนอนและมีผู้ดูแลใกล้ชิด เนื่องจากอาจเกิดผลข้างเคียงได้ 4. เนื่องจากยังไม่มีข้อมูลการใช้สารสกัดกัญชาในรูปน้ามัน ก่อนเริ่มรักษาควรตรวจการทางานของตับ (liver function test) เป็นข้อมูลเบื้องต้น ภายหลังเริ่มต้นให้การรักษา 2 สัปดาห์ และทุก 2 สัปดาห์ ภายหลัง เพิ่มปริมาณที่ใช้ในแต่ละครั้ง เนื่องจากพบอุบัติการณ์ของตับอักเสบสูงขึ้น 5. ผู้สั่งใช้ต้องเฝ้าระวังและติดตามความปลอดภัยของการใช้สารสกัดกัญชา และเก็บรวบรวมข้อมูลของขนาดยาที่ใช้โดยเฉพาะเมื่อใช้ในผู้สูงอายุ และผู้ที่มีอายุน้อย ประภพ ด่านเศรษฐกุล 50
  • 51. ประภพ ด่านเศรษฐกุล การทดสอบ : กาตรวจคัดกรองหาสาร Cannabinoids (THC) ใน ปัสสาวะ 1. ข้อบ่งชี้ในการส่งตรวจ (indication) : การตรวจหาระดับ Canabinoids (THC) ในปัสสาวะ ด้วย DRI Cannabinoid assay ใช้เป็นการตรวจคัดกรอง เบื้องต้นของผู้ที่สงสัยว่าได้รับสาร Cannabinoids (THC) ใช้เพื่อการ Diagnosis และ treatment การรับยา Cannabinoids ทั้งทางการรักษาปกติ และการใช้เป็นยาเสพติด เพื่อประกอบการตัดสินใจของแพทย์ 2. สิ่งส่งตรวจ ( specimen ) ปริมาณและภาชนะที่ใช้เก็บ (collection medium) และการนาส่ง: ปัสสาวะที่เก็บใส่ภาชนะที่สะอาด (ขวดพลาสติก 15 - 20 ml) นาส่งห้องปฏิบัติการทันที หรือเก็บไว้ที่ตู้เย็น 2 - 8 องศา เซลเซียส ภายใน 24 ชั่วโมง แต่ถ้าไม่สามารถตรวจได้ภายใน 48 ชั่วโมงให้ เก็บที่อุณหภูมิ -10 องศาเซลเซียสหรือต่ากว่า ภายหลังละลายให้ผสมให้ดี ก่อนตรวจ 3. วิธีการรายงานผล และแปลผล : ผลการทดสอบเป็นค่าความเข้มข้น ซึ่ง คานวณจากค่ามาตรฐาน (Standard Curve) มีหน่วยเป็น ng/mL - ความเข้มข้นของปริมาณสาร metabolite < 50 ng/mL ถือว่า Negative - ความเข้มข้นของปริมาณสาร metabolite > 50 ng/mL ถือว่า Positive - ค่า cutoff ยึดตามสถาบัน SAMHSA (NIDA) แนะนาให้ใช้เกณฑ์ตัดสินที่ ความเข้มข้น 50 ng/mL ในการตรวจคัดกรองสาร - ความเข้มข้นของปริมาณสาร metabolite ที่ตรวจพบในปัสสาวะ ไม่มีความสัมพันธ์กับ ระดับสารในกระแสเลือด การตรวจพบสาร metabolite บ่งชี้ว่ามีการใช้ยาเท่านั้น 4. วิธีตรวจ (methodology) : DRI Cannabinoid assay หลักการ Homogeneous enzyme immunoassay 51
  • 52. การทดสอบที่ให้บริการใน ปัจจุบัน SAMHSA Panel: Analyte Attributes Common Name Analytes Detection Window Screening for Abuse Marijuana (Pot) Metabolite: THCA (11-nor- Δ 9 -THC-COOH) Single Use: 3 days 4 times/wk Use: 5-7 days Daily Use: 10-15 days Heavy User: 3+ weeks 9 Marijuana is rapidly metabolized, with little to none found in the urine. However, its major metabolite, THCA, is detectable within hours after exposure and for up to 3+ weeks in heavy users. Therefore, only the metabolite is required for detection. 16 ประภพ ด่านเศรษฐกุล 52
  • 53. THC-Positive (xx.xx ng/mL) in urine ติดตามปริมาณเพื่อ medical decision ติดตามการใช้ที่ไม่พึงประสงค์ ติดตามปริมาณกับการเสพติด >50 ng/mL ….. ผิดกฎหมาย ประภพ ด่านเศรษฐกุล CBD บริสุทธิ์ CBD+THC (น้อยกว่า 0.2%) https://www.thairath.co.th/news/local/northeast/1643463 THC-Negative (00.00 ng/mL) in urine น้ามันกัญชาสกัด RSO หรือ เรียกว่า น้าตานกฟิ นิกส์ ในกรณีนี้ จะผิดกฏหมาย จึงต้องทาการสกัดน้ามันกัญชา เองที่บ้านได้ มี วิธีการสอนใน Youtube https://น้ํามันกัญชา สกัด.com/%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B3%E0%B8%A1%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%81%E0% B8%B1%E0%B8%8D%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%94/397 สารสกัดกัญชาทางการแพทย์ จ่ายโดยแพทย์ในสถานพยาบาล 53
  • 54. Sample ID Test Name Result Result unit Interpretation Date 621001065 DRI THC 5SQ 12.5 ng/mL [-] 01/10/62 621015054 DRI THC 5SQ 32.5 ng/mL [-] 15/10/62 621029015 DRI THC 5SQ 36.0 ng/mL [-] 29/10/62 621112130 DRI THC 5SQ 52.5 ng/mL [+] 12/11/62 ตัวอย่างการรายงานผลเชิงคุณภาพและปริมาณ ชื่อหน่วยงาน Date ………………………….…. Patient ID 620532365 Patient name ……………………… Sample type …………………… Time ………………………….... ประภพ ด่านเศรษฐกุล การใช้ประโยชน์ของผลการทดสอบ 1. ใช้ในการแสดงว่ามี/ไม่มีสาร THC 2. ระดับของ THC ใช้เป็นข้อมูลเบื้องต้นเพื่อประโยชน์ด้านการบาบัดรักษา ติดตามผู้ใช้สาร 3. เป็นข้อมูลประกอบการพิจารณาทางกฎหมาย 54
  • 56. Specimen validity tests (SVT) • Methods used on a urine drug screen specimen to detect for substitution, adulteration, or dilution. • Thermo Fisher Scientific provides Specimen Validity Tests for creatinine, specific gravity, oxidizing agents (e.g. nitrites) and pH. ประภพ ด่านเศรษฐกุล 56
  • 57. Specimen validity tests (SVT) ประภพ ด่านเศรษฐกุล • Substitution and dilution of the urine samples is done by using either water or other liquids which have a color similar to urine, such as tea and/or apple juice. • SAMHSA recommends several ways to assess for this type of substitution/dilution by using Creatinine and Specific Gravity tests. • Creatinine is a waste product produced by the body and excreted in the urine at a relatively constant rate. Fluctuations in creatinine concentration may be an indication of hydration, dilution or substitution. • Specific gravity reflects the density of the urine specimen when compared to water. The lower the specific gravity, the closer its consistency to water and therefore possible indication of dilution or substitution. 57
  • 58. Specimen validity tests (SVT) ประภพ ด่านเศรษฐกุล Indicator SAMHSA Guidelines Thermo Scientific Test Creatinine Specific Gravity < 2 mg/dL ≤ 1.0010 or ≥ 1.0200 DRI Creatinine-Detect DRI Gravity-Detect Monitoring for Substitution Monitoring for Dilution Indicator SAMHSA Guidelines* SAMHSA Guidelines† Thermo Scientific Test Creatinine Specific Gravity 5 mg/dL but < 20 mg/dL ≥ 1.002 but < 1.003 ≥ 2 mg/mL but < 20 mg/dL > 1.0010 but < 1.0030 DRI Creatinine-Detect DRI Gravity-Detect 58
  • 59. Specimen validity tests (SVT) • Adulterants (Additives เจือปน) Oxidizing agents can be purchased commercially and used to adulterate urine samples. • The most commonly used oxidizing agents are nitrite (Klear™), chromate (Urine Luck™), iodine, bleach, and horseradish peroxidase (Stealth). • These oxidizing agents, when added to urine, do not show any significant change to the appearance of the urine and may not be detected by other methods such as pH, specific gravity or even creatinine concentration. • Testing the urine for pH gives an indication of whether the specimen is adulterated with bleach or ammonia (producing a basic pH >11.0) or adulterated with lemon juice or vinegar (producing an acidic pH < 4.0). ประภพ ด่านเศรษฐกุล 59
  • 60. Specimen validity tests (SVT) ประภพ ด่านเศรษฐกุล Indicator SAMHSA Guidelines Thermo Scientific Test pH pH < 4.0 or > 11.0 DRI™ pH-Detect Nitrite ≥ 500 µg/mL DRI General Oxidant-Detect Chromium ≥ 50 µg/mL DRI General Oxidant-Detect Halogens (bleach, iodine, fluoride) Use either a general oxidant or halogen colorimetric test DRI General Oxidant-Detect Pyridine Use either a general oxidant or chromium colorimetric test DRI General Oxidant-Detect 60
  • 63. Alcohol Determination in the Clinical Laboratory ประภพ ด่านเศรษฐกุล American Journal of Clinical Pathology 74(5):747-50 · December 1980 63
  • 64. ประภพ ด่านเศรษฐกุล DRITM EthOH (enzymatic method) Range: 10-600 mg/dL Plasma/ serum/ urine 64
  • 65. 1. ยกระดับมาตรฐานการบริการของสถานพยาบาล 2. สามารถควบคุมคุณภาพได้ทั้งกระบวนการทดสอบ 3. สามารถควบคุมค่าใช้จ่ายในกระบวนการคัดกรองและการส่งยืนยันผล 4. ลดอัตราเสี่ยงต่อการร้องเรียนผลผิดพลาดในกระบวนการคัดกรอง 5. เพิ่มประสิทธิภาพในกระบวนการบาบัดรักษา 6. เพิ่มประสิทธิภาพในมาตรการด้านยาเสพติดขององค์กร 7. สามารถใช้ประกอบมาตราการต่างๆเพื่อคืนคนดีสู่สังคม ประภพ ด่านเศรษฐกุล MEDICAL TECHNOLOGY LABORATORY SERVICE 65
  • 67. 1. Performing professional services with quality for taking care of individual and population health 2. Mastering novel and appropriate technology for health sciences application ประภพ ด่านเศรษฐกุล 67

Editor's Notes

  1. https://www.drugabuse.gov/publications/media-guide/science-drug-abuse-addiction-basics
  2. http://www.healthcarethai.com/ยาระงับประสาท/ http://elib.fda.moph.go.th/library/default.asp?page2=subdetail&id_L1=27&id_L2=15570&id_L3=520
  3. http://office.bangkok.go.th/doh/daptd/Knowledge/knowledge001.html
  4. http://www.slideshare.net/chat2recovery/dsm-5-update-p-p-revision https://sites.google.com/site/payhayasephtidnichumchn/prapheth-khxng-ya-seph-tid