SlideShare a Scribd company logo
นายแพทย์อุทิศศักดิ หริรัตนกุล
นายแพทย์เชียวชาญ(ด้านเวชกรรมป้ องกัน)
สํานักงานสาธารณสุขจ.นราธิวาส
โรคไข้เลือดออกอีโบลา (Ebola hemorrhagic fever)
โรคไข้เลือดออกมาร์เบิร์ก (Marburg virus disease)
โรคไข้เลือดออกเดงกี (Dengue hemorrhagic fever)
โรคไข้เลือดออกอีโบลา
(Ebola hemorrhagic fever)
อีโบลาเป็นโรคทีมีความรุนแรงมากทีสุดโรคหนึง
มีอัตราป่วยตายสูงถึงร้อยละ 50-90
เชืออีโบล่าเป็นเชือไข้เลือดออกทีพบในทวีปอัฟริกา
รู้จักเมือมีการระบาดครังแรกทีประเทศซาอีร์ และซูดาน
เมือปี พ.ศ.2519
โรคอีโบลา อยู่ในกลุ่มโรคไข้เลือดออก เกิดจากเชือไวรัสอีโบลา
ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางขนาดประมาณ 80 นาโนเมตร ยาว 790-970 นาโนเมตร
ในตระกูลฟิโลวิริดี (Filoviridae) ซึง
ประกอบด้วย 4 subtypes ได้แก่
-แซร์อีร์ (Zaire)
-ซูดาน (Sudan)
-ไอวอรีโคสท์ (Cote D’ Ivoire)
-เรสตัน (Reston)
3 subtypes แรก ทําให้เกิดการป่วย
รุนแรงในคนและมีอัตราตายสูงร้อยละ
50-90 ส่วนเรสตันพบในฟิลิปปินส์ ทํา
ให้เกิดอาการรุนแรงในลิง แต่ในคนไม่ทํา
ให้เกิดอาการ
โรคไข้เลือดออกมาร์บวร์ก
(Marburg virus disease)
โรคมาร์บวร์กเป็นโรคไข้เลือดออกทีเกิดขึนไม่บ่อยนัก มีการระบาดจํากัดในประเทศกลุ่ม
ทะเลทรายซาฮาราในประเทศแถบอัฟริกา มีอัตราการป่วยตายสูง
เชือก่อโรค
เกิดจากเชือไวรัส Marburg
มีลักษณะเป็น elongated filaments ใน
วงศ์ Filoviridae เช่นเดียวกับโรคอีโบล่า
Marburg Virus
ข้อมูล : สํานักระบาดวิทยา
• 26,067ราย อัตราป่วย 41.04 ต่อประชากรแสนคน
รายงานสะสม
• 33 ราย ร้อยละป่วยตาย 0.05ผู้ป่วยเสียชีวิต
• อยู่ลําดับที่ 33 ของประเทศ
• พบผู้ป่วย 283ราย อัตราป่วย 38.20 ต่อประชากรแสนคน
• ไม่มีผู้ป่วยเสียชีวิต
จังหวัด
นราธิวาส
ที่มา : สํานักระบาดวิทยา กระทรวงสาธารณสุข ณ 30 เมย 56
• กรุงเทพฯ, ฉะเชิงเทรา, สมุทรปราการ, นครปฐม , ประจวบคีรีขันธ์,
ระยอง,, พังงา,ภูเก็ต, ปัตตานี ,ยะลา, อุบลราชธานี,เชียงใหม่ ,กําแพง
เพชร,นครสวรรค์
เสียชีวิต 1 ราย
• สุรินทร์,เลย,นครราชสีมาเสียชีวิต 2 ราย
• นครศรีธรรมราชเสียชีวิต 3 ราย
• สงขลาเสียชีวิต 6 ราย
จังหวัดที่มีผู้ป่วยเสียชีวิต
ที่มา : สํานักระบาดวิทยา กระทรวงสาธารณสุข ณ 30 เมย 56
ปี 56
มีผู้ป่ วย 120,000-150,000 ราย
เสียชีวิต 140-200 ราย
ร้อยละ 80 เข้า รพ. เพือรับการรักษา
ร้อยละ 2 อาการรุนแรงถึงช๊อค
0
10
20
30
40
50
60
70
80
90
100
74.3
40.06
32.05 31.18
40.68
อัตราป่วยต่อประชากรแสนคน
ที่มา : สํานักระบาดวิทยา กระทรวงสาธารณสุข ณ 30 เม.ย.56
ภาค
0
20
40
60
80
100
120
140
160
180
200
158.45 148.62
122.65
82.89
82.01 79.49 76.51 72.97 72.94 69.12
จังหวัด
ที่มา : สํานักระบาดวิทยา กระทรวงสาธารณสุข ณ 30 เม.ย. 56
อัตราป่วยต่อประชากรแสนคน
0
20
40
60
80
100
120
140
160
180
200
158.45
76.51
46.12
38.93
34.39 29.97 28.2
ที่มา : สํานักระบาดวิทยา กระทรวงสาธารณสุข ณ 30 เม.ย. 56
จังหวัด
อัตราป่วยต่อประชากรแสนคน
0
20
40
60
80
100
อําเภอ
ที่มา : ฝ่ายควบคุมโรคติดต่อและระบาดวิทยา สสจ.นราธิวาส ณ 30 เมย 56
อัตราป่วยต่อประชากรแสนคน
0
5
10
15
20
อําเภอ
ที่มา : ฝ่ายควบคุมโรคติดต่อและระบาดวิทยา สสจ.นราธิวาส ณ 30 เมย 56
อัตราป่วยต่อประชากรแสนคน
ม.ค
.
ก.พ
.
มี.ค
.
เม.
ย.
พ.ค
.
มิ.ย
.
ก.ค
.
ส.ค
.
ก.ย
.
ต.ค
.
พ.ย
.
ธ.ค
.
ค่ามัธยฐาน( ปี 51-55) 57 40 28 15 31 50 27 37 28 54 84 58
จํานวนป่ วย ปี 56 99 72 70 42 0 0 0 0 0 0 0 0
0
10
20
30
40
50
60
70
80
90
100
110
120
จํานวนผู้ป่วย
ทีมา : ข้อมูลเฝ้ าระวังโรค สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดนราธิวาส 30 เม.ย.56
อําเภอ รวม จน.ผู้ป่วย
4 สัปดาห์ล่าสุด
จํานวนผู้ป่วย 4 สัปดาห์ล่าสุด
สัปดาห์ที่ 14
31มี.ค -6 เม.ย.
สัปดาห์ที่ 15
7-13 เม.ย.
สัปดาห์ที่ 16
14-20เม.ย
สัปดาห์ที่ 17
21-27 เม.ย
1.ระแงะ 12 1 2 4 5
2.รือเสาะ 8 3 2 3 0
3.สุไหงโก-ลก 3 0 3 0 0
4.สุไหงปาดี 7 3 3 1 0
5.บาเจาะ 1 0 0 1 0
6.ยี่งอ 0 0 0 0 0
7.แว้ง 1 0 0 1 0
8.ตากใบ 0 0 0 0 0
9.เจาะไอร้อง 0 0 0 0 0
10.สุคิริน 2 0 1 1 0
11.ศรีสาคร 1 0 0 1 0
12จะแนะ 1 0 0 1 0
13.เมืองนราธิวาส 6 0 3 3 0
รวม 42 7 14 16 5
จ.ปัตตานี
ประเทศมาเลเซีย
ประเทศมาเลเซีย
N
แว้ง
สุคิริน
จะแนะ
อ.สุไหงปาดี
ตากใบเจาะไอร้องอ.ระแงะ
ศรีสาคร
รือเสาะ เมือง
ยีงอ
บาเจาะ
จ.ยะลา
สุไหงโก-ลก
จ.ปัตตานี
1 -10
11 - 20
21 -30
31- 40
41-50
51 ขึนไป
จํานวนผู้ป่ วย
จ.ปัตตานี
ประเทศมาเลเซีย
ประเทศมาเลเซีย
N
แว้ง
สุคิริน
จะแนะ
สุไหงปาดี
ตากใบเจาะไอร้องระแงะ
ศรีสาคร
รือเสาะ เมือง
ยีงอ
บาเจาะ
จ.ยะลา
จ.ปัตตานี
พบผู้ป่ วย
ไม่พบผู้ป่ วย
ยุงลายพาหะนําโรคไข้เลือดออก
ในวงจรชีวิตของยุงลายประกอบด้วยระยะต่างๆ 4 ระยะ ได้แก่
ระยะไข่, ระยะตัวอ่อน (ลูกนํา)ระยะดักแด้หรือตัวกลางวัย (ตัวโม่ง), และ
ระยะตัวเต็มวัย (ตัวยุง) ทัง 4 ระยะมีความแตกต่างกันทังรูปร่างลักษณะ
และการดํารงชีวิต
ยุงลายเป็นแมลงจําพวกหนึง ในประเทศไทยมียุงลายมากกว่า 100 ชนิด แต่ทีเป็น
พาหะ นําโรคไข้เลือดออกมีอยู่ 2 ชนิด คือ ยุงลายบ้าน (Aedes aegypti) เป็นพาหะหลัก
และยุงลายสวน (Aedes albopictus) เป็นพาหะรอง
ภาพ : สํานักโรคติดต่อนําโดยแมลง
ระยะไข่
ไข่ยุงลายมีลักษณะรี คล้ายกระสวย เมือวางออกมาใหม่ๆ
จะมีสีขาวนวล ต่อมาจะเปลียนเป็นสีนําตาลและดําสนิท
ภายใน 24 ชัวโมง
ไม่มีขา ส่วนอกมีขนาดใหญ่กว่าส่วนหัว ส่วนท้องยาวเรียว
ประกอบด้วยปล้อง 10 ปล้อง มีท่อหายใจ บนปล้องที 8 ใช้ใน
การหายใจ ท่อหายใจของยุงลายสันกว่าท่อหายใจของยุง
รําคาญ และมีกลุ่มขน 1 กลุ่มอยู่บนท่อหายใจนัน
ไม่มีขา รูปร่างคล้ายเครืองหมายจุลภาค (,) มีอวัยวะใช้ในการหายใจ 1
คู่อยู่บนส่วน cephalothorax (ส่วนหัวรวมกับส่วนอก)
ระยะลูกนํา
ระยะตัวโม่ง
ระยะตัวเต็มวัย (ตัวยุง)
1. ลําตัวแบ่งเป็น 3 ส่วน คือ ส่วนหัว อก ท้องมี
เกล็ดสีดําสลับขาวตามลําตัว
2. มีขา 3 คู่ อยู่ทีส่วนอก ขามีสีดําสลับขาวเป็น
ปล้อง
3. มีปีก 1 คู่ อยู่บริเวณอก ปีบางใส
4. มีปากยาวเป็นแบบแทงดูด
5,เส้นหนวด ของยุงตัวผู้ยาวเป็นพู่ขนนก แต่ของ
ยุงตัวเมียจะสันกว่าเป็นแบบเส้นด้าย
หนวดจึงใช้แยกเพศของยุงได้
ทีบริเวณอกจะมีหนามแหลม
ยุงลายบ้าน (Aedes aegypti)
ยุงลายสวน (Aedes albopictus)
ส่วนอกไม่มีหนามแหลม
บริเวณระยางค์ปากปกคลุมด้วยเกล็ดสีขาว
มีเกล็ดสีดําทีระยางค์ปาก
ทีส่วนอกบริเวณกึงกลางหลังจะมีขนแข็ง
และมีเกล็ดสีขาวเรียงตัวกัน
ด้านหลังของส่วนอกมีแถบสีขาวพาด
อยู่ตรงกลาง
การติดต่อ : มียุงลายเป็นพาหะนําโรค
โรคไข้เลือดออกติดต่อกันได้โดยมียุงลายบ้าน (Aedes aegypti) เป็นพาหะนําโรคทีสําคัญ
ภาพ : สํานักโรคติดต่อนําโดยแมลง
การควบคุมโรคไข้เลือดออก
กลยุทธ์
- ป้องกันและควบคุมการ
ระบาด
- การดูแลรักษาผู้ป่วย
- การเฝ้าระวังโรค
- ประเมินผล (ระบบ)
- Early Diagnosis & Prompt
Treatment (EDPT)
- การจัดการด้านสิงแวดล้อมและทําลาย
แหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในเขตเมือง/ชุมชน
(ป้ องกันล่วงหน้า)
- สร้างความเข้มแข็งชุมชน
-สํารวจลูกนํายุงลาย
-Active Surveillance
-พัฒนาระบบฐานข้อมูล
(DBMS)/ GIS
- การควบคุมการระบาด
(ประสิทธิภาพ SRRT)
-Case management
-Dead case conference
-Multisectoral Networking
สนับสนุนทรัพยากร
- สารเคมี
-พัฒนาการวินิจฉัย/รักษา
-(แพทย์/พยาบาล/จสส)
พัฒนาองค์ความรู้-KM
(Expert Committee)
การวินิจฉัยอาศัยอาการทางคลินิกร่วมกับผลการตรวจทางโลหิตวิทยา
1. ไข้สูงเฉียบพลัน และสูงลอย 2 - 7 วัน
2. อาการเลือดออกอย่างน้อย tourniquet test ให้ผลบวกร่วมกับ
อาการเลือดออกอืน
3. ปริมาณเกล็ดเลือด 100,000 เซลล์ / ลบ.มม. หรือนับจํานวน
เกล็ดเลือดใน 10 oil field ค่าเฉลีย 3 per oil fied
4. ความเข็มข้นของเม็ดเลือดแดง (Hct) เพิมขึน เท่ากับหรือ
มากกว่า 20 % เมือเทียบกับ Hct เดิม
การส่งตัวอย่างนําเหลือง (Serology) เพือตรวจยืนยันโรคไข้เลือดออก ควรส่งเมือผู้ป่วย
มีอาการรวมทังผลการตรวจโลหิตวิทยาไม่ชัดเจน หรือผู้ป่วยมีอาการลักษณะแปลกออกไป
(Unusual manifestation) เช่น อาการทางสมอง ทางตับ
1. ในระยะไข้สูงให้ยาลดไข้ควรใช้ยาพวกพาราเซตามอล ห้ามใช้ยาพวกแอสไพริน เพราะ
จะทําให้เกร็ดเลือดเสียการทํางาน จะระคายกระเพาะทําให้เลือดออกได้ง่ายขึน ควรจะใช้การ
เช็ดตัวช่วยลดไข้ด้วย
2. ให้ผู้ป่วยได้นําชดเชย เพราะผู้ป่วยส่วนใหญ่มีไข้สูง เบืออาหาร และอาเจียน ทําให้
ขาดนํา และเกลือโซเดียมด้วย ควรให้ผู้ป่วยดืมนําผลไม้หรือ สารละลายผงนําตาลเกลือ
แร่ (โอ อาร์ เอส) ในรายทีอาเจียนให้ดืมครังละน้อยๆ และดืมบ่อยๆ
3. จะต้องติดตามดูอาการผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด เพือจะได้ตรวจพบและป้องกันภาวะช็อก
ได้ทันเวลา
ขณะนียัง ไม่มียาต้านไวรัสทีมีฤทธิเฉพาะสําหรับเชือไข้เลือดออก และวัคซีนป้ องกัน
กําลังอยู่ในระหว่างศึกษาทดลอง
การรักษาโรคนีเป็นแบบการรักษาตามอาการและประคับประคอง
เกณฑ์ทางคลินิก (Clinical Criteria) แบ่งเป็น 2 ชนิด
◦ ไข้เดงกี มีไข้เฉียบพลัน ร่วมกับ อาการอืนๆ อย่างน้อย 2 อาการ
ปวดศีรษะอย่างรุนแรง ปวดกระบอกตา ปวดกล้ามเนือ ปวดกระดูกหรือข้อต่อ มีผืน มีอาการ
เลือดออก tourniquet test ให้ผลบวก
◦ ไข้เลือดออก มีไข้เฉียบพลัน และ tourniquet test ให้ผลบวกร่วมกับ อาการอืนๆ
อย่างน้อย 1 อาการ
ปวดศีรษะอย่างรุนแรง ปวดกระบอกตา ปวดกล้ามเนือ ปวดกระดูกหรือข้อต่อ มีผืน มีอาการ
เลือดออก ตับโตมักกดเจ็บ มีการเปลียนแปลงทางระบบไหลเวียนโลหิต หรือมีภาวะความดันโลหิตลด
ตําลง (shock)
เกณฑ์ทางห้องปฏิบัติการ (Laboratory Criteria)
ทัวไป
◦ Complete Blood Count (CBC)
มีจํานวนเม็ดเลือดขาวตํา (< 5,000 เซล/ลูกบาศก์มิลลิเมตร) โดยมีสัดส่วน lymphocyte สูง (ในกรณี
ของไข้เดงกี)
มีเกล็ดเลือดตํากว่า 100,000 เซล/ลูกบาศก์มิลลิเมตร (ในกรณีของไข้เลือดออก)
มีฮีมาโตคริตเพิมขึนร้อยละ 10 - 20 จากเดิม (ในกรณีของไข้เลือดออก)
◦ Chest x-rays (ในกรณีของไข้เลือดออก)
- จะพบ pleural effusion ได้เสมอ โดยส่วนใหญ่จะพบทางด้านขวา แต่ในรายทีมีอาการ
รุนแรงอาจพบได้ทัง 2 ข้าง แต่ข้างขวาจะมีมากกว่าข้างซ้ายเสมอ
เกณฑ์ทางห้องปฏิบัติการ (Laboratory Criteria)
จําเพาะ
◦ ตรวจพบเชือได้จากเลือดในระยะไข้ โดยวิธี PCR หรือการแยกเชือ หรือ
◦ ตรวจ พบแอนติบอดีจําเพาะต่อเชือในนําเหลืองคู่ (paired sera) ด้วยวิธี
Hemagglutination Inhibition (HI) > 4 เท่า หรือ ถ้านําเหลืองเดียว ต้องพบ
ภูมิคุ้มกัน > 1: 1,280 หรือ
◦ ตรวจพบภูมิคุ้มกันชนิด IgM > 40 ยูนิต หรือการเพิมขึนของ IgG อย่างมีนัยสําคัญโดยวิธี
Enzyme Immuno Assay (EIA)
ผู้ป่วยทีสงสัย(Suspected case) หมายถึง ผู้ทีมีอาการตามเกณฑ์ทางคลินิก
ผู้ป่วยทีเข้าข่าย(Probable case) หมายถึง ผู้ทีมีอาการตามเกณฑ์ทางคลินิก
และ มีลักษณะอย่างใดอย่างหนึง ดังนี
◦ มีผลการตรวจเลือดทัวไป
◦ มีผลการเชือมโยงทางระบาดวิทยากับผู้ป่วยรายอืนๆ ทีมีผลการตรวจยืนยันทางห้องปฏิบัติการ
จําเพาะ
ผู้ป่วยทียืนยันผล (Confirmed case) หมายถึง ผู้ทีมีอาการตามเกณฑ์ทาง
คลินิก และ มีผลตามเกณฑ์ทางห้องปฏิบัติการจําเพาะ
การรายงานผู้ป่วยตามระบบเฝ้ าระวังโรค-รง.506(Reporting Criteria) ให้
รายงานได้ตังแต่ ผู้ป่วยทีสงสัย (Suspected case)
การสอบสวนโรค(Epidemiological Investigation
◦ สอบสวนเฉพาะราย (Individual Investigation)
◦ สอบสวนการระบาด (Outbreak Investigation) ในกรณีทีเกิดโรคเป็นกลุ่มก้อน
ให้รีบทําการสอบสวนการระบาดทันที เพือหาเชือก่อโรค และสาเหตุการระบาดในครังนัน เพือ
การวางแผนในการควบคุมในครังนี และป้ องกันการระบาดในครังต่อไปได้อย่างถูกต้อง
การควบคุมโรคไข้เลือดออก
กลยุทธ์
- ป้องกันและควบคุมการ
ระบาด
- การดูแลรักษาผู้ป่วย
- การเฝ้าระวังโรค
- ประเมินผล (ระบบ)
- Early Diagnosis & Prompt
Treatment (EDPT)
- การจัดการด้านสิงแวดล้อมและทําลาย
แหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในเขตเมือง/ชุมชน
(ป้ องกันล่วงหน้า)
- สร้างความเข้มแข็งชุมชน
-สํารวจลูกนํายุงลาย
-Active Surveillance
-พัฒนาระบบฐานข้อมูล
(DBMS)/ GIS
- การควบคุมการระบาด
(ประสิทธิภาพ SRRT)
-Case management
-Dead case conference
-Multisectoral Networking
สนับสนุนทรัพยากร
- สารเคมี
-พัฒนาการวินิจฉัย/รักษา
-(แพทย์/พยาบาล/จสส)
พัฒนาองค์ความรู้-KM
(Expert Committee)
คาดการณ์จํานวนผู้ป่วย คาดการณ์ความชุกชุมยุงลาย
รวมพลังเร่งรัด
กําจัดลูกนํา
ร่วมมือ ร่วมจิต
ช่วยชีวิตผู้ป่วย
โรงเรือน/ โรงเรียน/
โรงงาน/โรงพยาบาล
ปิด‐เปิด‐กลางเทอม
ตะไคร้หอมทากันยุง
อสม.นําชุมชน
ครม.สนับสนุน
•เตรียมพร้อมทีมแพทย์ ทุก รพ.
•จัดแพทย์ผู้เชียวชาญทีปรึกษา
•จัดหาสํารองเวชภัณฑ์
•แนะนํากลุ่มเสียงรีบมา รพ.
มีเวลาทอง
เพียง 2-3
เดือน
สือสาร ประชาสัมพันธ์ กว้างขวาง
ประสาน เครือข่าย ทุกภาคส่วน
1 ตําบล 1 หมู่บ้าน
ปลอดลูกนํายุงลาย
มัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี (2551-2555)
จํานวนผู้ป่วย(ราย)
วิเคราะห์สาเหตุการระบาด และสอบสวนแหล่งรังโรค
กําจัดศักยภาพของแหล่งรังโรค ในพืนทีเสียง เพือลดจํานวนลูกนํายุงลายให้เหลือน้อยทีสุด
คือ ให้มีค่าดัชนีลูกนํายุงลาย (HI ≤ 10, CI = 0)
ระงับการแพร่เชือในพืนที ด้วยการเฝ้ าระวังโรค ค้นหาผู้ป่วย ตรวจวินิจฉัย ป้ องกันยุงกัด และ
ควบคุมยุงพาหะ เพือกําจัดยุงลายทีมีเชือไวรัสให้เหลือน้อยทีสุดหรือถูกทําลายจนหมดไป
ทางกายภาพ ได้แก่ การปิดภาชนะกักเก็บนําด้วยฝาปิด สําหรับภาชนะทียังไม่ได้ใช้
ประโยชน์ควรจะควําไว้ สําหรับสิงของทีไม่มีประโยชน์หรือสิงของเหลือใช้ควรเผาหรือฝัง
แล้วแต่ความสะดวก
ทางชีวภาพ คือ การปล่อยปลากินลูกนําลงในภาชนะเก็บกักนํา สามารถขอพันธุ์ปลาได้
จากสํานักงานป้ องกันควบคุมโรค ศูนย์ควบคุมโรคติดต่อนําโดยแมลง และสํานักงาน
สาธารณสุขจังหวัด
สารเคมี ได้แก่ ทรายทีมีฟอส ควรใช้เฉพาะกับภาชนะเก็บนําทีไม่สามารถปิดหรือใส่ปลากิน
ลูกนําได้
การกําจัดทางกายภาพ
การควบคุมสิงแวดล้อมเป็นการเปลียนแปลงสิงแวดล้อม เพือไม่ให้ยุงมีการขยายพันธุ์
การปิดฝาภาชนะให้มิดชิด ใช้กับดักลูกนํา ทําลายแหล่งเพาะพันธุ์ ขัดผิว
ภายในของภาชนะและถ่ายเทนําทุก 7 วัน (แต่ห้ามเทนําในแหล่งนํา หรือท่อ
ระบายนํา เพราะไข่ และลูกนําจะเจริญเติบได้ดีในแหล่งนันๆ) วิธีทางกายภาพ
เป็นวิธีทีดีทีสุด แต่ทํายากทีสุด เพราะประชาชนไม่ค่อยนิยม
-ด้วยการใช้สิงทีมีชีวิตกําจัดลูกนํา เช่น ปลากินลูกนํา แบคทีเรีย (BTI)
ดักแด้ของแมลงปอ ลูกนํายุงยักษ์ เป็นต้น แต่มักจะไม่ได้รับความสนใจเท่าทีควร
- สารเทมีฟอส (Temephos) หรือปัจจุบันเรียกว่า สารเคมีกําจัดลูกนํา หรือทีรู้จักกันในชือ
ทรายอะเบท สารเคมีชนิดนีกําจัดลูกนําได้ดีสามารถออกฤทธิได้นานกว่า 3 เดือน
ทรายอะเบทไม่ทําลายตัวโม่ง แต่ถ้าเกิดเป็นยุงแล้วจะมีอายุไม่ยืน
1.การพ่นหมอกควัน วิธีนีได้ผลในการกําจัดตัวแก่น้อย
จะต้องพ่นบ่อยครัง ทุก 2-3 วัน และต้องปิดประตู
หน้าต่างให้มิดชิดขณะพ่น
2.การพ่นฝอยละออง (ULV) เป็นวิธีการกําจัดตัว
แก่ได้ดีทีสุด แต่ขึนอยู่กับยาฆ่าแมลงด้วย
การพ่นหมอกควัน หรือพ่น ULV จะต้องพ่นใน
บ้าน จะเป็นเวลาใดก็ได้ทีประชาชนยอมรับ เพราะ
ยุงลายบ้านอาศัยอยู่ในบ้านเป็นส่วนใหญ่ แต่ถ้าจะ
พ่นด้วยเครืองพ่นขนาดใหญ่ทีติดตังบนรถบรรทุก
จะต้องพ่นในขณะทีลมไม่แรง และเวลาเช้าหรือเย็น
เท่านัน
พ่นเคมีกําจัดยุงลาย ไม่ว่าจะใช้ในกรณีใด จะมีผลลดจํานวนยุงอยู่เพียงระยะสัน
จําเป็นต้องมีการควบคุมแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายร่วมด้วยเสมอ เพือส่งเสริมให้การควบคุม
ยุงลายมีประสิทธิภาพในระยะยาว
1.การพ่นฝอยละออง (Ultra Low Volume or ULV) นํายาเคมีจะถูก
พ่นจากเครืองพ่นโดยแรงอัดอากาศ ผ่านรูพ่น กระจายออกมาเป็นฝอยละออง ขนาดเล็ก
มาก ซึงจะกระจายอยู่ในอากาศเพือให้สัมผัสกับตัวยุง เครืองพ่นมีทังแบบติดตังบนรถยนต์
และแบบสะพายหลัง
2.การพ่นหมอกควัน นํายาเคมีจะถูกพ่นโดยอาศัยอากาศร้อนช่วยในการแตกตัวของ
สารเคมีจากเครืองพ่นกลายเป็นหมอกควันฟุ้ งกระจาย เครืองพ่นหมอกควันมีทังแบบติด
รถยนต์ และแบบหิว
การควบคุมป้ องกัน
โรคไข้เลือดออก
พ่นด้วยเครือง ULV
พ่นเครืองหมอกควันและจ่ายทรายอะเบท
-ใส่เสือผ้าทีหนาพอสมควร ควรจะใส่เสือแขนขาว กางเกงขายาว
และควรใช้สีอ่อนๆ
-การใช้สารไล่ยุง ทีขายตามท้องตลาดมีหลายรูปแบบ เช่น ชนิดขด แผ่น
ครีม หรือนํา ซึงเหมาะสําหรับการใช้ทีแตกต่างกันไป
-นอนในมุ้งลวด หรือมุ้ง
ยุงลายจะวางไข่ตามภาชนะขังนําทีมีนํานิงและใส นํานันอาจจะสะอาดหรือไม่ก็ได้นําฝนมัก
เป็นนําทียุงลายชอบวางไข่มากทีสุด
ทางสือมวลชน โดยกระจายข่าวทางวิทยุ, โทรทัศน์, หนังสือพิมพ์, เสียงตามสาย หอกระจาย
ข่าวตามหมู่บ้าน
ทางโรงเรียน ให้ความรู้เรืองโรคไข้เลือดออกแก่เด็กนักเรียน หรืออาจให้ความรู้แก่ ครูอาจารย์
ทีสอนวิชาสุขศึกษา เน้นให้เด็กนักเรียนปฏิบัติตาม รวมทังนําไปถ่ายทอดให้แก่ทีบ้าน
แจกเอกสารสุขศึกษา เช่นแผ่นพับ ติดโปสเตอร์ รูปภาพ ตามสถานทีซึงประชาชนมักจะมา
ชุมนุมกันมาก ๆ
ให้สุขศึกษาแก่ประชาชนทีมารับบริการทีสถานบริการ และเมือออกไปเยียมบ้านหรือออก
ปฏิบัติงานในท้องที ก็ควรจะถือโอกาสให้ความรู้แก่ประชาชนไปด้วย
เนืองจากไข้เลือดออกระบาดโดยมียุงเป็นตัวแพร่พันธ์ ดังนัน เมือมีคนในบ้านหรือข้าง
บ้านเป็น ไข้เลือดออกควรจะบอกคนในบ้าน หรือข้างบ้านว่ามีไข้เลือดออกด้วย และแจ้ง
สาธารณสุขให้มาฉีดยา หมอกควันเพือฆ่ายุง รวมถึงดูแลให้สมาชิกในครอบครัว ป้ องกัน
การถูก ยุงกัด สํารวจภายในบ้าน รอบบ้าน รวมทังเพือนบ้านว่ามีแหล่งแพร่พันธุ์ยุงหรือไม่
หากมีให้รีบ จัดการ และทําลายแหล่ง
นอกจากนีต้องคอยระวังเฝ้ าดูอาการของ สมาชิกในบ้านหรือข้างบ้านว่ามีไข้หรือไม่ หากมี
ไข้ ให้ระวังว่าอาจจะเป็น ไข้เลือดออกได้
การปฏิบัติเมือมีคนในบ้าน/ข้างบ้านเป็นไข้เลือดออก
ประกาศเตือนประชาชนให้ทราบว่ามีโรคไข้เลือดออกระบาดในชุมชนนัน พร้อมกับให้สุข
ศึกษาแก่ประชาชนให้รู้จักวิธีการป้ องกันตนเองและครอบครัวไม่ให้ยุงลายกัด ให้ความรู้วิธี
ปฏิบัติเมือเด็กป่วยหรือสงสัยว่าป่วยเป็นโรคไข้เลือดออก และวิธีการควบคุมแหล่งเพาะพันธุ์
ยุงลายในบ้านและขอให้ประชาชนให้ความร่วมมือกําจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายทีอาจมี
หลงเหลืออยู่ในชุมชนให้หมดไป
การกําจัดลูกนํายุงลายในบ้านผู้ป่วย และบริเวณรอบบ้านผู้ป่วยควรดําเนินการในรัศมีอย่าง
น้อย 100 เมตร และประเมินค่าดัชนีลูกนํายุงลายในพืนทีทีเกิดโรค ซึงหลังการควบคุมโรค
แล้ว ควรมีค่า HI ≤ 10
ใช้มาตรการเร่งด่วนสําหรับการควบคุมการระบาด คือ การพ่นเคมีกําจัดยุงตัวเต็มวัย ทังนีทีม
ควบคุมโรคต้องมีความพร้อมในการควบคุมพาหะอย่างมีประสิทธิภาพเมือได้รับแจ้งว่ามี
ผู้ป่วย โดยจะสามารถปฏิบัติการได้ทันที ลักษณะการพ่นเคมีควรปฏิบัติตามการกระจายของ
ผู้ป่วย ดังนี
หากเกิดมีผู้ป่วย ควรดําเนินการควบคุมแหล่งแพร่โรค (หมู่บ้านหรือชุมชน) โดยพ่นสารเคมี
ในบ้านผู้ป่วย และพืนทีรอบบ้านผู้ป่วยในรัศมีอย่างน้อย 100 เมตร ควรพ่นอย่างน้อย 2 ครัง
แต่ละครังห่างกัน 7 วัน
หากเกิดมีผู้ป่วยกระจายทัวไปในชุมชนหรือหมู่บ้าน ควรพ่นทุกหลังคาเรือนในชุมชน และควร
พ่นเคมีให้มีบริเวณกันกลาง (Barrier Zone) ทีปลอดยุงรอบชุมชนนันด้วย หากมี
หมู่บ้านอืนอยู่ข้างเคียง ก็ควรพิจารณาพ่นเคมีเพิมเติมให้แก่หมู่บ้านทีอยู่ใกล้เคียงนันด้วย
1. ความพร้อมของทีมงานการเฝ้ าระวัง ป้ องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออก ทังระดับกระทรวง
สาธารณสุข กรมวิชาการต่างๆ สสจ. /สสอ/สอ CUP/ PCU สคร. ศตม. รวมทัง นคม. ที
ดําเนินการทังภาวะปกติ และภาวะฉุกเฉิน
2. การมีอาสาสมัคร ทีมีบทบาทสําคัญในการควบคุมลูกนํายุงลายในพืนที
3. การมีกระบวนรณรงค์เพือปรับเปลียนพฤติกรรมสุขภาพโดยใช้กระบวนการตลาดเชิงสังคม
ได้สร้างความสําเร็จด้านพัฒนาองค์ความรู้แก่บุคคลในองค์กรภายนอก และเครือข่าย ทํา
ให้มีการพัฒนาสือสาธารณะ พัฒนาความคิดจากพืนฐานการมีส่วนร่วมตามบริบทของ
ประชาชน ทีสอดคล้องกับวิถีชีวิตของพืนทีนัน ได้แก่ โครงการ คุณ-นะทํา นําไทยปลอดภัย
ไข้เลือดออก
เราฆ่าลูกยุง ยุงไม่ฆ่าลูกเรา
จัดการโรคไข้เลือดออก
ปี 56
มีผู้ป่ วย 120,000-150,000 ราย
เสียชีวิต 140-200 ราย
ร้อยละ 80 เข้า รพ. เพือรับการรักษา
ร้อยละ 2 อาการรุนแรงถึงช๊อค
คาดการณ์จํานวนผู้ป่วย คาดการณ์ความชุกชุมยุงลาย
รวมพลังเร่งรัด
กําจัดลูกนํา
ร่วมมือ ร่วมจิต
ช่วยชีวิตผู้ป่วย
โรงเรือน/ โรงเรียน/
โรงงาน/โรงพยาบาล
ปิด‐เปิด‐กลางเทอม
ตะไคร้หอมทากันยุง
อสม.นําชุมชน
ครม.สนับสนุน
•เตรียมพร้อมทีมแพทย์ ทุก รพ.
•จัดแพทย์ผู้เชียวชาญทีปรึกษา
•จัดหาสํารองเวชภัณฑ์
•แนะนํากลุ่มเสียงรีบมา รพ.
มีเวลาทอง
เพียง 2-3
เดือน
สือสาร ประชาสัมพันธ์ กว้างขวาง
ประสาน เครือข่าย ทุกภาคส่วน
1 ตําบล 1 หมู่บ้าน
ปลอดลูกนํายุงลาย
มัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี (2551-2555)
จํานวนผู้ป่วย(ราย)
มติ คณะรัฐมนตรี
เรือง การควบคุมและป้ องกันการระบาดใหญ่ของไข้เลือดออก
ปี 2556
เมือวันที 12 มีนาคม 2556
คณะรัฐมนตรีมีมติมอบหมายหน่วยงานทีเกียวข้องร่วมดําเนินการ
ป้ องกันโรคไข้เลือดออกก่อนการ ระบาดในฤดูฝนในส่วนทีเกียวข้อง ให้
เป็ นไปตามอํานาจหน้าทีของแต่ละหน่วยงานทีจะดําเนินการและเป็ นความ
จําเป็ นเร่งด่วน ตามทีกระทรวงสาธารณสุขเสนอดังนี
1. มอบหมายให้ กระทรวงมหาดไทย กําชับให้ผู้ว่าราชการจังหวัดและ
ผู้นําทุกท้องถิน ผู้นําชุมชน รับผิดชอบระดมสรรพกําลังในการทําให้
ประชาชนทุกคนลุกขึนมากําจัดกวาดล้างทําลายลูกนําทุกบ้านอย่าง
เร่งด่วน โดยเฉพาะตังแต่เดือนมีนาคมถึงเดือนมิถุนายน ในพืนที
รับผิดชอบ
2. มอบหมายให้ กระทรวงศึกษาธิการ กําชับให้ผู้บริหารโรงเรียนทัง
ภาครัฐและเอกชน ทุกแห่ง กําหนดให้มี ผู้รับผิดชอบ การกําจัดกวาด
ล้างทําลายลูกนําในทุกอาคาร
3. มอบหมายให้ กระทรวงอุตสาหกรรม ขอความร่วมมือไปยังทุก
สถานประกอบการให้มีการจัดเวร ยามกําจัดกวาดล้างทําลายลูกนําใน
ทุกอาคารและทีพัก
4. มอบหมายให้ กระทรวงการท่องเทียวและกีฬา ขอความร่วมมือ
เจ้าของโรงแรมและรีสอร์ท เอาใจใส่ให้มีการกําจัดกวาดล้างทําลาย
ลูกน้ําในทุกอาคารและบริเวณโดยรอบของโรงแรม
5. มอบหมายให้ กรมประชาสัมพันธ์ สนับสนุนให้มีการประชาสัมพันธ์
ผ่านสือทุกช่องทาง ในการให้ความรู้แก่ประชาชนในการดูแลบ้านเรือน
และอาคารค้าขายมิให้มีลูกนําในภาชนะต่างๆ
6. มอบหมายให้ ทุกกระทรวง รับผิดชอบการดําเนินงานตามบริบทของ
ตนเอง
1. การประเมินผลการกําจัดลูกนํายุงลายในชุมชน โดย SRRT ระดับตําบล ทําการ
สํารวจ 10-15 หลังคาเรือน
* พบ 1 หลังคาเรือน ทําเฉพาะบ้านทีพบ
* พบ 2 หลังคาเรือน หยุดสํารวจ รณรงค์ ทังหมู่บ้าน
2. การใช้ยาทากันยุง ในระยะ Viremia คือ ระยะทีมีอาการไข้ โดยให้
* ผู้ป่ วยใน : ทุกราย และ คนดูแลผู้ป่ วย
* ผู้ป่ วยนอก : ในรายทีสงสัยไข้เลือดออก
3. การเปิ ด War room ระดับอําเภอ : พบผู้ป่ วยใน 3 ตําบล
ติดต่อกัน 2 สัปดาห์
4. SRRT ออกสอบสวนโรค กรณีรายแรก (Index case) ของหมู่บ้าน ใน period 28 วัน
5. SRRT สอบสวนและควบคุมโรค ภายใน 24 ชม. หลังจากได้รับแจ้ง
6. SRRT ตําบลเฝ้ าระวังเหตุการณ์แจ้งข่าวแก่ รพ.สต.เมือพบผู้ป่ วยในชุมชนทีไม่เข้า
ระบบเฝ้ าระวัง รง. 506
7. พบผู้ป่ วย 2 รายใน Period เดียวกัน พ่นครอบคลุมทังหมู่บ้าน
8. รัศมี 100 เมตรรอบบ้านผู้ป่ วย : ใช้ทรายทีมีฟอส ในการกําจัดลูกนํา
9. ให้มีการรณรงค์โรคไข้เลือดออก กําหนด
- ครังที 1 วันที 10-17 มี.ค. 56
- ครังที 2 วันที 20-27 เม.ย. 56
- ครังที 3 วันที 10-17 พ.ค. 56
- ครังที 4 วันที 10-17 มิ.ย. 56
ทีมา : นโยบายการควบคุมป้ องกันโรคไข้เลือดออกเขตพืนทีเครือข่ายบริการที 12
สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดนราธิวาส
มอบมาตรการ 3 รีบ 1 ห้าม คือ ร1 รีบป้องกันไม่ให้ยุงกัด, ร2 รีบพบแพทย์, ร3 รีบ
รักษา และ 1ห คือห้ามตาย พร้อมสั่งการดังนี้
1. ติดตามการจัดตั้ง war room ระดับอําเภอ
2. วิเคราะห์ผลการรายงาน ค่า HI,CI ของพื้นที่
3. ติดตามแผนการซ่อมบํารุงเครื่องพ่นหมอกควันที่ชํารุด
4. แจ้งมาตรการการดําเนินงานไข้เลือดออกในพื้นที่อย่างชัดเจนโดยเฉพาะ 3 อําเภอ
ที่เป็นปัญหาขณะนี้ ประกอบด้วย อําเภอระแงะ, อําเภอรือเสาะและอําเภอสุไหง
ปาดี
5. ติดตามการดําเนินงานของและความก้าวหน้าการทํางานของทีม SRRT ตําบล
6. ติดตามมาตรการการดูแลผู้ป่วย ความรวดเร็วในการเข้าถึงผู้ป่วยเช่นมาตรการการดูแลและคัด
กรองผู้ป่วยของระดับ รพ.สต.
7. ฝ่ายอนามัยสิ่งแวดล้อม พิจารณาประเด็นที่เกี่ยวข้องด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม
8. ฝ่ายสุขศึกษาและประชาสัมพันธ์ สื่อสารผ่านทุกช่องทาง ทั้งวิทยุชุมชน สื่อสิ่งพิมพ์ และโทรทัศน์
เพื่อให้เข้าถึงประชาชนให้มากที่สุด
9. แผนการติดตามการประชุม war room ระดับอําเภอ ดังนี้
◦ วันที่ 25 เมษายน 2556
◦ เวลา 08.30-12.00 น. อําเภอรือเสาะ
◦ วันที่ 26 เมษายน 2556
เวลา 08.30-12.00 น. อําเภอระแงะ
เวลา 13.00- 16.30 น. อําเภอสุไหงปาดี
10. ประชุม war room ระดับจังหวัดเดือนละ 2 ครั้ง
กําหนดจัดครั้งที่ 2 วันที่ 26 เมษายน 2556 เวลา 08.30-09.30 น.
11. จัดมหกรรมรณรงค์ไข้เลือดออกเพื่อสร้างความตระหนัก 3 อําเภอ โดยสนับสนุน
งบประมาณอําเภอละ 50,000 บาท
ครั้งที่ 1 เดือน เมษายน อําเภอระแงะ
ครั้งที่ 2 เดือน พฤษภาคม อําเภอรือเสาะ
ครั้งที่ 3 เดือน มิถุนายน อําเภอยี่งอ
1. ความรวดเร็วของทีม SRRT ระดับอําเภอในการแจ้งพื้นที่มีความล่าช้า
2. อุปกรณ์ที่ใช้ในการควบคุมโรคไม่มีความพร้อม
เช่นเครื่องพ่นมีความชํารุดในทุกอําเภอ
3. การใช้เครื่องพ่นของทีมพ่นไม่ถูกวิธี เช่น วิธีการผสมสารเคมี,ปริมาณสารเคมี
4. วิธีการสํารวจลูกน้ํายุงลาย ไม่ถูกต้อง
5. ขาดความร่วมมือจากหน่วยงานอื่น เช่น องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น
ระดับอําเภอ
1. เปิด War Room ทุกอําเภอ และให้มีการสาธิตการพ่นหมอกควันและการ
สํารวจลูกน้ํายุงลาย ส่งผลสรุปการประชุมให้ จังหวัดทุกวันที่ 25 ของเดือน
2. ส่ง HI,CI ทุกวันที่ 25 ของเดือน
3 ทํา Big cleaning day ทุกเดือน
ระดับ รพสต. : ทํา tounigue test ในกรณีไข้สูง 2-3 วัน ทุกราย
ระดับ รพ. : 1. รีบวินิจฉัย และแจ้งพื้นที่โดยเร็ว
2. ระวังโรคแทรกซ้อนที่จะเกิดขึ้น
3. ควรทํา Guidlineให้ รพ.สต. และ สอนการตรวจผู้ป่วย
เบื้องต้น
• หมายเหตุ : สสจ.กําหนดจัดการอบรมเพื่อทบทวนการดูแลรักษาผู้ป่วยสําหรับ
แพทย์ ในวันที่ 2 พค. 56 ณ สสจ.นราธิวาส (ที่ นธ. 0032.010/1906)

More Related Content

Similar to Dengue Hemorrhagic Fever

2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลงนายสามารถ เฮียงสุข
 
Clinical Practice Guideline of Acute Meningoencephalitis
Clinical Practice Guideline of Acute MeningoencephalitisClinical Practice Guideline of Acute Meningoencephalitis
Clinical Practice Guideline of Acute MeningoencephalitisUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)
แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)
แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)Utai Sukviwatsirikul
 
การควบคุมป้องกันแบคทีเรียดื้อยา
การควบคุมป้องกันแบคทีเรียดื้อยา การควบคุมป้องกันแบคทีเรียดื้อยา
การควบคุมป้องกันแบคทีเรียดื้อยา Utai Sukviwatsirikul
 
Clinical Practice Guidelines for Hemorrhagic Stroke 2013
Clinical Practice Guidelines for Hemorrhagic Stroke 2013Clinical Practice Guidelines for Hemorrhagic Stroke 2013
Clinical Practice Guidelines for Hemorrhagic Stroke 2013Utai Sukviwatsirikul
 
Clinical practice guidelines for hemorrhagic stroke
Clinical practice guidelines for hemorrhagic strokeClinical practice guidelines for hemorrhagic stroke
Clinical practice guidelines for hemorrhagic strokeUtai Sukviwatsirikul
 
Guideline for ischemic heart disease 2104
Guideline for ischemic heart disease 2104Guideline for ischemic heart disease 2104
Guideline for ischemic heart disease 2104Utai Sukviwatsirikul
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อpissamaiza Kodsrimoung
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อnuting
 
แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูง 2558
แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูง 2558แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูง 2558
แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูง 2558Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงของไทย ปี 2558
แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงของไทย ปี 2558แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงของไทย ปี 2558
แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงของไทย ปี 2558Utai Sukviwatsirikul
 
Thai guidelines on the treatment of hypertension 2015
Thai guidelines on the treatment of hypertension 2015Thai guidelines on the treatment of hypertension 2015
Thai guidelines on the treatment of hypertension 2015Utai Sukviwatsirikul
 
Thai guideline on the hypertension 2015
Thai  guideline on the hypertension 2015Thai  guideline on the hypertension 2015
Thai guideline on the hypertension 2015Utai Sukviwatsirikul
 

Similar to Dengue Hemorrhagic Fever (20)

2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
 
hand foot mouth
hand foot mouthhand foot mouth
hand foot mouth
 
Clinical Practice Guideline of Acute Meningoencephalitis
Clinical Practice Guideline of Acute MeningoencephalitisClinical Practice Guideline of Acute Meningoencephalitis
Clinical Practice Guideline of Acute Meningoencephalitis
 
02 lepto
02 lepto02 lepto
02 lepto
 
แนะนำโรคต่างๆ ศิรินวล สันติรักษ์โยธิน
แนะนำโรคต่างๆ ศิรินวล สันติรักษ์โยธินแนะนำโรคต่างๆ ศิรินวล สันติรักษ์โยธิน
แนะนำโรคต่างๆ ศิรินวล สันติรักษ์โยธิน
 
แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)
แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)
แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)
 
Factsheet
FactsheetFactsheet
Factsheet
 
การควบคุมป้องกันแบคทีเรียดื้อยา
การควบคุมป้องกันแบคทีเรียดื้อยา การควบคุมป้องกันแบคทีเรียดื้อยา
การควบคุมป้องกันแบคทีเรียดื้อยา
 
แนะนำโรคต่างๆ หรือ โรคติดต่อ
แนะนำโรคต่างๆ หรือ โรคติดต่อแนะนำโรคต่างๆ หรือ โรคติดต่อ
แนะนำโรคต่างๆ หรือ โรคติดต่อ
 
2008guideline ht
2008guideline ht2008guideline ht
2008guideline ht
 
2008guideline ht
2008guideline ht2008guideline ht
2008guideline ht
 
Clinical Practice Guidelines for Hemorrhagic Stroke 2013
Clinical Practice Guidelines for Hemorrhagic Stroke 2013Clinical Practice Guidelines for Hemorrhagic Stroke 2013
Clinical Practice Guidelines for Hemorrhagic Stroke 2013
 
Clinical practice guidelines for hemorrhagic stroke
Clinical practice guidelines for hemorrhagic strokeClinical practice guidelines for hemorrhagic stroke
Clinical practice guidelines for hemorrhagic stroke
 
Guideline for ischemic heart disease 2104
Guideline for ischemic heart disease 2104Guideline for ischemic heart disease 2104
Guideline for ischemic heart disease 2104
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อ
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อ
 
แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูง 2558
แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูง 2558แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูง 2558
แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูง 2558
 
แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงของไทย ปี 2558
แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงของไทย ปี 2558แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงของไทย ปี 2558
แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงของไทย ปี 2558
 
Thai guidelines on the treatment of hypertension 2015
Thai guidelines on the treatment of hypertension 2015Thai guidelines on the treatment of hypertension 2015
Thai guidelines on the treatment of hypertension 2015
 
Thai guideline on the hypertension 2015
Thai  guideline on the hypertension 2015Thai  guideline on the hypertension 2015
Thai guideline on the hypertension 2015
 

More from Narathiwat Provincial Public health (7)

Learning Organization
Learning OrganizationLearning Organization
Learning Organization
 
CUP Management
CUP ManagementCUP Management
CUP Management
 
District health system
District health systemDistrict health system
District health system
 
Narathiwat Health Strategic plan_56
Narathiwat Health Strategic plan_56Narathiwat Health Strategic plan_56
Narathiwat Health Strategic plan_56
 
Polio vaccine drops 2556
Polio vaccine drops 2556Polio vaccine drops 2556
Polio vaccine drops 2556
 
Service plan
Service planService plan
Service plan
 
สรุปการบาดเจ็บและเสียชีวิตในช่วงเทศกาลปีใหม่ 2556
สรุปการบาดเจ็บและเสียชีวิตในช่วงเทศกาลปีใหม่ 2556สรุปการบาดเจ็บและเสียชีวิตในช่วงเทศกาลปีใหม่ 2556
สรุปการบาดเจ็บและเสียชีวิตในช่วงเทศกาลปีใหม่ 2556
 

Dengue Hemorrhagic Fever