SlideShare a Scribd company logo
1
ระบบสารสนเทศ
(Information System)
โรงเรียนดอนแรดวิทยา
สพม. เขต 33
จับกลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน 10 กลุ่ม
- ระบบสารสนเทศ
- ประวัติความเป็นมาคอมพิวเตอร์+วิวัฒนาการ
- อุปกรณ์ภายในเครื่องคอมพิวเตอร์
- อุปกรณ์ภายนอกเครื่องคอมพิวเตอร์
- ซอฟต์แวร์
งานกลุ่ม
 ข้อมูล
 สารสนเทศ
 ระบบสารสนเทศ
 องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
3
ข้อมูล (data) : ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเหตุการณ์ หรือข้อมูลดิบที่ยังไม่ผ่านการ
ประมวลผล ยังไม่มีความหมายในการนาไปใช้งาน ข้อมูลอาจเป็นตัวเลข
ตัวอักษร สัญลักษณ์ รูปภาพ เสียง หรือภาพเคลื่อนไหว
ข้อมูล : ข้อเท็จจริง วัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตสารสนเทศใช้ในการสังเกต เก็บ
ข้อมูลไว้มาบรรยายผล วิเคราะห์
ตัวอย่าง : วันดีหนัก 70 กิโลกรัม
มานะไปตลาดโดยการนั่งรถโดยสาร
วันนี้ตอน 9 โมง อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส
ข้อมูล
4
สารสนเทศ (Information) : ข้อมูลที่ได้รับการประมวลผลหรือปรุงแต่ง
เพื่อให้มีความหมายเป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้
สารสนเทศ : ข้อมูลที่ได้ผ่านการประมวลผลหรือจัดระบบแล้ว เพื่อให้มี
ความหมายและคุณค่าสาหรับผู้ใช้
ตัวอย่าง :นักเรียนชั้นม.5 สอบตกคอมพิวเตอร์ 450 คน สอบผ่าน 25 คน
ชั้นม.5 มีนักเรียนที่มีน้าหนักต่ากว่ามาตรฐานจานวน 32 คน
วันที่ 27 เมษายนที่ผ่านมา เป็นวันที่มีอุณหภูมิสูงที่สุดในรอบปี
สารสนเทศ
5
ด้านเนื้อหา (Content)
- ความสมบูรณ์ครอบคลุม (completeness)
- ความสัมพันธ์กับเรื่อง (relevance)
- ความถูกต้อง (accuracy)
- ความเชื่อถือได้(reliability)
- การตรวจสอบได้(verifiability)
ลักษณะของสารสนเทศที่ดี
6
รูป แบบ (Format)
- ชัดเจน (clarity)
- ระดับรายละเอียด (level of detail)
- รูปแบบการนาเสนอ (presentation)
- สื่อการนาเสนอ (media)
- ความยืดหยุ่น (flexibility)
- ประหยัด (economy)
ลักษณะของสารสนเทศที่ดี (ต่อ)
7
เวลา (Time)
- ความรวดเร็วและทันใช้(timely)
- การปรับปรุงให้ทันสมัย (up-to-date)
- มีระยะเวลา (time period)
กระบวน การ (Process)
- ความสามารถในการเข้า ถึง (accessibility)
- การมีส่วนร่วม (participation)
- การเชื่อมโยง (connectivity)
ลักษณะของสารสนเทศที่ดี (ต่อ)
8
1. ข้อมูลภายใน หมายถึง ข้อมูลที่เกิดขึ้นภายในองค์กรนั้น ได้แก่
ข้อมูล การปฏิบัติงาน ที่เกี่ยวข้อง เช่น ข้อมูลงานบุคลากร ข้อมูล
งานกิจการนักเรียน
2. ข้อมูล ภายนอก หมายถึง ข้อมูลที่เกิดขึ้นนอกองค์กร ข้อมูล
หน่วยงานอื่นๆ
9
แหล่งที่มาของข้อมูลสารสนเทศ
1. ให้ความรู้ทาให้เกิดความคิดและความเข้าใจ
2. ใช้ในการวางแผนการบริหารงาน
3. ใช้ประกอบการตัดสินใจ
4. ใช้ในการควบคุมสถานการณ์ หรือเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้น
5. เพื่อให้การบริหารงานมีระบบ ลดความซ้าซ้อน
10
ประโยชน์ของสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ (Information system)
: ระบบที่ใช้Computer เก็บรวมรวมประมวลผล และแจกจ่าย
ข้อมูลข่าวสารเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ และการควบคุมภายใน
องค์กร
ตัวอย่าง : นักเรียนชั้นม.5 สอบตกคอมพิวเตอร์ 450 คน สอบผ่าน 25 คน
ชั้นม.5 มีนักเรียนที่มีน้าหนักต่ากว่ามาตรฐานจานวน 32 คน
วันที่ 27 เมษายนที่ผ่านมา เป็นวันที่มีอุณหภูมิสูงที่สุดในรอบปี
ระบบสารสนเทศ
11
กระบวนการทางานของระบบสารสนเทศ
1. การนาข้อมูลเข้าสู่ระบบ (Input)
2. การประมวลผล (Process)
3. การนาเสนอผลลัพธ์ (Output)
4. การตอบสนอง (Feedback)
สารสนเทศที่เป็น Output
ของระบบหนึ่ง อาจเป็น
Input ของอีกระบบหนึ่งได้
12
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
1. ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
2. ซอฟต์แวร์ (Software)
3. บุคลากร (Peopleware)
4. ข้อมูล (Data)
5. ขั้นตอนการปฏิบัติงาน (Process)
13
ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
 ตัวเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์รอบข้าง (Peripheral) ที่สามารถ
สัมผัสได้โดยจะประกอบด้วยอุปกรณ์ทางด้านอิเล็กทรอนิกส์ที่ควบคุม
การประมวลผลข้อมูล การรับข้อมูล การแสดงผลข้อมูลของเครื่อง
คอมพิวเตอร์
 เป็นอุปกรณ์ที่ จับต้อง สัมผัส และสามารถมองเห็นได้อย่างเป็น
รูปธรรม มี ทั้งที่ติดตั้งภายในตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ (Case) และ
เชื่อมต่อภายนอกเครื่องคอมพิวเตอร์
14
ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
15
ซอฟต์แวร์ (Software)
: ชุดคาสั่งหรือโปรแกรมที่ใช้สั่งงานให้คอมพิวเตอร์ทางาน
: ลาดับขั้นตอนการทางานที่เขียนขึ้นด้วยคาสั่งของคอมพิวเตอร์
คาสั่งเหล่านี้เรียงกันเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์
: รวมถึงโปรแกรมคอมพิวเตอร์ทุกประเภทที่ทาให้คอมพิวเตอร์
ทางานได้
เช่น MS Word, Photoshop, Calculator, …
16
ชนิดของซอฟต์แวร์ (Software)
ชนิดของซอฟต์แวร์ แบ่งตามสภาพการทางาน เป็น 2 ประเภท คือ
1. ซอฟต์แวร์ระบบ คือโปรแกรมที่ใช้ในการควบคุมระบบ
การทา งานของเครื่องคอมพิวเตอร์ทั้งหมด เช่น การบู๊ตเครื่อง การ
สาเนาข้อมูล การจัดการระบบของดิสก์ชุดคาสั่งที่เขียนเป็นคาสั่ง
สาเร็จรูปโดยผู้ผลิตเครื่องคอมพิวเตอร์ หากไม่มีซอฟต์แวร์ระบบ
คอมพิวเตอร์จะทางานไม่ได้
2. ซอฟต์แวร์ประยุกต์ เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้กับงานด้านต่าง ๆ
ตามความต้องการของผู้ใช้ที่สามารถนามาใช้ประโยชน์ได้โดยตรง
แบ่งออกเป็นสองกลุ่มคือ ซอฟต์แวร์สาเร็จรูป และซอฟต์แวร์ที่
พัฒนาขึ้นใช้งานเฉพาะ
17
ชนิดของซอฟต์แวร์ (Software)
18
บุคลากร (Peopleware)
บุคคลที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการทางานของเคื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งนับว่าเป็น
องค์ประกอบที่สาคัญที่สุด เพราะบุคคลากรจะเป็นผู้จัดการหรือผู้ดาเนินงาน
ให้ระบบคอมพิวเตอร์ดาเนินต่อ ไปได้เราสามารถแบ่งบุคลากรเป็นกลุ่ม ๆ
ตามหน้าที่การทางานได้ดังต่อไปนี้
1. นักวิเคราะห์ระบบงาน (System Analysis :SA) คือ บุคลากรที่ทาหน้าที่
ในการติดต่อประสานงานกับผู้ใช้โปรแกรม ผู้จัดองค์กรและโปรแกรมเมอร์
ทาการศึกษาวิเคราะห์ระบบงานเดิม ออกแบบระบบงานใหม่ ติดตั้ง
ระบบงานใหม่ รวมทั้งประเมินผลระบบงาน นักวิเคราะห์ระบบต้องเป็นผู้ที่มี
ความรู้ความสามารถมากกว่าโปรแกรมเมอร์
19
บุคลากร (Peopleware)
2. โปรแกรมเมอร์ (Programmer) คือ บุคลากรที่ทาหน้าที่สร้าง
โปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาใดภาษาหนึ่ง โดยทาการเลือก
ภาษาคอมพิวเตอร์ที่เหมาะสมกับระบบงานนั้น ๆ ต้องมีความรู้ในเรื่องการใช้
ภาษาคอมพิวเตอร์ แนวคิดแบบตรรกะ (Logic) ของโปรแกรม
3. วิศวกรระบบ (System Engineer) คือ บุคลากรที่ทาหน้าที่ออกแบบ
สร้าง ซ่อม บารุง และดูแลรักษาฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ให้สามารถทางานได้
ตามที่ต้องการ
20
บุคลากร (Peopleware)
4. ผู้บริหารระบบงาน (Administrator) คือ ผู้ที่ทาหน้าที่เป็นผู้บริหาร
ระบบงานหรือองค์กรด้านคอมพิวเตอร์ ประกอบด้วย
- ผู้บริหารศูนย์คอมพิวเตอร์ (Computer Center
Administrator) มีหน้าที่กาหนดนโยบายและวางแผนการบริหารเพื่อให้
องค์กรบรรลุเป้าหมาย
- ผู้บริหารฐานข้อมูล (Database Administrator : DBA) มี
หน้าที่ในการกาหนดนโยบายและวางแผนการบริหารการจัดการฐานข้อมูล
และการดูแลรักษาฐานข้อมูลขององค์กร
21
บุคลากร (Peopleware)
5. พนักงานปฏิบัติการ (Operator) คือ บุคลากรที่มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับการ
ปฏิบัติหน้าที่ หรือภารกิจประจาวันที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์
6. ผู้ใช้ (User) คือ ผู้ที่เกี่ยวข้องกับระบบงานของคอมพิวเตอร์ในฐานะผู้ใช้
ระบบงานหรือ เป็นผู้ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ตามวัตถุประสงค์ของตนเอง
หรือตามหน้าที่ที่ต้องปฏิบัติในภารกิจประจาวันของตนเอง การปฏิบัติงาน
(Process)
22
ข้อมูล (Data)
ข้อมูล คือองค์ประกอบที่ชี้วัดความสาเร็จหรือความล้มเหลวของระบบ
สารสนเทศ
ข้อมูลที่ดีซึ่งเหมาะแก่การนามาใช้งานต้องมีลักษณะดังนี้
- ถูกต้อง
- ทันสมัย
- มีความน่าเชื่อถือ
- ผ่านกระบวนการกลั่นกรองและตรวจสอบแล้ว
- การจัดเก็บเป็นระเบียบเพื่อความสะดวกในการนามาค้นหาและใช้งาน
ได้ทันต่อเหตุการณ์
23
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน (Process)
ระเบียบ วิธีการปฏิบัติงาน หรือลาดับขั้นตอนในการประมวลผลข้อมูล
ให้เป็นสารสนเทศที่สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้
- การรวบรวมข้อมูล
- การตรวจสอบข้อมูล
- การประมวลผลข้อมูล
- การดูแลรักษาข้อมูล
- การแก้ปัญหาในระหว่างการปฏิบัติงาน
24
การนาระบบสารสนเทศไปใช้งาน
ตัวอย่าง การนาระบบสารสนเทศไปใช้งาน เช่น
Management Information System (MIS) ระบบสารสนเทศที่
เป็นรายงาน สรุปสาหรับผู้บริหารในการจัดการ ควบคุม และสั่งการ
Expert System ระบบที่นาคอมพิวเตอร์มาพัฒนาในการสร้าง
กฎระเบียบ โดยตั้งอยู่บนรากฐานความเชี่ยวชาญของมนุษย์
25
คาถาม ??
1. จงอธิบายความแตกต่างระหว่างข้อมูลและสารสนเทศ
2. จงยกตัวอย่างข้อมูลและสารสนเทศ อย่างละ 3 ตัวอย่าง
3. ระบบสารสนเทศคืออะไร
4. กระบวนการทางานของสารสนเทศประกอบด้วยอะไรบ้าง
5. ขั้นตอนใดในกระบวนการทางานของระบบสารสนเทศที่จะเกี่ยวข้อง
แต่สารสนเทศเท่านั้น
6. องค์ประกอบของใดที่เป็นตัวชี้วัดความสาเร็จหรือล้มเหลวของระบบ
สารสนเทศ
7. จงยกตัวอย่างฮาร์ดแวร์มา 3 ชนิด
8. จงยกตัวอย่างบุคลากรในระบบสารสนเทศ
26

More Related Content

What's hot

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
Krittin Piampricharat
 
คำศัพท์เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ที่น่าสนใจ
คำศัพท์เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ที่น่าสนใจคำศัพท์เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ที่น่าสนใจ
คำศัพท์เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ที่น่าสนใจนายอุุเทน มาดา
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
ไพบูลย์ วงษ์ปาน
 
เรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศArm'Physics Sonsern-Srichai
 
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
เทวัญ ภูพานทอง
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
Pavinee Weeranitiwechasarn
 
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
janny5655
 
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศบทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
wilaiporntoey
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
Chuan Fsk
 
การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศhs8zlb
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
Radompon.com
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
Chuan Fsk
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพ
Jakarin Damrak
 
คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศคอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศMameawjung ZaZa
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
ThanThai Sangwong
 
คำศัพท์เทคโนโลยีสารสนเทศ
คำศัพท์เทคโนโลยีสารสนเทศคำศัพท์เทคโนโลยีสารสนเทศ
คำศัพท์เทคโนโลยีสารสนเทศ
Phatthira Thongdonmuean
 
บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารบทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
monthiraqq
 
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์Nattapon
 
เอกสารการบรรยาย เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
เอกสารการบรรยาย เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้นเอกสารการบรรยาย เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
เอกสารการบรรยาย เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
Phicha Pintharong
 

What's hot (20)

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
คำศัพท์เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ที่น่าสนใจ
คำศัพท์เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ที่น่าสนใจคำศัพท์เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ที่น่าสนใจ
คำศัพท์เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ที่น่าสนใจ
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
 
เรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศบทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพ
 
คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศคอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
คำศัพท์เทคโนโลยีสารสนเทศ
คำศัพท์เทคโนโลยีสารสนเทศคำศัพท์เทคโนโลยีสารสนเทศ
คำศัพท์เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารบทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
หน่วยที่1
หน่วยที่1หน่วยที่1
หน่วยที่1
 
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
เอกสารการบรรยาย เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
เอกสารการบรรยาย เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้นเอกสารการบรรยาย เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
เอกสารการบรรยาย เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
 

Viewers also liked

ไอที
ไอทีไอที
ไอทีpatcha01
 
รู้เท่าทันไอที
รู้เท่าทันไอทีรู้เท่าทันไอที
รู้เท่าทันไอทีPrachyanun Nilsook
 
Onet-work4-44
Onet-work4-44Onet-work4-44
Onet-work4-44
jiratha borisut
 
Chapter 02 องค์กรและระบบสารสนเทศ
Chapter 02 องค์กรและระบบสารสนเทศChapter 02 องค์กรและระบบสารสนเทศ
Chapter 02 องค์กรและระบบสารสนเทศ
Akkadate.Com
 
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
peter dontoom
 
ใบความรู้ที่ 4 การคำนวณในตารางงาน
ใบความรู้ที่  4 การคำนวณในตารางงานใบความรู้ที่  4 การคำนวณในตารางงาน
ใบความรู้ที่ 4 การคำนวณในตารางงานMeaw Sukee
 
ใบงานที่ 10 การสร้างแผนภูมิ
ใบงานที่ 10  การสร้างแผนภูมิใบงานที่ 10  การสร้างแผนภูมิ
ใบงานที่ 10 การสร้างแผนภูมิMeaw Sukee
 
แบบทดสอบ Excel
แบบทดสอบ Excelแบบทดสอบ Excel
แบบทดสอบ Excel
thanakornmaimai
 
ใบงานที่ 7 การคำนวณในตารางทำงาน
ใบงานที่ 7  การคำนวณในตารางทำงานใบงานที่ 7  การคำนวณในตารางทำงาน
ใบงานที่ 7 การคำนวณในตารางทำงานMeaw Sukee
 
ข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Word
ข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Wordข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Word
ข้อสอบปฏิบัติ Microsoft WordSupreeyar philarit
 
ข้อสอบคอมพิวเตอร์ PowerPoint +internet
ข้อสอบคอมพิวเตอร์ PowerPoint +internetข้อสอบคอมพิวเตอร์ PowerPoint +internet
ข้อสอบคอมพิวเตอร์ PowerPoint +internet
โรงเรียนอนุบาลระนอง
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
Kat Nattawan
 

Viewers also liked (13)

ไอที
ไอทีไอที
ไอที
 
รู้เท่าทันไอที
รู้เท่าทันไอทีรู้เท่าทันไอที
รู้เท่าทันไอที
 
Onet-work4-44
Onet-work4-44Onet-work4-44
Onet-work4-44
 
Chapter 02 องค์กรและระบบสารสนเทศ
Chapter 02 องค์กรและระบบสารสนเทศChapter 02 องค์กรและระบบสารสนเทศ
Chapter 02 องค์กรและระบบสารสนเทศ
 
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
 
ใบความรู้ที่ 4 การคำนวณในตารางงาน
ใบความรู้ที่  4 การคำนวณในตารางงานใบความรู้ที่  4 การคำนวณในตารางงาน
ใบความรู้ที่ 4 การคำนวณในตารางงาน
 
ใบงานที่ 10 การสร้างแผนภูมิ
ใบงานที่ 10  การสร้างแผนภูมิใบงานที่ 10  การสร้างแผนภูมิ
ใบงานที่ 10 การสร้างแผนภูมิ
 
แบบทดสอบ Excel
แบบทดสอบ Excelแบบทดสอบ Excel
แบบทดสอบ Excel
 
ใบงานที่ 7 การคำนวณในตารางทำงาน
ใบงานที่ 7  การคำนวณในตารางทำงานใบงานที่ 7  การคำนวณในตารางทำงาน
ใบงานที่ 7 การคำนวณในตารางทำงาน
 
แบบฝึกหัดที่ 3 Microsoft PowerPoint
แบบฝึกหัดที่ 3 Microsoft PowerPointแบบฝึกหัดที่ 3 Microsoft PowerPoint
แบบฝึกหัดที่ 3 Microsoft PowerPoint
 
ข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Word
ข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Wordข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Word
ข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Word
 
ข้อสอบคอมพิวเตอร์ PowerPoint +internet
ข้อสอบคอมพิวเตอร์ PowerPoint +internetข้อสอบคอมพิวเตอร์ PowerPoint +internet
ข้อสอบคอมพิวเตอร์ PowerPoint +internet
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 

Similar to Data information1

องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์Krusine soyo
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารsupatra2011
 
งานนำเสนอ1คอม
งานนำเสนอ1คอมงานนำเสนอ1คอม
งานนำเสนอ1คอมkotyota
 
บทที่ 2 คอมพิวเตอร์
บทที่ 2 คอมพิวเตอร์บทที่ 2 คอมพิวเตอร์
บทที่ 2 คอมพิวเตอร์Nattapon
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1airly2011
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
Orapan Chamnan
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศOrapan Chamnan
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศPaungchompu.com
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศPaungchompu.com
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ 1
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ 1องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ 1
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ 1Pepan Pan
 
องค์ประกอบ
องค์ประกอบองค์ประกอบ
องค์ประกอบSPipe Pantaweesak
 
Computer for graduate-2003
Computer for graduate-2003Computer for graduate-2003
Computer for graduate-2003Somkiet Phetmark
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ-work3-24
เทคโนโลยีสารสนเทศ-work3-24เทคโนโลยีสารสนเทศ-work3-24
เทคโนโลยีสารสนเทศ-work3-24
Ilhyna
 
Com onet ม.6
Com onet ม.6Com onet ม.6
Com onet ม.6
greatncr
 
Com onet ม.6
Com onet ม.6Com onet ม.6
Com onet ม.6greatncr
 
Com onet ม.6
Com onet ม.6Com onet ม.6
Com onet ม.6
greatncr
 
โครงสร้างรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ
โครงสร้างรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศโครงสร้างรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ
โครงสร้างรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศPichamon Wongsurapinant
 

Similar to Data information1 (20)

องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
งานนำเสนอ1คอม
งานนำเสนอ1คอมงานนำเสนอ1คอม
งานนำเสนอ1คอม
 
แผ่นผับ
แผ่นผับแผ่นผับ
แผ่นผับ
 
บทที่ 2 คอมพิวเตอร์
บทที่ 2 คอมพิวเตอร์บทที่ 2 คอมพิวเตอร์
บทที่ 2 คอมพิวเตอร์
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ 1
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ 1องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ 1
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ 1
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
องค์ประกอบ
องค์ประกอบองค์ประกอบ
องค์ประกอบ
 
Computer for graduate-2003
Computer for graduate-2003Computer for graduate-2003
Computer for graduate-2003
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ-work3-24
เทคโนโลยีสารสนเทศ-work3-24เทคโนโลยีสารสนเทศ-work3-24
เทคโนโลยีสารสนเทศ-work3-24
 
Learnning02
Learnning02Learnning02
Learnning02
 
Com onet ม.6
Com onet ม.6Com onet ม.6
Com onet ม.6
 
Com onet ม.6
Com onet ม.6Com onet ม.6
Com onet ม.6
 
Com onet ม.6
Com onet ม.6Com onet ม.6
Com onet ม.6
 
โครงสร้างรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ
โครงสร้างรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศโครงสร้างรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ
โครงสร้างรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ
 

Data information1

  • 2. จับกลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน 10 กลุ่ม - ระบบสารสนเทศ - ประวัติความเป็นมาคอมพิวเตอร์+วิวัฒนาการ - อุปกรณ์ภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ - อุปกรณ์ภายนอกเครื่องคอมพิวเตอร์ - ซอฟต์แวร์ งานกลุ่ม
  • 3.  ข้อมูล  สารสนเทศ  ระบบสารสนเทศ  องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ 3
  • 4. ข้อมูล (data) : ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเหตุการณ์ หรือข้อมูลดิบที่ยังไม่ผ่านการ ประมวลผล ยังไม่มีความหมายในการนาไปใช้งาน ข้อมูลอาจเป็นตัวเลข ตัวอักษร สัญลักษณ์ รูปภาพ เสียง หรือภาพเคลื่อนไหว ข้อมูล : ข้อเท็จจริง วัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตสารสนเทศใช้ในการสังเกต เก็บ ข้อมูลไว้มาบรรยายผล วิเคราะห์ ตัวอย่าง : วันดีหนัก 70 กิโลกรัม มานะไปตลาดโดยการนั่งรถโดยสาร วันนี้ตอน 9 โมง อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส ข้อมูล 4
  • 5. สารสนเทศ (Information) : ข้อมูลที่ได้รับการประมวลผลหรือปรุงแต่ง เพื่อให้มีความหมายเป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้ สารสนเทศ : ข้อมูลที่ได้ผ่านการประมวลผลหรือจัดระบบแล้ว เพื่อให้มี ความหมายและคุณค่าสาหรับผู้ใช้ ตัวอย่าง :นักเรียนชั้นม.5 สอบตกคอมพิวเตอร์ 450 คน สอบผ่าน 25 คน ชั้นม.5 มีนักเรียนที่มีน้าหนักต่ากว่ามาตรฐานจานวน 32 คน วันที่ 27 เมษายนที่ผ่านมา เป็นวันที่มีอุณหภูมิสูงที่สุดในรอบปี สารสนเทศ 5
  • 6. ด้านเนื้อหา (Content) - ความสมบูรณ์ครอบคลุม (completeness) - ความสัมพันธ์กับเรื่อง (relevance) - ความถูกต้อง (accuracy) - ความเชื่อถือได้(reliability) - การตรวจสอบได้(verifiability) ลักษณะของสารสนเทศที่ดี 6
  • 7. รูป แบบ (Format) - ชัดเจน (clarity) - ระดับรายละเอียด (level of detail) - รูปแบบการนาเสนอ (presentation) - สื่อการนาเสนอ (media) - ความยืดหยุ่น (flexibility) - ประหยัด (economy) ลักษณะของสารสนเทศที่ดี (ต่อ) 7
  • 8. เวลา (Time) - ความรวดเร็วและทันใช้(timely) - การปรับปรุงให้ทันสมัย (up-to-date) - มีระยะเวลา (time period) กระบวน การ (Process) - ความสามารถในการเข้า ถึง (accessibility) - การมีส่วนร่วม (participation) - การเชื่อมโยง (connectivity) ลักษณะของสารสนเทศที่ดี (ต่อ) 8
  • 9. 1. ข้อมูลภายใน หมายถึง ข้อมูลที่เกิดขึ้นภายในองค์กรนั้น ได้แก่ ข้อมูล การปฏิบัติงาน ที่เกี่ยวข้อง เช่น ข้อมูลงานบุคลากร ข้อมูล งานกิจการนักเรียน 2. ข้อมูล ภายนอก หมายถึง ข้อมูลที่เกิดขึ้นนอกองค์กร ข้อมูล หน่วยงานอื่นๆ 9 แหล่งที่มาของข้อมูลสารสนเทศ
  • 10. 1. ให้ความรู้ทาให้เกิดความคิดและความเข้าใจ 2. ใช้ในการวางแผนการบริหารงาน 3. ใช้ประกอบการตัดสินใจ 4. ใช้ในการควบคุมสถานการณ์ หรือเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้น 5. เพื่อให้การบริหารงานมีระบบ ลดความซ้าซ้อน 10 ประโยชน์ของสารสนเทศ
  • 11. ระบบสารสนเทศ (Information system) : ระบบที่ใช้Computer เก็บรวมรวมประมวลผล และแจกจ่าย ข้อมูลข่าวสารเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ และการควบคุมภายใน องค์กร ตัวอย่าง : นักเรียนชั้นม.5 สอบตกคอมพิวเตอร์ 450 คน สอบผ่าน 25 คน ชั้นม.5 มีนักเรียนที่มีน้าหนักต่ากว่ามาตรฐานจานวน 32 คน วันที่ 27 เมษายนที่ผ่านมา เป็นวันที่มีอุณหภูมิสูงที่สุดในรอบปี ระบบสารสนเทศ 11
  • 12. กระบวนการทางานของระบบสารสนเทศ 1. การนาข้อมูลเข้าสู่ระบบ (Input) 2. การประมวลผล (Process) 3. การนาเสนอผลลัพธ์ (Output) 4. การตอบสนอง (Feedback) สารสนเทศที่เป็น Output ของระบบหนึ่ง อาจเป็น Input ของอีกระบบหนึ่งได้ 12
  • 13. องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ 1. ฮาร์ดแวร์ (Hardware) 2. ซอฟต์แวร์ (Software) 3. บุคลากร (Peopleware) 4. ข้อมูล (Data) 5. ขั้นตอนการปฏิบัติงาน (Process) 13
  • 14. ฮาร์ดแวร์ (Hardware)  ตัวเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์รอบข้าง (Peripheral) ที่สามารถ สัมผัสได้โดยจะประกอบด้วยอุปกรณ์ทางด้านอิเล็กทรอนิกส์ที่ควบคุม การประมวลผลข้อมูล การรับข้อมูล การแสดงผลข้อมูลของเครื่อง คอมพิวเตอร์  เป็นอุปกรณ์ที่ จับต้อง สัมผัส และสามารถมองเห็นได้อย่างเป็น รูปธรรม มี ทั้งที่ติดตั้งภายในตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ (Case) และ เชื่อมต่อภายนอกเครื่องคอมพิวเตอร์ 14
  • 16. ซอฟต์แวร์ (Software) : ชุดคาสั่งหรือโปรแกรมที่ใช้สั่งงานให้คอมพิวเตอร์ทางาน : ลาดับขั้นตอนการทางานที่เขียนขึ้นด้วยคาสั่งของคอมพิวเตอร์ คาสั่งเหล่านี้เรียงกันเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ : รวมถึงโปรแกรมคอมพิวเตอร์ทุกประเภทที่ทาให้คอมพิวเตอร์ ทางานได้ เช่น MS Word, Photoshop, Calculator, … 16
  • 17. ชนิดของซอฟต์แวร์ (Software) ชนิดของซอฟต์แวร์ แบ่งตามสภาพการทางาน เป็น 2 ประเภท คือ 1. ซอฟต์แวร์ระบบ คือโปรแกรมที่ใช้ในการควบคุมระบบ การทา งานของเครื่องคอมพิวเตอร์ทั้งหมด เช่น การบู๊ตเครื่อง การ สาเนาข้อมูล การจัดการระบบของดิสก์ชุดคาสั่งที่เขียนเป็นคาสั่ง สาเร็จรูปโดยผู้ผลิตเครื่องคอมพิวเตอร์ หากไม่มีซอฟต์แวร์ระบบ คอมพิวเตอร์จะทางานไม่ได้ 2. ซอฟต์แวร์ประยุกต์ เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้กับงานด้านต่าง ๆ ตามความต้องการของผู้ใช้ที่สามารถนามาใช้ประโยชน์ได้โดยตรง แบ่งออกเป็นสองกลุ่มคือ ซอฟต์แวร์สาเร็จรูป และซอฟต์แวร์ที่ พัฒนาขึ้นใช้งานเฉพาะ 17
  • 19. บุคลากร (Peopleware) บุคคลที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการทางานของเคื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งนับว่าเป็น องค์ประกอบที่สาคัญที่สุด เพราะบุคคลากรจะเป็นผู้จัดการหรือผู้ดาเนินงาน ให้ระบบคอมพิวเตอร์ดาเนินต่อ ไปได้เราสามารถแบ่งบุคลากรเป็นกลุ่ม ๆ ตามหน้าที่การทางานได้ดังต่อไปนี้ 1. นักวิเคราะห์ระบบงาน (System Analysis :SA) คือ บุคลากรที่ทาหน้าที่ ในการติดต่อประสานงานกับผู้ใช้โปรแกรม ผู้จัดองค์กรและโปรแกรมเมอร์ ทาการศึกษาวิเคราะห์ระบบงานเดิม ออกแบบระบบงานใหม่ ติดตั้ง ระบบงานใหม่ รวมทั้งประเมินผลระบบงาน นักวิเคราะห์ระบบต้องเป็นผู้ที่มี ความรู้ความสามารถมากกว่าโปรแกรมเมอร์ 19
  • 20. บุคลากร (Peopleware) 2. โปรแกรมเมอร์ (Programmer) คือ บุคลากรที่ทาหน้าที่สร้าง โปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาใดภาษาหนึ่ง โดยทาการเลือก ภาษาคอมพิวเตอร์ที่เหมาะสมกับระบบงานนั้น ๆ ต้องมีความรู้ในเรื่องการใช้ ภาษาคอมพิวเตอร์ แนวคิดแบบตรรกะ (Logic) ของโปรแกรม 3. วิศวกรระบบ (System Engineer) คือ บุคลากรที่ทาหน้าที่ออกแบบ สร้าง ซ่อม บารุง และดูแลรักษาฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ให้สามารถทางานได้ ตามที่ต้องการ 20
  • 21. บุคลากร (Peopleware) 4. ผู้บริหารระบบงาน (Administrator) คือ ผู้ที่ทาหน้าที่เป็นผู้บริหาร ระบบงานหรือองค์กรด้านคอมพิวเตอร์ ประกอบด้วย - ผู้บริหารศูนย์คอมพิวเตอร์ (Computer Center Administrator) มีหน้าที่กาหนดนโยบายและวางแผนการบริหารเพื่อให้ องค์กรบรรลุเป้าหมาย - ผู้บริหารฐานข้อมูล (Database Administrator : DBA) มี หน้าที่ในการกาหนดนโยบายและวางแผนการบริหารการจัดการฐานข้อมูล และการดูแลรักษาฐานข้อมูลขององค์กร 21
  • 22. บุคลากร (Peopleware) 5. พนักงานปฏิบัติการ (Operator) คือ บุคลากรที่มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับการ ปฏิบัติหน้าที่ หรือภารกิจประจาวันที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ 6. ผู้ใช้ (User) คือ ผู้ที่เกี่ยวข้องกับระบบงานของคอมพิวเตอร์ในฐานะผู้ใช้ ระบบงานหรือ เป็นผู้ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ตามวัตถุประสงค์ของตนเอง หรือตามหน้าที่ที่ต้องปฏิบัติในภารกิจประจาวันของตนเอง การปฏิบัติงาน (Process) 22
  • 23. ข้อมูล (Data) ข้อมูล คือองค์ประกอบที่ชี้วัดความสาเร็จหรือความล้มเหลวของระบบ สารสนเทศ ข้อมูลที่ดีซึ่งเหมาะแก่การนามาใช้งานต้องมีลักษณะดังนี้ - ถูกต้อง - ทันสมัย - มีความน่าเชื่อถือ - ผ่านกระบวนการกลั่นกรองและตรวจสอบแล้ว - การจัดเก็บเป็นระเบียบเพื่อความสะดวกในการนามาค้นหาและใช้งาน ได้ทันต่อเหตุการณ์ 23
  • 24. ขั้นตอนการปฏิบัติงาน (Process) ระเบียบ วิธีการปฏิบัติงาน หรือลาดับขั้นตอนในการประมวลผลข้อมูล ให้เป็นสารสนเทศที่สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้ - การรวบรวมข้อมูล - การตรวจสอบข้อมูล - การประมวลผลข้อมูล - การดูแลรักษาข้อมูล - การแก้ปัญหาในระหว่างการปฏิบัติงาน 24
  • 25. การนาระบบสารสนเทศไปใช้งาน ตัวอย่าง การนาระบบสารสนเทศไปใช้งาน เช่น Management Information System (MIS) ระบบสารสนเทศที่ เป็นรายงาน สรุปสาหรับผู้บริหารในการจัดการ ควบคุม และสั่งการ Expert System ระบบที่นาคอมพิวเตอร์มาพัฒนาในการสร้าง กฎระเบียบ โดยตั้งอยู่บนรากฐานความเชี่ยวชาญของมนุษย์ 25
  • 26. คาถาม ?? 1. จงอธิบายความแตกต่างระหว่างข้อมูลและสารสนเทศ 2. จงยกตัวอย่างข้อมูลและสารสนเทศ อย่างละ 3 ตัวอย่าง 3. ระบบสารสนเทศคืออะไร 4. กระบวนการทางานของสารสนเทศประกอบด้วยอะไรบ้าง 5. ขั้นตอนใดในกระบวนการทางานของระบบสารสนเทศที่จะเกี่ยวข้อง แต่สารสนเทศเท่านั้น 6. องค์ประกอบของใดที่เป็นตัวชี้วัดความสาเร็จหรือล้มเหลวของระบบ สารสนเทศ 7. จงยกตัวอย่างฮาร์ดแวร์มา 3 ชนิด 8. จงยกตัวอย่างบุคลากรในระบบสารสนเทศ 26

Editor's Notes

  1. ซอฟต์แวร์ (software) หมายถึงชุดคำสั่งหรือโปรแกรมที่ใช้สั่งงานให้คอมพิวเตอร์ทำงาน ซอฟต์แวร์จึงหมายถึงลำดับขั้นตอนการทำงานที่เขียนขึ้นด้วยคำสั่งของคอมพิวเตอร์ คำสั่งเหล่านี้เรียงกันเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ จากที่ทราบมาแล้วว่าคอมพิวเตอร์ทำงานตามคำสั่ง การทำงานพื้นฐานเป็นเพียงการกระทำ กับข้อมูลที่เป็นตัวเลขฐานสอง ซึ่งใช้แทนข้อมูลที่เป็นตัวเลข ตัวอักษร รูปภาพ หรือแม้แต่เป็นเสียงพูดก็ได้ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ใช้สั่งงานคอมพิวเตอร์จึงเป็นซอฟต์แวร์ เพราะเป็นลำดับขั้นตอนการทำงานของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งทำงานแตกต่างกันได้มากมายด้วยซอฟต์แวร์ ที่แตกต่างกัน ซอฟต์แวร์จึงหมายรวมถึงโปรแกรมคอมพิวเตอร์ทุกประเภทที่ทำให้คอมพิวเตอร์ทำงานได้
  2. ชนิดของซอฟต์แวร์ แบ่งตามสภาพการทำงาน เป็น 2 ประเภท คือ 1. ซอฟต์แวร์ระบบ คือคือโปรแกรมที่ใช้ในการควบคุมระบบการทำ งานของเครื่องคอมพิวเตอร์ทั้งหมด เช่น การบูตเครื่อง การสำเนาข้อมูล การจัดการระบบของดิสก์ ชุดคำสั่งที่เขียนเป็นคำสั่งสำเร็จรูปโดยผู้ผลิตเครื่องคอมพิวเตอร์ และมีมาพร้อมแล้วจากโรงงานผลิต การทำงานหรือการประมวลผลของซอฟต์แวร์เหล่านี้ขึ้นกับเครื่องคอมพิวเตอร์แต่ ละเครื่องระบบของซอฟต์แวร์เหล่านี้ออกแบบมาเพื่อการปฏิบัติควบคุม และมีความสามารถในการยืดหยุ่นการประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ที่บริษัทผู้ผลิตสร้างขึ้นมาเพื่อใช้จัดการ กับระบบ หน้าที่การทำงานของซอฟต์แวร์ระบบคือดำเนินงานพื้นฐานต่าง ๆ ของระบบคอมพิวเตอร์ เช่น รับข้อมูลจากแผงแป้นอักขระแล้วแปลความหมายให้คอมพิวเตอร์เข้าใจ นำข้อมูล ไปแสดงผลบนจอภาพหรือนำออกไปยัง เครื่องพิมพ์ จัดการข้อมูลในระบบแฟ้มข้อมูลบนหน่วยความจำรองเมื่อเราเปิด เครื่องคอมพิวเตอร์ ทันทีที่มีการจ่ายกระแสไฟฟ้าให้ กับคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์จะทำงานตามโปรแกรมทันทีโปรแกรมแรกที่สั่งคอมพิวเตอร์ทำงานนี้เป็นซอฟต์แวร์ ระบบ ซอฟต์แวร์ระบบอาจเก็บไว้ในรอม หรือในแผ่นจานแม่เหล็ก หากไม่มีซอฟต์แวร์ระบบ คอมพิวเตอร์จะทำงานไม่ได้   ซอฟต์แวร์ระบบยังใช้เป็น เครื่องมือในการพัฒนาซอฟต์แวร์อื่น ๆ และยังรวมไปถึงซอฟต์แวร์ ที่ใช้ในการแปลภาษาต่าง ๆ 2. ซอฟต์แวร์ประยุกต์ เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้กับงานด้านต่าง ๆ ตามความต้องการของผู้ใช้ที่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้โดยตรง ปัจจุบันมีผู้พัฒนาซอฟต์แวร์ใช้งานทางด้านต่าง ๆ ออกจำหน่ายมาก การประยุกต์งานคอมพิวเตอร์จึงกว้างขวางและแพร่หลาย ซอฟต์แวร์ประยุกต์แบ่งออกเป็นสองกลุ่มคือ ซอฟต์แวร์สำเร็จรูป และซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นใช้งานเฉพาะ ซอฟต์แวร์สำเร็จในปัจจุบันมีมากมาย เช่น ซอฟต์แวร์ประมวลคำ ซอฟต์แวร์ตารางทำงาน   
  3. ชนิดของซอฟต์แวร์ แบ่งตามสภาพการทำงาน เป็น 2 ประเภท คือ 1. ซอฟต์แวร์ระบบ คือซอฟต์แวร์ที่บริษัทผู้ผลิตสร้างขึ้นมาเพื่อใช้จัดการ กับระบบ หน้าที่การทำงานของซอฟต์แวร์ระบบคือดำเนินงานพื้นฐานต่าง ๆ ของระบบคอมพิวเตอร์ เช่น รับข้อมูลจากแผงแป้นอักขระแล้วแปลความหมายให้คอมพิวเตอร์เข้าใจ นำข้อมูล ไปแสดงผลบนจอภาพหรือนำออกไปยัง เครื่องพิมพ์ จัดการข้อมูลในระบบแฟ้มข้อมูลบนหน่วยความจำรองเมื่อเราเปิด เครื่องคอมพิวเตอร์ ทันทีที่มีการจ่ายกระแสไฟฟ้าให้ กับคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์จะทำงานตามโปรแกรมทันทีโปรแกรมแรกที่สั่งคอมพิวเตอร์ทำงานนี้เป็นซอฟต์แวร์ ระบบ ซอฟต์แวร์ระบบอาจเก็บไว้ในรอม หรือในแผ่นจานแม่เหล็ก หากไม่มีซอฟต์แวร์ระบบ คอมพิวเตอร์จะทำงานไม่ได้   ซอฟต์แวร์ระบบยังใช้เป็น เครื่องมือในการพัฒนาซอฟต์แวร์อื่น ๆ และยังรวมไปถึงซอฟต์แวร์ ที่ใช้ในการแปลภาษาต่าง ๆ 2. ซอฟต์แวร์ประยุกต์ เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้กับงานด้านต่าง ๆ ตามความต้องการของผู้ใช้ที่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้โดยตรง ปัจจุบันมีผู้พัฒนาซอฟต์แวร์ใช้งานทางด้านต่าง ๆ ออกจำหน่ายมาก การประยุกต์งานคอมพิวเตอร์จึงกว้างขวางและแพร่หลาย ซอฟต์แวร์ประยุกต์แบ่งออกเป็นสองกลุ่มคือ ซอฟต์แวร์สำเร็จรูป และซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นใช้งานเฉพาะ ซอฟต์แวร์สำเร็จในปัจจุบันมีมากมาย เช่น ซอฟต์แวร์ประมวลคำ ซอฟต์แวร์ตารางทำงาน   
  4. บุคคลที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการทำงาน ของเคื่องคอมพิวเตอร์ พีเพิลแวร์หรือบุคลากรด้านคอมพิวเตอร์นับว่าเป็นองค์ประกอบที่สำคัญที่สุด เพราะบุคคลากรจะเป็นผู้จัดการหรือผู้ดำเนินงานให้ระบบคอมพิวเตอร์ดำเนินต่อ ไปได้เราสามารถแบ่งบุคลากรเป็นกลุ่ม ๆ ตามหน้าที่การทำงานได้ดังต่อไปนี้1. นักวิเคราะห์ระบบงาน (System Analysist :SA)  คือ บุคลากรที่ทำหน้าที่ในการติดต่อประสานงานกับผู้ใช้โปรแกรม ผู้จัดองค์กรและโปรแกรมเมอร์ ทำการศึกษาวิเคราะห์ระบบงานเดิม ออกแบบระบบงานใหม่ ติดตั้งระบบงานใหม่ รวมทั้งประเมินผลระบบงาน นักวิเคราะห์ระบบต้องเป็นผู้ที่มีความรู้ความสามารถมากกว่าโปรแกรมเมอร์ จบการศึกษาสาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ สาขาบริหารธุรกิจ สาขาคณิตศาสตร์ ศึกษาคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีใหม่อย่างสม่ำเสมอ      ปัจจุบันยังขาดแคลนนักวิเคราะห์ระบบงานที่มีความรู้ความชำนาญ เพราะนักวิเคราะห์ระบบส่วนใหญ่ต้องอาศัยประสบการณ์สูง เช่น ฝ่ายการเงินต้องการนำคอมพิวเตอร์มาคิดคำนวณเรื่องรายรับ รายจ่ายของบริษัท นักวิเคราะห์ระบบก็ต้องศึกษาในเรื่องของการเงิน ขั้นตอนการทำงานของฝ่ายการเงิน กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการเงิน เมื่อศึกษารายละเอียดข้อมูลได้ตามต้องการแล้วนักวิเคราะห์ระบบจึงดำเนินการ ออกแบบระบบใหม่ที่ใช้คอมพิวเตอร์ทำการประมวลผลด้านการเงินต่อไป2.  โปรแกรมเมอร์  (Programmer)  คือ บุคลากรที่ทำหน้าที่นำระบบงานใหม่ที่นักวิเคราะห์ระบบได้ออกแบบไว้มาสร้าง เป็นโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาใดภาษาหนึ่ง โดยทำการเลือกภาษาคอมพิวเตอร์ที่เหมาะสมกับระบบงานนั้น ๆ ต้องมีความรู้ในเรื่องการใช้ภาษาคอมพิวเตอร์ แนวคิดแบบตรรกะ (Logic) ของโปรแกรม มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเอกสารที่ได้จากการออกแบบระบบ เทคนิคการออกแบบระบบงาน ทำงานร่วมกันเป็นทีม 3.  วิศวกรระบบ  (System Engineer)  คือ บุคลากรที่ทำหน้าที่ออกแบบ สร้าง ซ่อม บำรุง และดูแลรักษาฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ให้สามารถทำงานได้ตามที่ต้องการ ต้องมีความรู้เกี่ยวกับ โครงสร้างของฮาร์ดแวร์ หลักการทำงานของฮาร์ดแวร์ สามารถออกแบบและติดตั้งฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ได้ 4.  ผู้บริหารระบบงาน (Administrator) คือ ผู้ที่ทำหน้าที่เป็นผู้บริหารระบบงานหรือองค์กรด้านคอมพิวเตอร์ แบ่งออกเป็นกลุ่ม  ๆ ได้ดังนี้  -  ผู้บริหารศูนย์คอมพิวเตอร์ (Computer Center Administrator)  คือบุคลากรท่ำทหน้าที่บริหารศูนย์หรือองค์กรทางด้านคอมพิวเตอร์โดยเฉพาะ มีหน้าที่กำหนดนโยบายและวางแผนการบริหารเพื่อให้องค์กรบรรลุเป้าหมาย        -  ผู้บริหารฐานข้อมูล  (Database Administrator : DBA)  คือ บุคลากรที่ทำหน้าที่ในการกำหนดนโยบายและวางแผนการบริหารการจัดการฐานข้อมูล และการดูแลรักษาฐานข้อมูลขององค์กร5.  พนักงานปฏิบัติการ (Operator) คือ บุคลากรที่มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติหน้าที่ หรือภารกิจประจำวันที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์6.  ผู้ใช้ (User) คือ กลุ่มบุคลากรที่เป็นผู้ใช้ (User)  และเป็นผู้ที่เกี่ยวข้องกับระบบงานของคอมพิวเตอร์ในฐานะผู้ใช้ระบบงานหรือ เป็นผู้ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ตามวัตถุประสงค์ของตนเองหรือตามหน้าที่ที่ต้อง ปฏิบัติในภาระกิจประจำวันของตนเอง
  5. บุคคลที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการทำงาน ของเคื่องคอมพิวเตอร์ พีเพิลแวร์หรือบุคลากรด้านคอมพิวเตอร์นับว่าเป็นองค์ประกอบที่สำคัญที่สุด เพราะบุคคลากรจะเป็นผู้จัดการหรือผู้ดำเนินงานให้ระบบคอมพิวเตอร์ดำเนินต่อ ไปได้เราสามารถแบ่งบุคลากรเป็นกลุ่ม ๆ ตามหน้าที่การทำงานได้ดังต่อไปนี้1. นักวิเคราะห์ระบบงาน (System Analysist :SA)  คือ บุคลากรที่ทำหน้าที่ในการติดต่อประสานงานกับผู้ใช้โปรแกรม ผู้จัดองค์กรและโปรแกรมเมอร์ ทำการศึกษาวิเคราะห์ระบบงานเดิม ออกแบบระบบงานใหม่ ติดตั้งระบบงานใหม่ รวมทั้งประเมินผลระบบงาน นักวิเคราะห์ระบบต้องเป็นผู้ที่มีความรู้ความสามารถมากกว่าโปรแกรมเมอร์ จบการศึกษาสาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ สาขาบริหารธุรกิจ สาขาคณิตศาสตร์ ศึกษาคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีใหม่อย่างสม่ำเสมอ      ปัจจุบันยังขาดแคลนนักวิเคราะห์ระบบงานที่มีความรู้ความชำนาญ เพราะนักวิเคราะห์ระบบส่วนใหญ่ต้องอาศัยประสบการณ์สูง เช่น ฝ่ายการเงินต้องการนำคอมพิวเตอร์มาคิดคำนวณเรื่องรายรับ รายจ่ายของบริษัท นักวิเคราะห์ระบบก็ต้องศึกษาในเรื่องของการเงิน ขั้นตอนการทำงานของฝ่ายการเงิน กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการเงิน เมื่อศึกษารายละเอียดข้อมูลได้ตามต้องการแล้วนักวิเคราะห์ระบบจึงดำเนินการ ออกแบบระบบใหม่ที่ใช้คอมพิวเตอร์ทำการประมวลผลด้านการเงินต่อไป2.  โปรแกรมเมอร์  (Programmer)  คือ บุคลากรที่ทำหน้าที่นำระบบงานใหม่ที่นักวิเคราะห์ระบบได้ออกแบบไว้มาสร้าง เป็นโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาใดภาษาหนึ่ง โดยทำการเลือกภาษาคอมพิวเตอร์ที่เหมาะสมกับระบบงานนั้น ๆ ต้องมีความรู้ในเรื่องการใช้ภาษาคอมพิวเตอร์ แนวคิดแบบตรรกะ (Logic) ของโปรแกรม มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเอกสารที่ได้จากการออกแบบระบบ เทคนิคการออกแบบระบบงาน ทำงานร่วมกันเป็นทีม 3.  วิศวกรระบบ  (System Engineer)  คือ บุคลากรที่ทำหน้าที่ออกแบบ สร้าง ซ่อม บำรุง และดูแลรักษาฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ให้สามารถทำงานได้ตามที่ต้องการ ต้องมีความรู้เกี่ยวกับ โครงสร้างของฮาร์ดแวร์ หลักการทำงานของฮาร์ดแวร์ สามารถออกแบบและติดตั้งฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ได้ 4.  ผู้บริหารระบบงาน (Administrator) คือ ผู้ที่ทำหน้าที่เป็นผู้บริหารระบบงานหรือองค์กรด้านคอมพิวเตอร์ แบ่งออกเป็นกลุ่ม  ๆ ได้ดังนี้  -  ผู้บริหารศูนย์คอมพิวเตอร์ (Computer Center Administrator)  คือบุคลากรท่ำทหน้าที่บริหารศูนย์หรือองค์กรทางด้านคอมพิวเตอร์โดยเฉพาะ มีหน้าที่กำหนดนโยบายและวางแผนการบริหารเพื่อให้องค์กรบรรลุเป้าหมาย        -  ผู้บริหารฐานข้อมูล  (Database Administrator : DBA)  คือ บุคลากรที่ทำหน้าที่ในการกำหนดนโยบายและวางแผนการบริหารการจัดการฐานข้อมูล และการดูแลรักษาฐานข้อมูลขององค์กร5.  พนักงานปฏิบัติการ (Operator) คือ บุคลากรที่มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติหน้าที่ หรือภารกิจประจำวันที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์6.  ผู้ใช้ (User) คือ กลุ่มบุคลากรที่เป็นผู้ใช้ (User)  และเป็นผู้ที่เกี่ยวข้องกับระบบงานของคอมพิวเตอร์ในฐานะผู้ใช้ระบบงานหรือ เป็นผู้ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ตามวัตถุประสงค์ของตนเองหรือตามหน้าที่ที่ต้อง ปฏิบัติในภาระกิจประจำวันของตนเอง
  6. บุคคลที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการทำงาน ของเคื่องคอมพิวเตอร์ พีเพิลแวร์หรือบุคลากรด้านคอมพิวเตอร์นับว่าเป็นองค์ประกอบที่สำคัญที่สุด เพราะบุคคลากรจะเป็นผู้จัดการหรือผู้ดำเนินงานให้ระบบคอมพิวเตอร์ดำเนินต่อ ไปได้เราสามารถแบ่งบุคลากรเป็นกลุ่ม ๆ ตามหน้าที่การทำงานได้ดังต่อไปนี้1. นักวิเคราะห์ระบบงาน (System Analysist :SA)  คือ บุคลากรที่ทำหน้าที่ในการติดต่อประสานงานกับผู้ใช้โปรแกรม ผู้จัดองค์กรและโปรแกรมเมอร์ ทำการศึกษาวิเคราะห์ระบบงานเดิม ออกแบบระบบงานใหม่ ติดตั้งระบบงานใหม่ รวมทั้งประเมินผลระบบงาน นักวิเคราะห์ระบบต้องเป็นผู้ที่มีความรู้ความสามารถมากกว่าโปรแกรมเมอร์ จบการศึกษาสาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ สาขาบริหารธุรกิจ สาขาคณิตศาสตร์ ศึกษาคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีใหม่อย่างสม่ำเสมอ      ปัจจุบันยังขาดแคลนนักวิเคราะห์ระบบงานที่มีความรู้ความชำนาญ เพราะนักวิเคราะห์ระบบส่วนใหญ่ต้องอาศัยประสบการณ์สูง เช่น ฝ่ายการเงินต้องการนำคอมพิวเตอร์มาคิดคำนวณเรื่องรายรับ รายจ่ายของบริษัท นักวิเคราะห์ระบบก็ต้องศึกษาในเรื่องของการเงิน ขั้นตอนการทำงานของฝ่ายการเงิน กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการเงิน เมื่อศึกษารายละเอียดข้อมูลได้ตามต้องการแล้วนักวิเคราะห์ระบบจึงดำเนินการ ออกแบบระบบใหม่ที่ใช้คอมพิวเตอร์ทำการประมวลผลด้านการเงินต่อไป2.  โปรแกรมเมอร์  (Programmer)  คือ บุคลากรที่ทำหน้าที่นำระบบงานใหม่ที่นักวิเคราะห์ระบบได้ออกแบบไว้มาสร้าง เป็นโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาใดภาษาหนึ่ง โดยทำการเลือกภาษาคอมพิวเตอร์ที่เหมาะสมกับระบบงานนั้น ๆ ต้องมีความรู้ในเรื่องการใช้ภาษาคอมพิวเตอร์ แนวคิดแบบตรรกะ (Logic) ของโปรแกรม มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเอกสารที่ได้จากการออกแบบระบบ เทคนิคการออกแบบระบบงาน ทำงานร่วมกันเป็นทีม 3.  วิศวกรระบบ  (System Engineer)  คือ บุคลากรที่ทำหน้าที่ออกแบบ สร้าง ซ่อม บำรุง และดูแลรักษาฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ให้สามารถทำงานได้ตามที่ต้องการ ต้องมีความรู้เกี่ยวกับ โครงสร้างของฮาร์ดแวร์ หลักการทำงานของฮาร์ดแวร์ สามารถออกแบบและติดตั้งฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ได้ 4.  ผู้บริหารระบบงาน (Administrator) คือ ผู้ที่ทำหน้าที่เป็นผู้บริหารระบบงานหรือองค์กรด้านคอมพิวเตอร์ แบ่งออกเป็นกลุ่ม  ๆ ได้ดังนี้  -  ผู้บริหารศูนย์คอมพิวเตอร์ (Computer Center Administrator)  คือบุคลากรท่ำทหน้าที่บริหารศูนย์หรือองค์กรทางด้านคอมพิวเตอร์โดยเฉพาะ มีหน้าที่กำหนดนโยบายและวางแผนการบริหารเพื่อให้องค์กรบรรลุเป้าหมาย        -  ผู้บริหารฐานข้อมูล  (Database Administrator : DBA)  คือ บุคลากรที่ทำหน้าที่ในการกำหนดนโยบายและวางแผนการบริหารการจัดการฐานข้อมูล และการดูแลรักษาฐานข้อมูลขององค์กร5.  พนักงานปฏิบัติการ (Operator) คือ บุคลากรที่มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติหน้าที่ หรือภารกิจประจำวันที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์6.  ผู้ใช้ (User) คือ กลุ่มบุคลากรที่เป็นผู้ใช้ (User)  และเป็นผู้ที่เกี่ยวข้องกับระบบงานของคอมพิวเตอร์ในฐานะผู้ใช้ระบบงานหรือ เป็นผู้ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ตามวัตถุประสงค์ของตนเองหรือตามหน้าที่ที่ต้อง ปฏิบัติในภาระกิจประจำวันของตนเอง
  7. บุคคลที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการทำงาน ของเคื่องคอมพิวเตอร์ พีเพิลแวร์หรือบุคลากรด้านคอมพิวเตอร์นับว่าเป็นองค์ประกอบที่สำคัญที่สุด เพราะบุคคลากรจะเป็นผู้จัดการหรือผู้ดำเนินงานให้ระบบคอมพิวเตอร์ดำเนินต่อ ไปได้เราสามารถแบ่งบุคลากรเป็นกลุ่ม ๆ ตามหน้าที่การทำงานได้ดังต่อไปนี้1. นักวิเคราะห์ระบบงาน (System Analysist :SA)  คือ บุคลากรที่ทำหน้าที่ในการติดต่อประสานงานกับผู้ใช้โปรแกรม ผู้จัดองค์กรและโปรแกรมเมอร์ ทำการศึกษาวิเคราะห์ระบบงานเดิม ออกแบบระบบงานใหม่ ติดตั้งระบบงานใหม่ รวมทั้งประเมินผลระบบงาน นักวิเคราะห์ระบบต้องเป็นผู้ที่มีความรู้ความสามารถมากกว่าโปรแกรมเมอร์ จบการศึกษาสาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ สาขาบริหารธุรกิจ สาขาคณิตศาสตร์ ศึกษาคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีใหม่อย่างสม่ำเสมอ      ปัจจุบันยังขาดแคลนนักวิเคราะห์ระบบงานที่มีความรู้ความชำนาญ เพราะนักวิเคราะห์ระบบส่วนใหญ่ต้องอาศัยประสบการณ์สูง เช่น ฝ่ายการเงินต้องการนำคอมพิวเตอร์มาคิดคำนวณเรื่องรายรับ รายจ่ายของบริษัท นักวิเคราะห์ระบบก็ต้องศึกษาในเรื่องของการเงิน ขั้นตอนการทำงานของฝ่ายการเงิน กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการเงิน เมื่อศึกษารายละเอียดข้อมูลได้ตามต้องการแล้วนักวิเคราะห์ระบบจึงดำเนินการ ออกแบบระบบใหม่ที่ใช้คอมพิวเตอร์ทำการประมวลผลด้านการเงินต่อไป2.  โปรแกรมเมอร์  (Programmer)  คือ บุคลากรที่ทำหน้าที่นำระบบงานใหม่ที่นักวิเคราะห์ระบบได้ออกแบบไว้มาสร้าง เป็นโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาใดภาษาหนึ่ง โดยทำการเลือกภาษาคอมพิวเตอร์ที่เหมาะสมกับระบบงานนั้น ๆ ต้องมีความรู้ในเรื่องการใช้ภาษาคอมพิวเตอร์ แนวคิดแบบตรรกะ (Logic) ของโปรแกรม มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเอกสารที่ได้จากการออกแบบระบบ เทคนิคการออกแบบระบบงาน ทำงานร่วมกันเป็นทีม 3.  วิศวกรระบบ  (System Engineer)  คือ บุคลากรที่ทำหน้าที่ออกแบบ สร้าง ซ่อม บำรุง และดูแลรักษาฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ให้สามารถทำงานได้ตามที่ต้องการ ต้องมีความรู้เกี่ยวกับ โครงสร้างของฮาร์ดแวร์ หลักการทำงานของฮาร์ดแวร์ สามารถออกแบบและติดตั้งฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ได้ 4.  ผู้บริหารระบบงาน (Administrator) คือ ผู้ที่ทำหน้าที่เป็นผู้บริหารระบบงานหรือองค์กรด้านคอมพิวเตอร์ แบ่งออกเป็นกลุ่ม  ๆ ได้ดังนี้  -  ผู้บริหารศูนย์คอมพิวเตอร์ (Computer Center Administrator)  คือบุคลากรท่ำทหน้าที่บริหารศูนย์หรือองค์กรทางด้านคอมพิวเตอร์โดยเฉพาะ มีหน้าที่กำหนดนโยบายและวางแผนการบริหารเพื่อให้องค์กรบรรลุเป้าหมาย        -  ผู้บริหารฐานข้อมูล  (Database Administrator : DBA)  คือ บุคลากรที่ทำหน้าที่ในการกำหนดนโยบายและวางแผนการบริหารการจัดการฐานข้อมูล และการดูแลรักษาฐานข้อมูลขององค์กร5.  พนักงานปฏิบัติการ (Operator) คือ บุคลากรที่มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติหน้าที่ หรือภารกิจประจำวันที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์6.  ผู้ใช้ (User) คือ กลุ่มบุคลากรที่เป็นผู้ใช้ (User)  และเป็นผู้ที่เกี่ยวข้องกับระบบงานของคอมพิวเตอร์ในฐานะผู้ใช้ระบบงานหรือ เป็นผู้ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ตามวัตถุประสงค์ของตนเองหรือตามหน้าที่ที่ต้อง ปฏิบัติในภาระกิจประจำวันของตนเอง