SlideShare a Scribd company logo
 
งานสร้างสรรค์ต่างๆ ที่ผลิตออกมาย่อมมีลิขสิทธิ์เจ้าของชิ้นงาน แต่เมื่อนำผลงานมาเผยเเพร่ผ่านอินเทอร์เน็ตหรือสื่อต่างๆ ย่อมมีโอกาสที่จะถูกผู้อื่นคัดลอก ทำซ้ำ ดัดแปลง และนำไปใช้ต่อ แล้วจะทำไงดีละคะพี่ เพราะงี้ถึงต้องมี ... !!! Creative Common  ไงน้องงงง
Creative Common  คืออะไรกันนะ  ==^
Creative Commons ,[object Object],[object Object]
ปัจจุบันมีการกำหนดสัญลักษณ์ไว้   4  แบบก็คือ 1.  ยอมรับสิทธิของผู้สร้าง  ( Attribution ) - BY 2.  ไม่ใช้เพื่อการค้า  ( Noncommercial) - NC 3.  ไม่แก้ไขต้นฉบับ  ( No Derivative Works) - ND 4.  ใช้สัญญาอนุญาตแบบเดียวกัน  ( Share Alike) - SA
 
คุณสมบัติของเงื่อนไขนี้คือ การที่เราเผยแพร่ภาพ ผลงาน หรือข้อความต่างๆบนเว็บของเรา  เมื่อมีคนต้องการเอาผลงานที่เป็นลิขสิทธิ์ของเราไปใช้  ,[object Object],[object Object],[object Object],1.  ยอมรับสิทธิของผู้สร้าง  ( Attribution ) - BY
 
คุณสมบัติของเงื่อนไข คือ  เราสามารถแบ่งปันผลงานของเรากับคนทั้งโลกได้  แต่ ห้ามไม่ให้ใครหาเงินจากผลงานของเรา ถ้าใครต้องการใช้รูปของเราเพื่อการค้า เขาต้องขออนุญาตเราก่อน และนั่นคือตอนที่เราจะเรียกร้องค่าตอบแทนจากเขา !  2.  ไม่ใช้เพื่อการค้า  ( Noncommercial) - NC
 
คุณสมบัติของเงื่อนไขนี้  คือ  ให้ทุกคนทำซ้ำและเผยแพร่ผลงานของเราได้ ตราบใดที่พวกเขาไม่ดัดแปลง หรือตัดต่อรูปดังกล่าว สมมติว่า  มีคนต้องการตัดต่อรูปถ่ายตึกช้างเพื่อเอาไปใช้ในงานคอลลาจ  ( collage)  ที่กำลังทำอยู่  คนนั้นก็จะต้องขออนุญาตเราก่อนที่จะเอารูปไปตัดต่อได้  ( แต่ถ้าอยากทำซ้ำและเผยแพร่ต้นฉบับดั้งเดิม ของ รูปนี้ก็ไม่ต้องขอ ) 3.  ไม่แก้ไขต้นฉบับ  ( No Derivative Works) - ND
 
คุณสมบัติของเงื่อนไขนี้ คือ  เรียกร้องให้ทุกคนที่ตัดต่อหรือต่อยอดผลงานของเรา  หรือเผยแพร่งานชิ้นใหม่ที่ใช้ผลงานนั้น  ภายใต้เงื่อนไขเดียวกันกับที่เราเลือกใช้ สมมุติว่าเราเลือกใช้สัญญาอนุญาตแบบมีเงื่อนไข  ใช้สัญญาอนุญาตแบบเดียวกัน  ซึ่งควบรวมเงื่อนไขหลักที่มีคือ  ยอมรับสิทธิของผู้สร้าง  และ  ไม่ใช้เพื่อการค้า  ด้วย  4.  ใช้สัญญาอนุญาตแบบเดียวกัน  ( Share Alike) - SA
ให้คนได้แบ่งปันความคิดและวัตถุดิบที่มี สู่ผู้คนอื่นๆ ในวงกว้าง ให้ข้อมูลได้ไหลเวียนในสังคม ซึ่งครอบคลุมไปถึง งานเพลง งานภาพเคลื่อนไหว งานเขียน หรือภาพถ่าย
สมมติว่า  เรามีผลงานอยู่ชิ้นหนึ่ง ซึ่งเราก็จะตั้งเงื่อนไขในการป้องกันการขโมย  หรือเอาไปเผยแพร่โดยพลการ  โดยการกำหนดเงื่อนไขจาก ทั้ง  4  ข้อที่กล่าวมา เช่น  กำหนดว่า ยอมรับสิทธิของผู้สร้าง ,  ไม่ใช้เพื่อการค้า  และ  ใช้สัญญาอนุญาตแบบเดียวกัน เราต้องการที่จะแบ่งปันให้คนอื่นได้เห็น  อาจจะเป็นการโพสผ่านเว็บส่วนตัวก็ได้ เราสามารถเอาทั้ง  4  แบบมาผสมใช้กันได้ตามความต้องการ
เราสามารถเอาทั้ง  4  แบบมาผสมใช้กันได้ตามความต้องการ ซึ่งภายใต้เงื่อนไขเหล่านี้ที่เรากำหนดไว้  คนที่เอาผลงานเราไปเผยแพร่ต่อจะต้องทำตามเงื่อนไข  ก็คือ  แต่ ...   คนที่เอาผลงานเราไปจะสามารถตัดต่อ หรือดัดแปลงผลงานได้เพราะเราไม่ได้กำหนดเงื่อนไข  ‘ ห้ามดัดแปลง ’ ,[object Object],[object Object],[object Object]
นอกจากนี้  ลิขสิทธิ์ยังแบ่งออกเป็น  2  ประเภทหลักๆ อีกด้วยนะ  จะบอกให้ อะไรบ้างอ่า  บอกหน่อยๆ นั่นก็คือ  Public Domain  และ  Copy Right  นั่นเอง
Public Domain   หรือ  " No " Right Reserved  Copy Right   หรือ  " All " Right Reserved ลิขสิทธิ์แบบนี้ถูกคุ้มครองภายใต้กฎหมายลิขสิทธิ์แบบสงวนลิขสิทธิ์  100%  โดยอัตโนมัติ โดยจะแสดงเครื่องหมาย  ©  กำกับเอาไว้  แสดงให้เห็นว่าเจ้าของหวงงานมากๆและไม่ต้องการให้นำไปเผยแพร่โดยพลการ  ถ้าจะนำไปเผยแพร่จริงๆ  ก็ต้องทำเรื่องมาขออนุญาตกันยืดยาวเลยทีเดียวว ~ ลิขสิทธิ์แบบนี้แสดงให้เห็นว่า  เราไม่ต้องการสงวนลิขสิทธิ์เลย และต้องการมอบงานชิ้นนั้นให้กับสาธารณะโดยปราศจากเงื่อนไขใด ๆ ทั้งสิ้น
http://cc.in.th/wiki/spectrum-of-rights http://webcache.googleusercontent.com/search?q=cache:q-W6CjgASEYJ:www.dlo.co.th/node/163+%E0%B8%A2%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B8%AA%E0%B8%B4%E0%B8%97%E0%B8%98%E0%B8%B4%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%9C%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%87+(Attribution+)+-+BY&cd=1&hl=th&ct=clnk&gl=th http://smileerror.info/cc-creative-commons-%E0%B8%84%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%B0%E0%B9%84%E0%B8%A3/ http://itummy.exteen.com/20071211/creative-commons http://www.isriya.com/column/byteculture/20-creativecommons ขอบคุณสำหรับข้อมูลดีๆ นะคะ  ขอบคุณค่าาา  >/|lt;

More Related Content

Similar to Creative common2

Creative common ( cc )
Creative common ( cc )Creative common ( cc )
Creative common ( cc )puriizz
 
Creative common ( cc )
Creative common ( cc )Creative common ( cc )
Creative common ( cc )puriizz
 
Creative Commons
Creative CommonsCreative Commons
Creative Commonsmemoryize
 
Creative Commons By ize
Creative Commons By izeCreative Commons By ize
Creative Commons By izememoryize
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2Tangkwa Tom
 
พ.ร.บ.ลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 กับงานบริการโสตทัศนวัสดุห้องสมุด
พ.ร.บ.ลิขสิทธิ์  พ.ศ. 2537 กับงานบริการโสตทัศนวัสดุห้องสมุดพ.ร.บ.ลิขสิทธิ์  พ.ศ. 2537 กับงานบริการโสตทัศนวัสดุห้องสมุด
พ.ร.บ.ลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 กับงานบริการโสตทัศนวัสดุห้องสมุด
Satapon Yosakonkun
 
จรรยาบรรณการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศๅ
จรรยาบรรณการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศๅจรรยาบรรณการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศๅ
จรรยาบรรณการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศๅ
Watinee Poksup
 
ประวัติFlickr
ประวัติFlickrประวัติFlickr
ประวัติFlickr
Samorn Tara
 
งานคอมCc
งานคอมCcงานคอมCc
งานคอมCcmewaja
 
งานคอมCc
งานคอมCcงานคอมCc
งานคอมCcmewaja
 
งานคอมCc
งานคอมCcงานคอมCc
งานคอมCcmewaja
 
ใบความที่3 ข้อควรรู้ก่อนเป็นเว็บมาสเตอร์
ใบความที่3 ข้อควรรู้ก่อนเป็นเว็บมาสเตอร์ใบความที่3 ข้อควรรู้ก่อนเป็นเว็บมาสเตอร์
ใบความที่3 ข้อควรรู้ก่อนเป็นเว็บมาสเตอร์
ณัฐพล บัวพันธ์
 
ใบความที่3
ใบความที่3ใบความที่3
ใบความที่3
5414122138
 
Creative Commons, Legal Issues, and Podcast
Creative Commons, Legal Issues, and PodcastCreative Commons, Legal Issues, and Podcast
Creative Commons, Legal Issues, and Podcast
Sarinee Achavanuntakul
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอมkai11211
 

Similar to Creative common2 (20)

Creative common ( cc )
Creative common ( cc )Creative common ( cc )
Creative common ( cc )
 
Creative common ( cc )
Creative common ( cc )Creative common ( cc )
Creative common ( cc )
 
Cc
CcCc
Cc
 
Creative common
Creative common Creative common
Creative common
 
CC
CCCC
CC
 
Creative Commons
Creative CommonsCreative Commons
Creative Commons
 
Creative Commons By ize
Creative Commons By izeCreative Commons By ize
Creative Commons By ize
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 
พ.ร.บ.ลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 กับงานบริการโสตทัศนวัสดุห้องสมุด
พ.ร.บ.ลิขสิทธิ์  พ.ศ. 2537 กับงานบริการโสตทัศนวัสดุห้องสมุดพ.ร.บ.ลิขสิทธิ์  พ.ศ. 2537 กับงานบริการโสตทัศนวัสดุห้องสมุด
พ.ร.บ.ลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 กับงานบริการโสตทัศนวัสดุห้องสมุด
 
จรรยาบรรณการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศๅ
จรรยาบรรณการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศๅจรรยาบรรณการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศๅ
จรรยาบรรณการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศๅ
 
ประวัติFlickr
ประวัติFlickrประวัติFlickr
ประวัติFlickr
 
จริยธรรมในโลกของข้อมูล
จริยธรรมในโลกของข้อมูลจริยธรรมในโลกของข้อมูล
จริยธรรมในโลกของข้อมูล
 
งานคอมCc
งานคอมCcงานคอมCc
งานคอมCc
 
งานคอมCc
งานคอมCcงานคอมCc
งานคอมCc
 
งานคอมCc
งานคอมCcงานคอมCc
งานคอมCc
 
ใบความที่3 ข้อควรรู้ก่อนเป็นเว็บมาสเตอร์
ใบความที่3 ข้อควรรู้ก่อนเป็นเว็บมาสเตอร์ใบความที่3 ข้อควรรู้ก่อนเป็นเว็บมาสเตอร์
ใบความที่3 ข้อควรรู้ก่อนเป็นเว็บมาสเตอร์
 
ใบความที่3
ใบความที่3ใบความที่3
ใบความที่3
 
Creative
CreativeCreative
Creative
 
Creative Commons, Legal Issues, and Podcast
Creative Commons, Legal Issues, and PodcastCreative Commons, Legal Issues, and Podcast
Creative Commons, Legal Issues, and Podcast
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 

Recently uploaded

Artificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdfArtificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Prachyanun Nilsook
 
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docxส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ArnonTonsaipet
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
CholapruekSangkamane1
 
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdfความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
Pattie Pattie
 
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdfเรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
ssuser0ffe4b
 

Recently uploaded (6)

Artificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdfArtificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdf
 
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
 
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docxส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
 
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdfความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
 
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdfเรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
 

Creative common2