SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
Download to read offline
ประชุม #รักษ์คุ้งบางกะเจ้า ที่หมู่บ้านหิ่งห้อย ลำพูบางกระสอบ
	 	 	 	 	 	 17 ตุลาคม 2558 | 9.30-12.30 น.

	 	 	 	 	 	 อนันตา อินทรอักษร ผู้บันทึก
BANGKACHAO EAT ART FESTIVAL
“ความต้องการที่แท้จริงของคนบางกะเจ้า ต้องการอะไร”


เรื่องที่ 1 การสร้างความเป็นหนึ่งเดียว : 

องค์กรร่วมจัดกระบวนการคือ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ผศ. ดร.ปริญญา เทวานฤมิตรกุล วางแผนและนำเสนอผ่านการจัดประชุมที่
กำลังจะเกิดขึ้นวันที่ 1 พ.ย. 58 ทำให้เกิดการพูดคุยกันระหว่างกลุ่มที่มีความเห็นต่างกัน 2 ฝ่ายเพื่อประมวลความต้องการที่แท้จริง 

ทางเลือก: เป็นพื้นที่จัดการปกครองท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ


กรณีเทียบ:
- นครแม่สอด จ.ตาก (เริ่มจากเทศบาลเป็นผู้ริเริ่มเมื่อพ.ศ. 2552 และชุมชนเองมีความต้องการให้เกิดขึ้น)
- เชียงคาน มีกฏหมายเทศบัญญัติ ซึ่งออกโดยเทศบาล
* ที่สข. กำลังยื่นให้บางกะเจ้าเป็นพื้นที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อม
"ข้อกังวล คือการนำไปปฏิบัติตามให้เกิดขึ้นจริง ประกาศกฏออกมาแต่ใช้ไม่ได้จริงก็ไม่มีการเปลี่ยนแปลง ความเป็นจริงคือความ
ต้องการเก็บพื้นที่สีเขียวอย่างยั่งยืน"
"พื้นที่คุ้มครองเป็น 6 อบต. แต่เขตปกครองพิเศษพื้นที่สีเขียวบางกะเจ้า จะได้เกิดการต่อรองเพราะเป็นพื้นที่เดียว สภาเดียว โดยอาศัย
เสียงส่วนมาก"
"คนแห่มาเที่ยวกันอย่างเยอะ ดีนะ มีคนได้มาปั่นเที่ยวและสนุกกับพื้นที่สีเขียว แต่มากันเยอะก็
ทิ้งขยะไว้อย่างเยอะ”














เรื่องที่ 2 โครงการจัดการขยะ คุ้งบางกะเจ้า :
ทำหมู่บ้านต้นแบบ มีการจัดตั้งคณะทำงาน เพื่อทำให้เห็นเป็นต้นแบบสร้างความเข้าใจและโมเดลการจัดการขยะในพื้นที่บางกะเจ้า
"ปัญหาขยะ ลมพัดสวะมาเต็มแม่น้ำ บางน้ำผึ้งมีนโยบายเรื่องจัดการขยะ ย่อยขยะ มีการบดขยะ มีการศึกษาดูงานที่จังหวัดอื่นๆ น่าจะ
สร้างพื้นที่เกี่ยวกับการจัดการขยะ” - คุณสมานให้ความคิดเห็น
1. ขอรายชื่อที่เข้าร่วมโครงการ 6 ตำบล ทั้งองค์กร สถาบันการศึกษา วัด (ตัวร้ายเลย เพราะเน่า เหม็นหึ่งเลย แต่ก็มีเตาเผาขยะปลอด
สาร ...เป็นยังไงน้า)
"ทุกวันมีปัญหาเรื่องถุงแกง ซึ่งเป็นเรื่องทั่วประเทศ"
2. ทุก 6 ตำบล หาจุดดี จุดด้อยของตัวเองแล้วนำมาสร้างเป็นโมเดลร่วมกัน
"ถ้าครัวเรือนเชื่อท้องถิ่น ท้องที่ ปัญหาก็จะจบ ...เริ่มจากตัวเอง เปลี่ยนให้ตรงจุด ถ้าครัวเรือนแยกขยะ แล้ว อบต.เอาขยะแยกมารวม
กัน ก็จบเช่นกัน"
3. ตัวอย่าง บางกอบัว มีเศษอาหารเหลือเอามาใส่บ่อคอนกรีต นำเศษอาหารไปให้ไส้เดือนใช้ในการเกษตรต่อ
* เพิ่งไปพบผู้เชี่ยวชาญ วิศวสิ่งแวดล้อม จัดการเรื่องบ่อขยะ ที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งจะเชิญมาร่วมโครงการ
- น่าจะรวมตัวกันไปร่วมงาน Global Sustainability Jam : Bangkok Sustainability Jam จัดขึ้นที่ TCDC วันที่ 28,29 ต.ค. - 1 พ.ย. 58 http://
www.tcdc.or.th/calendar/activities/23602/?lang=th


เรื่องที่ 3 บางกะเจ้าจักรยานเปลี่ยนชุมชน | Bangkachao Eat Art
ปั่น พุง ยิ้ม หรือ ปั่น พุง ปลิ้น เป็นกิจกรรมสร้างสรรค์ที่สะท้อนให้เห็นเรื่องการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์แนว slow travel โดยมีการสร้าง
ประสบการณ์แบบ #รักษ์คุ้งบางกะเจ้า ซึ่งเน้นการสละรถ แล้วใช้จักรยาน เราจะมอบแผนที่ที่เหมาะ กับเวลาที่ใช่ในการท่องเที่ยวแต่ละ
จุด"
9-11 พ.ย. Pre Event เพื่อแนะนำการท่องเที่ยวอย่างเป็นมิตรและยั่งยืน
24 พ.ย. Pre Event : Sustainability Policy
28-29 พ.ย. ปั่น พุง ยิ้ม Bangkachao Eat Art เปิดบ้าน เปิดสวน
* ขอความร่วมมือรถ 10 ล้อในช่วงที่จัดงาน จะได้ความเป็นมิตรในการปั่นมาก
การออกแบบประสบการณ์แนวบางกะเจ้า ผ่านแผนที่ ผู้นำชุมชน-กลุ่มต่างๆ และมัคคุเทศน์น้อยซึ่งมีอยู่แล้ว โดยแบ่งเนื้อหาเป็น 3 ส่วน
หลักคือ
1. ประวัติศาสตร์ในบ้าน ในวัด
ชุมชนบอกเล่าเรื่องราวประวัติศาสตร์ของตัวเองได้ (มอญทรงคะนอง วัดเก่าแก่ประจำตำบล)
“สละรถ ใช้จักรยาน ให้เที่ยวแบบที่ชอบ 

ธรรมชาติ ประวัติศาสตร์ อาหารแปลก
แบบอร่อย”
2. พื้นที่สีเขียวเล่าเรื่อง
3. วัฒนธรรม อาหาร และวิถีชีวิต ตัวเล่าเรื่องผ่านบ้านต่างๆ
เมนูอิ่มพุงยิ้ม : ไข่กบ นกปล่อย มะลิลอย อ้ายตื้อ
เมนูงานฝีมือ : สลักหยวก หัวโขนจิ๋ว ลูกประคบ บ้านสวนศิลป์




ลุงกุล ปั่นพาเที่ยว ศูนย์ท่องเที่ยว ข้อมูลจักรยาน ลุงกุล "ลุงเป็นเจ้าแรกที่ทำเรื่องจักรยาน เพราะทำด้วยใจรัก ขี่จักรยานตั้งแต่สมัยยัง
ทำงาน ปั่นนำเที่ยวใครๆก็ทำได้ แต่เข้าให้ถึงจุดแค่ไหนก็เป็นเทคนิคแต่ละคน” และลุงกุนเป็นคนที่มีส่วนผสมนั้นลงตัว


- พระนอน วัดโปรดเกศเชษฐาราม (วัดปากคลอง) ถนนทรงธรรม ตำบลทรงคะนอง อ. พระประแดง พระพุทธไสยาสน์ต้นแบบของพระ
นอนวัดโพธิ์ 

- ป้อมแผงไฟฟ้า ที่พักทหาร เก็บศัตราวุธ สมเป็นเมืองหน้าด่านทางชายทะเล
- ในส่วนกระเพาะหมู ไฮไลท์มีหลายหลาก วัดจากแดง ลุงกุนเรียกวัดอินเตอร์ (คนฟังก็เกิดความสนใจ) ไปดูคอนโดพระ พระพุธทรูป
พระธาตุเจดีย์ พระพุทธชินราชใหญ่กว่าองค์จริง 2 เท่าองค์เดิม 2 เมตรแต่องค์ที่นี่ 3 เมตร 80 

- ปาร์ค สวนเฉลิมพระเกียรติ เนื้อที่ 28 ไร่ เป็นพลับพลาที่ประทับของสมเด็จพระเทพ 

- วัดป่าเกดน้อมเกล้า วัดบางกระสอบ ชมหิ่งห้อย คอนโดกบ บ้านเจ้า ปัจจุบันเป็นของตระกูลสุขุมพันธ์ ที่ประทับพักแรมในสสมเด็จร. 5
เมื่อเกิดวิกฤตการณ์รศ.112 เตียงประทับพักแรมอยู่ที่วัดบางน้ำผึ้งนอกนอก เพื่อเข้าคุ้ง
*** ขอยกให้ลุงกุล เหมาะกับเป็นไอดอลแนว local alike น่าพาน้องไผ่ local alike มาเจอ

โอกาส: การจัด training โดยให้คุณลุงกุนเป็นผู้ขมวดเรื่องราวที่ได้ฟังจากโจทย์แต่ละชุมชน จากนั้นลุงกุนถ่ายทอดให้เหล่ามัคคุเทศน์
และทีมงานที่ทำหน้าที่ให้ข้อมูลท่องเที่ยว
























บางกอบัวเล่าเรื่อง ประโยชน์ในการทำแผนที่ Bangkachao EAT ART Festival
เริ่มจากประวัติศาสตร์ ชื่อตำบล เกิดจากการสอบถามผู้ใหญ่ มีกอบัวขึ้นอยู่ตามร่องสวน จึงเรียกตามสภาพแวดล้อมว่า “กอบัว”
ประจวบกับว่าวัดบางกอบัวซึ่งมีผู้มีศรัทธาสร้างคนนึงชื่อปทุม (ดอกบัว) มีเสาหงส์โบราณ ซึ่งเหลืออยู่ตัวเดียว (รู้มั้ยว่าเป็นตัวผู้) เจดีย์
มอญหน้าวัดบางกอบัว และเป็นวัดที่เก่าแก่ที่สุดใน 12 วัด 248 ปี พื้นทำด้วยไหคว่ำ มีข้อยกเว้นที่เปิดดูไม่ได้ *มีกุฏิเรือนไทยที่บุคคล
สำคัญเคยมาพำนัก มีของสำคัญ หลวงปูเหมือนเป็นเกจิทางเมตตาที่มีชื่อ จิต เสถียรบุตร (ต้นตระกูลลุงหมาน)
ประวัติศาสตร์: วัดบางกอบัว เห็นภูมิทัศน์เป็นท่าเรือคลองเตย มีแว่วมาว่าจะทำเป็น sport complex เพราะจะไม่ให้เรือใหญ่เข้ามา
ปากอ่าว ให้เรือจอดที่แหลมฉบังเป็นหลัก
ของดี: ในพื้นที่เป็นสวนเกษตรผสมผสาน ผลไม้ขึ้นชื่อคือ มะม่วงน้ำดอกไม้ รวมถึงร้านข้าวเหนียวมะม่วงที่แสนอร่อย และมะพร้าว
น้ำหอมพี่สมาน รวมถึงร้านบ้านสวนศิลป์ของประดิษฐ์จากลูกไม้
- เมนู แกงกุบมะพร้าวกุ้งสด เป็นแกงโบราณ คือกะลามะพร้าวอ่อนๆ ม้าฮ่อ ไส้กรอกประแนม แกงมัสมั่น ขนมจีนน้ำพริก น้ำพริกมะขาม
มีแม่ครัวรุ่นเก่าๆ




















photo credit : Bangkobua, Phrapradaeng, Bangkok http://www.panoramio.com/photo/10620274

ทิศเหนือติดกรุงเทพ ทิวทัศน์สวยงามโดยเฉพาะป่าจาก มุมที่สวยที่สุดคือ พระราม 3 ช่องนนทรี
บางกะเจ้าเล่าเรื่อง โดยพี่อ้อย
ทิศเหนือติดกรุงเทพ ทิวทัศน์สวยงามโดยเฉพาะป่าจาก มุมที่สวยที่สุดคือ พระราม 3 ช่องนนทรี ซึ่งกำลังจะพัฒนาจุดคลองผีหลอกเป็น
จุดท่องเที่ยวชมวิว
ประวัติศาสตร์: วัดราษฎร์รังสรรค์ ซึ่งกำลังยกพระอุโบสถมี 2 ชั้น มีหลวงพ่อใหญ่ (พระพุทธรูปที่ต้องใส่แว่นตลอด ใครเอาแว่นท่าน
ออกเป็นต้องมีเรื่อง หลวงตาอินทร์ พระราหูพระฤษีไสยโกษทำจากดิน 7 ป่าช้า) *ทุกวันเสาร์ 16.00 - 18.00 เดินจงกรม นั่งวิปัสสนา ที่
วัด

สินค้า: ทองม้วนสมุนไพร ไม้มงคลที่ทำจากลวด (ทำไม่ทัน คนทำนิ้วล็อก เห็นโอกาสสร้างคนสร้างงาน)
เมนูอร่อย: ห่อหมกคุณยายสำริด อายุ 84 ปี ยำใหญ่ ประแนม หมี่กรอบ หมี่กะทิ ขนมจีนน้ำพริกป้าอำไพ ขนมขี้หนู คุณกานดา แย้มสุข
ขนมไทยทุกชนิด ฝีมือป้าสุภา ตะโก้ หยกมณี ข้าวเหนียวหน้าต่างๆ แต่ละวันไม่ซ้ำออกขายตี 5 ฝีมือป้าบุญช่วย
ท่องเที่ยว: ท่องเที่ยวจักรยาน บ้านกำนันชาญชัย จุลเมตต์ บริการ 300 คัน
แหล่งท่องเที่ยว สวนศรีนครเขื่อนขันธ์ พิพิธภัณฑ์ปลากัดไทย
แหล่งเรียนรู้การเลี้ยงไรแดง เพื่อเป็นอาหารปลากกัด อนุบาลสัตว์น้ำ
เที่ยวเชิงนิเวศน์ เที่ยวตามสวน คลองผีหลอก

หัวโขนจิ๋ว (อจ.สอนกรมราชทัณฑ์)
ที่พัก: โฮมเสตย์ชื่อบ้านริมน้ำ ที่สวยงามมากของอาจารย์ประหยัด โฮมเสตย์ป้าจินตนา รับ 1 ห้อง 5 คน บรรยากาศริมน้ำเห้นเมืองจ๋า
แต่รอบบ้านเขียวร่มรื่น / ชายน้ำบ้านธีรดา 0968877297 พัก 15 คน ห้องน้ำอาบแบบธรรมชาติ (4 ห้อง) / บ้านป้าทรัพย์ (บ้าน 2 หลัง
รับ 10 คน)
เที่ยวทริปพิเศษ: พาทัวร์พระอาทิตย์ตกสะพานภูมิพล 

เรือเล็ก 15 คน เรือใหญ่จุ 50 คน เรือจอดเสร็จ

มีรถรางมารับชมวิวกลางคืนได้ หรือจะไปต่อทัวร์ชมหิ่งห้อย







แหล่งท่องเที่ยว: หอดูนก สวนศรีนครเขื่อนขันธ์

แหล่งท่องเที่ยว: สวนป่าเกดน้อมเกล้า แหล่งเรียนรู้ระบบนิเวศน์ ดูและจัดการโดยชุมชน 

บางยอเล่าเรื่อง แนะนำโดยพี่กาญจนา
ชื่อบางยอ เพราะเดิมที่เป็นท้องนาปลูกข้าว มีคลองใหญ่ 2-3 คลอง คลองลัดบางยอ คลองบางกะเจ้า มีการยกยกสำหรับดักปลา จากนั้นพัฒนายก
ร่องทำการเกษตร สวนมะพร้าว หมาก กล้วย พืชผักสมุนไพรในการสวนครัว
ประวัติศาสตร์: วัดบางกะเจ้านอก พระราชนุสรณ์กรมหลวงชุมพร มีวังปลาหน้าวัด วัดบางกะเจ้ากลาง ศาลาทำบุญจากไม้และแลุลาย วัดกองแก้ว
โบสถ์เก่าแก่จิตรกรรมฝาผนังสวยงามมาก มีวังปลาหน้าวัด วัดบางขมิ้น หลวงปู่คำเกจิอาจารย์ดัง พระราชนุเสาวรีย์ร. 5
ท่องเที่ยว: สวนป่า สวนเศรษฐกิจพอเพียง มะม่วงน้ำดอกไม้ ชมพูมะเหมี่ยว มะปราง ตะลิงปลิง ตามฤดูการ มีศ.อนุรักษ์มะม่วงน้ำดอกไม้ มัการจด
ทะเบียน GI

มัคคุเทศน์น้อย พาดูนก ที่สวนเกษตรซ. 9 เพื่อที่ของกรมสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นสวนเศรษฐกิจพอเพียง เพราะต้นไม้หนาแน่น อยู่ริมน้ำ

กิจกรรมหลบร้อน : นวดแผนไทย อบต. บางยอ / ฟังอังกาลุงกลุ่มผู้สูงอายุ
อาหาร : อาหารโบราณ การบินไทยเสริฟบริการมี ทองหยอด ทองหยิบ ฝอยทอง วุ้นหน้ากะทิ ขนมเกษรดอกลำเจียก เป็นขนมโอทอป สาเกเชื่อม
ข้าวตู กล้วยทอด
งานประดิษฐ์ : ปลาตะเพียนจากใยมะพร้าว ช้อน พัดจากกาบหมาก
ทรงคะนองเล่าเรื่อง โดยพี่ต๊อย
เป็นตำบลหน้าด่านแรกๆ เมื่อเข้าบางกะเจ้า จะเห็นสะพานภูมิพลสุดอลังการ โครงการในราชดำริ คลองลัดโพธิ์ ด้วยพระปรีชาสามารถป้องกัน
น้ำท่วม ป้องกันน้ำเค็มได้ระดับหนึ่ง
ชาวมอญเป็นเพื่อนบ้านเรา ตั้งถิ่นฐานตั้งแต่สมัยร. 2 พระยาเจ่ง มาสร้างบ้านแปงเมืองที่นี่
ประวัติศาสตร์: วัดมอญ วัดไทย วัดป่าเกดน้อมเกล้า วัดทรงธรรม วัดคันรัดเป็นวัดมอญ วัดจากแดงไม่มีเสามอญ วัดโปรดเกศสุสานช้าง ฝังช้าง
หลวงไว้ที่นี่ *วัดมอญ มีเสาหงส์ ธงตะขาบ มีเทศกาลแห่หงส์ ธงตะขาบ 

วัฒนธรรม: กราบไหว้พระนอน องค์ใหญ่ องค์ดำ ห่มผ้า เชื่อว่าเป็นสิริมงคล “นอนอุ่น กินอิ่ม อยู่สุขสบายในเมือง” วัฒนธรรมทางศาสนามี
ตักบาตรเทโว ตักบาตรน้ำผึ้ง ตักบาตร สลากภัต หมายถึงพิธีทำบุญที่ไม่เจาะจงระบุพระแต่ละรูป มีการละเล่นมอญ บ่อนสะบ้า กุลโลบายที่ชาว
บ้านทำนาทำสวน 10-20 ขนัดทำนากันไปไม่ได้เห็นหน้ากัน ทำให้เกิดพื้นที่พบปะสังสรรกัน มีการกล่อมสะบ้า เป็นการไปเยี่ยมบ่อนสะบ้าแต่ละที่
ท่องเที่ยว: สวนป่าเกดน้อมเกล้า แหล่งเรียนรู้ระบบนิเวศน์ สวนป่าชุมชนหมู่ 1 พื้นที่อนุรักษ์หมู่ 1-4 ขี่จักรยานเชื่อมต่อ
อาหาร: คนไทยแท้แต่โบราณ ล้อมวงกินข้าว น้ำพริกผักสดผักต้ม แกงส้ม ปลาทอด เมี่ยงคำ บัวลอยลูกจาก น้ำดื่มสมุนไพร ลูกฟักข้าว น้ำอัญชัน
ขึ้นริมรั้ว
งานประดิษฐ์: ดอกจักจั่น งานดอกไม้จิ๋วจากดินไทย หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง ผลิตภัณฑ์สบู่ฟักข้าว
บางกระสอบเล่าเรื่อง โดยพี่ปู
ประวัติศาสตร์: วัดบางกระสอบ กรมพระราชวังบวรเสด็จเยี่ยมแผ่นดิน เป็นวัดมอญ องค์พระขึ้นชื่อคือหลวงพ่อเชย พื้นที่เดิมเป็นสวนผล
ไม้ เส้นทางจักรยานผ่านสวน และดูระบบนิเวศน์ที่หิ่งห้อยชอบ หอวัฒนธรรม ศ.เรียนรู้ชุมชนวัดบางกระสอบ เปิดเมื่อมีผู้ต้องการเข้าชม
พระทองคำ
วัฒนธรรม: เทศกาลทำบุญกลางสวน เกิดขึ้นจากสมัยอยุธยา
28-29 พ.ย. 58 บางกระสอบร่วมจัด workshop สาธิตการทำกระทงสายที่ปลายสวน แล้วลอยกระทงสายกันช่วงค่ำคืน (อุปกรณ์ กาบ
มะพร้าว ดอกไม้ และเทียน)
อาหาร: อาหารมอญ “ไข่กบ นกปล่อย มะลิลอย อ้ายตื้อ” น้ำพริก ผักต้ม แกงส้ม ต้มยำ
ข้าวมันส้มตำ (ส้มตำไทยใส่พริกแห้ง) แกงส้มกระเจี๊ยบ สายบัวปลาทู สาธิตการทำข้าวแช่ ตำนานข้าวแช่ชาววัง
แกงไข่จระเข้:ใช้เนื้อปลากลายใส่ข้าวคั่วปั้นแล้วทอด เหมือนแกงส้มแต่ใส่ต้นหอม ผักชี มะเขือเทศ อาหารเชิงวัฒนธรรม ไทย พุทธ
คริสต์ อิสลาม
แกงมะตาด: น้ำแกงปรุงให้เสร็จกลมกล่อมก่อนแล้วจึงใส่มะตาด
น้ำยาหยวกกล้วย: ใส่หยวกกล้วย
แกงปลากดเถาคัน: ลูกเถาคันแกงกับปลากด

ท่องเที่ยว: โครงการลำพูบางกระสอบ ตั้งอยู่ในซอยเพชรหึงษ์ 20 พื้นที่ของโครงการ 41 ไร่ อยู่ในเขตหมู่ 7 ต.บางกระสอบ
อ.พระประแดง จ.สมุทรปราการ รายละเอียดของโครงการและช่องทางการติดต่อผ่านเฟสบุค  https://www.facebook.com/
lumpoo.b 

โทรศัพท์ 02-819-6060 , 088-940-5992, 089-169-3698
ที่พัก: บ้านสวนริมคลอง (บ้านคุณตา) ท้ายซอย บางกระสอบ



แหล่งท่องเที่ยวและศูนย์เรียนรู้ "ลำพูบางกระสอบ" โครงการรักษาถิ่นพำนัก พักพิงอาศัยและขยายพันธุ์หิ่งห้อย
สวนศรีนครเขื่อนขันธ์ ใครมาบางกะเจ้าแล้วไม่ได้ปั่นจักรยานมาที่นี่ ถือว่ามาไม่ถึงบางกะเจ้า

More Related Content

Similar to BIGTrees Bangkachao Eat Art 2015

หนังสือหายากทรงคุณค่า : ห้องสมุดดิจิทัลกับการให้บริการอย่างยั่งยืน
หนังสือหายากทรงคุณค่า : ห้องสมุดดิจิทัลกับการให้บริการอย่างยั่งยืนหนังสือหายากทรงคุณค่า : ห้องสมุดดิจิทัลกับการให้บริการอย่างยั่งยืน
หนังสือหายากทรงคุณค่า : ห้องสมุดดิจิทัลกับการให้บริการอย่างยั่งยืนHumanities Information Center
 
Southlaos 2day1night B
Southlaos 2day1night BSouthlaos 2day1night B
Southlaos 2day1night Bsnoopies
 
Southlaos 1daytrip
Southlaos 1daytripSouthlaos 1daytrip
Southlaos 1daytripsnoopies
 
ภาคสนามชั้น 7 ปี 2560
ภาคสนามชั้น 7 ปี 2560ภาคสนามชั้น 7 ปี 2560
ภาคสนามชั้น 7 ปี 2560Orange Wongwaiwit
 
พะยูน
พะยูนพะยูน
พะยูนteryberry
 
หาดปากเมง
หาดปากเมงหาดปากเมง
หาดปากเมงaoysumatta
 
ข้อมูล UBON จาก Nokair
ข้อมูล UBON จาก Nokair ข้อมูล UBON จาก Nokair
ข้อมูล UBON จาก Nokair Manoonpong Srivirat
 
Online โครงการนักพฤกษศาสตร์น้อย รุ่น ๑๒
Online โครงการนักพฤกษศาสตร์น้อย รุ่น ๑๒Online โครงการนักพฤกษศาสตร์น้อย รุ่น ๑๒
Online โครงการนักพฤกษศาสตร์น้อย รุ่น ๑๒ARTery69
 
นำเสนอภาคสนาม ชั้น 10
นำเสนอภาคสนาม ชั้น 10นำเสนอภาคสนาม ชั้น 10
นำเสนอภาคสนาม ชั้น 10Orange Wongwaiwit
 
สไลด์ ท่องเที่ยวทั่วไทย ภาคกลาง ป.4+473+dltvsocp4+55t2soc p04 f11-4page
สไลด์  ท่องเที่ยวทั่วไทย ภาคกลาง ป.4+473+dltvsocp4+55t2soc p04 f11-4pageสไลด์  ท่องเที่ยวทั่วไทย ภาคกลาง ป.4+473+dltvsocp4+55t2soc p04 f11-4page
สไลด์ ท่องเที่ยวทั่วไทย ภาคกลาง ป.4+473+dltvsocp4+55t2soc p04 f11-4pagePrachoom Rangkasikorn
 

Similar to BIGTrees Bangkachao Eat Art 2015 (20)

The Nice Places (1)
The Nice Places (1)The Nice Places (1)
The Nice Places (1)
 
หนังสือหายากทรงคุณค่า : ห้องสมุดดิจิทัลกับการให้บริการอย่างยั่งยืน
หนังสือหายากทรงคุณค่า : ห้องสมุดดิจิทัลกับการให้บริการอย่างยั่งยืนหนังสือหายากทรงคุณค่า : ห้องสมุดดิจิทัลกับการให้บริการอย่างยั่งยืน
หนังสือหายากทรงคุณค่า : ห้องสมุดดิจิทัลกับการให้บริการอย่างยั่งยืน
 
Pipit
PipitPipit
Pipit
 
Southlaos 2day1night B
Southlaos 2day1night BSouthlaos 2day1night B
Southlaos 2day1night B
 
Southlaos 1daytrip
Southlaos 1daytripSouthlaos 1daytrip
Southlaos 1daytrip
 
ภูมิปัญญาบางกอก
ภูมิปัญญาบางกอกภูมิปัญญาบางกอก
ภูมิปัญญาบางกอก
 
ภูมิปัญญาบางกอก
ภูมิปัญญาบางกอกภูมิปัญญาบางกอก
ภูมิปัญญาบางกอก
 
ภาคสนามชั้น 7 ปี 2560
ภาคสนามชั้น 7 ปี 2560ภาคสนามชั้น 7 ปี 2560
ภาคสนามชั้น 7 ปี 2560
 
042147
042147042147
042147
 
พะยูน
พะยูนพะยูน
พะยูน
 
หาดปากเมง
หาดปากเมงหาดปากเมง
หาดปากเมง
 
ข้อมูล UBON จาก Nokair
ข้อมูล UBON จาก Nokair ข้อมูล UBON จาก Nokair
ข้อมูล UBON จาก Nokair
 
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdfธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
 
Online โครงการนักพฤกษศาสตร์น้อย รุ่น ๑๒
Online โครงการนักพฤกษศาสตร์น้อย รุ่น ๑๒Online โครงการนักพฤกษศาสตร์น้อย รุ่น ๑๒
Online โครงการนักพฤกษศาสตร์น้อย รุ่น ๑๒
 
นำเสนอภาคสนาม ชั้น 10
นำเสนอภาคสนาม ชั้น 10นำเสนอภาคสนาม ชั้น 10
นำเสนอภาคสนาม ชั้น 10
 
200789830 katin
200789830 katin200789830 katin
200789830 katin
 
Bioosm
BioosmBioosm
Bioosm
 
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรมพจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม
 
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011 Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
 
สไลด์ ท่องเที่ยวทั่วไทย ภาคกลาง ป.4+473+dltvsocp4+55t2soc p04 f11-4page
สไลด์  ท่องเที่ยวทั่วไทย ภาคกลาง ป.4+473+dltvsocp4+55t2soc p04 f11-4pageสไลด์  ท่องเที่ยวทั่วไทย ภาคกลาง ป.4+473+dltvsocp4+55t2soc p04 f11-4page
สไลด์ ท่องเที่ยวทั่วไทย ภาคกลาง ป.4+473+dltvsocp4+55t2soc p04 f11-4page
 

More from Anunta Intra-aksorn

Ignite Talk by Anunta BIGTrees-2017
Ignite Talk by Anunta BIGTrees-2017Ignite Talk by Anunta BIGTrees-2017
Ignite Talk by Anunta BIGTrees-2017Anunta Intra-aksorn
 
CREATIVE BUSINESS - CITY BRANDING | TK PARK YALA 2013
CREATIVE BUSINESS - CITY BRANDING | TK PARK YALA 2013CREATIVE BUSINESS - CITY BRANDING | TK PARK YALA 2013
CREATIVE BUSINESS - CITY BRANDING | TK PARK YALA 2013Anunta Intra-aksorn
 
CREATIVE CRAFT TOURISM | HANDMADE CHIANG MAI 2013
CREATIVE CRAFT TOURISM | HANDMADE CHIANG MAI 2013 CREATIVE CRAFT TOURISM | HANDMADE CHIANG MAI 2013
CREATIVE CRAFT TOURISM | HANDMADE CHIANG MAI 2013 Anunta Intra-aksorn
 

More from Anunta Intra-aksorn (6)

BIGTrees Talk : Green Community
BIGTrees Talk : Green CommunityBIGTrees Talk : Green Community
BIGTrees Talk : Green Community
 
Yala Bird City-Process 2016
Yala Bird City-Process 2016Yala Bird City-Process 2016
Yala Bird City-Process 2016
 
Ignite Talk by Anunta BIGTrees-2017
Ignite Talk by Anunta BIGTrees-2017Ignite Talk by Anunta BIGTrees-2017
Ignite Talk by Anunta BIGTrees-2017
 
BIGTrees Project
BIGTrees ProjectBIGTrees Project
BIGTrees Project
 
CREATIVE BUSINESS - CITY BRANDING | TK PARK YALA 2013
CREATIVE BUSINESS - CITY BRANDING | TK PARK YALA 2013CREATIVE BUSINESS - CITY BRANDING | TK PARK YALA 2013
CREATIVE BUSINESS - CITY BRANDING | TK PARK YALA 2013
 
CREATIVE CRAFT TOURISM | HANDMADE CHIANG MAI 2013
CREATIVE CRAFT TOURISM | HANDMADE CHIANG MAI 2013 CREATIVE CRAFT TOURISM | HANDMADE CHIANG MAI 2013
CREATIVE CRAFT TOURISM | HANDMADE CHIANG MAI 2013
 

BIGTrees Bangkachao Eat Art 2015

  • 1. ประชุม #รักษ์คุ้งบางกะเจ้า ที่หมู่บ้านหิ่งห้อย ลำพูบางกระสอบ 17 ตุลาคม 2558 | 9.30-12.30 น.
 อนันตา อินทรอักษร ผู้บันทึก
  • 2. BANGKACHAO EAT ART FESTIVAL “ความต้องการที่แท้จริงของคนบางกะเจ้า ต้องการอะไร” 
 เรื่องที่ 1 การสร้างความเป็นหนึ่งเดียว : 
 องค์กรร่วมจัดกระบวนการคือ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ผศ. ดร.ปริญญา เทวานฤมิตรกุล วางแผนและนำเสนอผ่านการจัดประชุมที่ กำลังจะเกิดขึ้นวันที่ 1 พ.ย. 58 ทำให้เกิดการพูดคุยกันระหว่างกลุ่มที่มีความเห็นต่างกัน 2 ฝ่ายเพื่อประมวลความต้องการที่แท้จริง 
 ทางเลือก: เป็นพื้นที่จัดการปกครองท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ 
 กรณีเทียบ: - นครแม่สอด จ.ตาก (เริ่มจากเทศบาลเป็นผู้ริเริ่มเมื่อพ.ศ. 2552 และชุมชนเองมีความต้องการให้เกิดขึ้น) - เชียงคาน มีกฏหมายเทศบัญญัติ ซึ่งออกโดยเทศบาล * ที่สข. กำลังยื่นให้บางกะเจ้าเป็นพื้นที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อม "ข้อกังวล คือการนำไปปฏิบัติตามให้เกิดขึ้นจริง ประกาศกฏออกมาแต่ใช้ไม่ได้จริงก็ไม่มีการเปลี่ยนแปลง ความเป็นจริงคือความ ต้องการเก็บพื้นที่สีเขียวอย่างยั่งยืน" "พื้นที่คุ้มครองเป็น 6 อบต. แต่เขตปกครองพิเศษพื้นที่สีเขียวบางกะเจ้า จะได้เกิดการต่อรองเพราะเป็นพื้นที่เดียว สภาเดียว โดยอาศัย เสียงส่วนมาก" "คนแห่มาเที่ยวกันอย่างเยอะ ดีนะ มีคนได้มาปั่นเที่ยวและสนุกกับพื้นที่สีเขียว แต่มากันเยอะก็ ทิ้งขยะไว้อย่างเยอะ”
  • 3.
  • 5.
  • 6. เรื่องที่ 2 โครงการจัดการขยะ คุ้งบางกะเจ้า : ทำหมู่บ้านต้นแบบ มีการจัดตั้งคณะทำงาน เพื่อทำให้เห็นเป็นต้นแบบสร้างความเข้าใจและโมเดลการจัดการขยะในพื้นที่บางกะเจ้า "ปัญหาขยะ ลมพัดสวะมาเต็มแม่น้ำ บางน้ำผึ้งมีนโยบายเรื่องจัดการขยะ ย่อยขยะ มีการบดขยะ มีการศึกษาดูงานที่จังหวัดอื่นๆ น่าจะ สร้างพื้นที่เกี่ยวกับการจัดการขยะ” - คุณสมานให้ความคิดเห็น 1. ขอรายชื่อที่เข้าร่วมโครงการ 6 ตำบล ทั้งองค์กร สถาบันการศึกษา วัด (ตัวร้ายเลย เพราะเน่า เหม็นหึ่งเลย แต่ก็มีเตาเผาขยะปลอด สาร ...เป็นยังไงน้า) "ทุกวันมีปัญหาเรื่องถุงแกง ซึ่งเป็นเรื่องทั่วประเทศ" 2. ทุก 6 ตำบล หาจุดดี จุดด้อยของตัวเองแล้วนำมาสร้างเป็นโมเดลร่วมกัน "ถ้าครัวเรือนเชื่อท้องถิ่น ท้องที่ ปัญหาก็จะจบ ...เริ่มจากตัวเอง เปลี่ยนให้ตรงจุด ถ้าครัวเรือนแยกขยะ แล้ว อบต.เอาขยะแยกมารวม กัน ก็จบเช่นกัน" 3. ตัวอย่าง บางกอบัว มีเศษอาหารเหลือเอามาใส่บ่อคอนกรีต นำเศษอาหารไปให้ไส้เดือนใช้ในการเกษตรต่อ * เพิ่งไปพบผู้เชี่ยวชาญ วิศวสิ่งแวดล้อม จัดการเรื่องบ่อขยะ ที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งจะเชิญมาร่วมโครงการ - น่าจะรวมตัวกันไปร่วมงาน Global Sustainability Jam : Bangkok Sustainability Jam จัดขึ้นที่ TCDC วันที่ 28,29 ต.ค. - 1 พ.ย. 58 http:// www.tcdc.or.th/calendar/activities/23602/?lang=th 

  • 7. เรื่องที่ 3 บางกะเจ้าจักรยานเปลี่ยนชุมชน | Bangkachao Eat Art ปั่น พุง ยิ้ม หรือ ปั่น พุง ปลิ้น เป็นกิจกรรมสร้างสรรค์ที่สะท้อนให้เห็นเรื่องการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์แนว slow travel โดยมีการสร้าง ประสบการณ์แบบ #รักษ์คุ้งบางกะเจ้า ซึ่งเน้นการสละรถ แล้วใช้จักรยาน เราจะมอบแผนที่ที่เหมาะ กับเวลาที่ใช่ในการท่องเที่ยวแต่ละ จุด" 9-11 พ.ย. Pre Event เพื่อแนะนำการท่องเที่ยวอย่างเป็นมิตรและยั่งยืน 24 พ.ย. Pre Event : Sustainability Policy 28-29 พ.ย. ปั่น พุง ยิ้ม Bangkachao Eat Art เปิดบ้าน เปิดสวน * ขอความร่วมมือรถ 10 ล้อในช่วงที่จัดงาน จะได้ความเป็นมิตรในการปั่นมาก การออกแบบประสบการณ์แนวบางกะเจ้า ผ่านแผนที่ ผู้นำชุมชน-กลุ่มต่างๆ และมัคคุเทศน์น้อยซึ่งมีอยู่แล้ว โดยแบ่งเนื้อหาเป็น 3 ส่วน หลักคือ 1. ประวัติศาสตร์ในบ้าน ในวัด ชุมชนบอกเล่าเรื่องราวประวัติศาสตร์ของตัวเองได้ (มอญทรงคะนอง วัดเก่าแก่ประจำตำบล) “สละรถ ใช้จักรยาน ให้เที่ยวแบบที่ชอบ 
 ธรรมชาติ ประวัติศาสตร์ อาหารแปลก แบบอร่อย”
  • 8. 2. พื้นที่สีเขียวเล่าเรื่อง 3. วัฒนธรรม อาหาร และวิถีชีวิต ตัวเล่าเรื่องผ่านบ้านต่างๆ เมนูอิ่มพุงยิ้ม : ไข่กบ นกปล่อย มะลิลอย อ้ายตื้อ เมนูงานฝีมือ : สลักหยวก หัวโขนจิ๋ว ลูกประคบ บ้านสวนศิลป์ 
 

  • 9. ลุงกุล ปั่นพาเที่ยว ศูนย์ท่องเที่ยว ข้อมูลจักรยาน ลุงกุล "ลุงเป็นเจ้าแรกที่ทำเรื่องจักรยาน เพราะทำด้วยใจรัก ขี่จักรยานตั้งแต่สมัยยัง ทำงาน ปั่นนำเที่ยวใครๆก็ทำได้ แต่เข้าให้ถึงจุดแค่ไหนก็เป็นเทคนิคแต่ละคน” และลุงกุนเป็นคนที่มีส่วนผสมนั้นลงตัว 
 - พระนอน วัดโปรดเกศเชษฐาราม (วัดปากคลอง) ถนนทรงธรรม ตำบลทรงคะนอง อ. พระประแดง พระพุทธไสยาสน์ต้นแบบของพระ นอนวัดโพธิ์ 
 - ป้อมแผงไฟฟ้า ที่พักทหาร เก็บศัตราวุธ สมเป็นเมืองหน้าด่านทางชายทะเล - ในส่วนกระเพาะหมู ไฮไลท์มีหลายหลาก วัดจากแดง ลุงกุนเรียกวัดอินเตอร์ (คนฟังก็เกิดความสนใจ) ไปดูคอนโดพระ พระพุธทรูป พระธาตุเจดีย์ พระพุทธชินราชใหญ่กว่าองค์จริง 2 เท่าองค์เดิม 2 เมตรแต่องค์ที่นี่ 3 เมตร 80 
 - ปาร์ค สวนเฉลิมพระเกียรติ เนื้อที่ 28 ไร่ เป็นพลับพลาที่ประทับของสมเด็จพระเทพ 
 - วัดป่าเกดน้อมเกล้า วัดบางกระสอบ ชมหิ่งห้อย คอนโดกบ บ้านเจ้า ปัจจุบันเป็นของตระกูลสุขุมพันธ์ ที่ประทับพักแรมในสสมเด็จร. 5 เมื่อเกิดวิกฤตการณ์รศ.112 เตียงประทับพักแรมอยู่ที่วัดบางน้ำผึ้งนอกนอก เพื่อเข้าคุ้ง *** ขอยกให้ลุงกุล เหมาะกับเป็นไอดอลแนว local alike น่าพาน้องไผ่ local alike มาเจอ
 โอกาส: การจัด training โดยให้คุณลุงกุนเป็นผู้ขมวดเรื่องราวที่ได้ฟังจากโจทย์แต่ละชุมชน จากนั้นลุงกุนถ่ายทอดให้เหล่ามัคคุเทศน์ และทีมงานที่ทำหน้าที่ให้ข้อมูลท่องเที่ยว 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 

  • 10. 
 บางกอบัวเล่าเรื่อง ประโยชน์ในการทำแผนที่ Bangkachao EAT ART Festival เริ่มจากประวัติศาสตร์ ชื่อตำบล เกิดจากการสอบถามผู้ใหญ่ มีกอบัวขึ้นอยู่ตามร่องสวน จึงเรียกตามสภาพแวดล้อมว่า “กอบัว” ประจวบกับว่าวัดบางกอบัวซึ่งมีผู้มีศรัทธาสร้างคนนึงชื่อปทุม (ดอกบัว) มีเสาหงส์โบราณ ซึ่งเหลืออยู่ตัวเดียว (รู้มั้ยว่าเป็นตัวผู้) เจดีย์ มอญหน้าวัดบางกอบัว และเป็นวัดที่เก่าแก่ที่สุดใน 12 วัด 248 ปี พื้นทำด้วยไหคว่ำ มีข้อยกเว้นที่เปิดดูไม่ได้ *มีกุฏิเรือนไทยที่บุคคล สำคัญเคยมาพำนัก มีของสำคัญ หลวงปูเหมือนเป็นเกจิทางเมตตาที่มีชื่อ จิต เสถียรบุตร (ต้นตระกูลลุงหมาน) ประวัติศาสตร์: วัดบางกอบัว เห็นภูมิทัศน์เป็นท่าเรือคลองเตย มีแว่วมาว่าจะทำเป็น sport complex เพราะจะไม่ให้เรือใหญ่เข้ามา ปากอ่าว ให้เรือจอดที่แหลมฉบังเป็นหลัก ของดี: ในพื้นที่เป็นสวนเกษตรผสมผสาน ผลไม้ขึ้นชื่อคือ มะม่วงน้ำดอกไม้ รวมถึงร้านข้าวเหนียวมะม่วงที่แสนอร่อย และมะพร้าว น้ำหอมพี่สมาน รวมถึงร้านบ้านสวนศิลป์ของประดิษฐ์จากลูกไม้ - เมนู แกงกุบมะพร้าวกุ้งสด เป็นแกงโบราณ คือกะลามะพร้าวอ่อนๆ ม้าฮ่อ ไส้กรอกประแนม แกงมัสมั่น ขนมจีนน้ำพริก น้ำพริกมะขาม มีแม่ครัวรุ่นเก่าๆ 
 
 
 
 
 
 
 
 

  • 11. 
 photo credit : Bangkobua, Phrapradaeng, Bangkok http://www.panoramio.com/photo/10620274

  • 13. บางกะเจ้าเล่าเรื่อง โดยพี่อ้อย ทิศเหนือติดกรุงเทพ ทิวทัศน์สวยงามโดยเฉพาะป่าจาก มุมที่สวยที่สุดคือ พระราม 3 ช่องนนทรี ซึ่งกำลังจะพัฒนาจุดคลองผีหลอกเป็น จุดท่องเที่ยวชมวิว ประวัติศาสตร์: วัดราษฎร์รังสรรค์ ซึ่งกำลังยกพระอุโบสถมี 2 ชั้น มีหลวงพ่อใหญ่ (พระพุทธรูปที่ต้องใส่แว่นตลอด ใครเอาแว่นท่าน ออกเป็นต้องมีเรื่อง หลวงตาอินทร์ พระราหูพระฤษีไสยโกษทำจากดิน 7 ป่าช้า) *ทุกวันเสาร์ 16.00 - 18.00 เดินจงกรม นั่งวิปัสสนา ที่ วัด
 สินค้า: ทองม้วนสมุนไพร ไม้มงคลที่ทำจากลวด (ทำไม่ทัน คนทำนิ้วล็อก เห็นโอกาสสร้างคนสร้างงาน) เมนูอร่อย: ห่อหมกคุณยายสำริด อายุ 84 ปี ยำใหญ่ ประแนม หมี่กรอบ หมี่กะทิ ขนมจีนน้ำพริกป้าอำไพ ขนมขี้หนู คุณกานดา แย้มสุข ขนมไทยทุกชนิด ฝีมือป้าสุภา ตะโก้ หยกมณี ข้าวเหนียวหน้าต่างๆ แต่ละวันไม่ซ้ำออกขายตี 5 ฝีมือป้าบุญช่วย ท่องเที่ยว: ท่องเที่ยวจักรยาน บ้านกำนันชาญชัย จุลเมตต์ บริการ 300 คัน แหล่งท่องเที่ยว สวนศรีนครเขื่อนขันธ์ พิพิธภัณฑ์ปลากัดไทย แหล่งเรียนรู้การเลี้ยงไรแดง เพื่อเป็นอาหารปลากกัด อนุบาลสัตว์น้ำ เที่ยวเชิงนิเวศน์ เที่ยวตามสวน คลองผีหลอก
 หัวโขนจิ๋ว (อจ.สอนกรมราชทัณฑ์) ที่พัก: โฮมเสตย์ชื่อบ้านริมน้ำ ที่สวยงามมากของอาจารย์ประหยัด โฮมเสตย์ป้าจินตนา รับ 1 ห้อง 5 คน บรรยากาศริมน้ำเห้นเมืองจ๋า แต่รอบบ้านเขียวร่มรื่น / ชายน้ำบ้านธีรดา 0968877297 พัก 15 คน ห้องน้ำอาบแบบธรรมชาติ (4 ห้อง) / บ้านป้าทรัพย์ (บ้าน 2 หลัง รับ 10 คน) เที่ยวทริปพิเศษ: พาทัวร์พระอาทิตย์ตกสะพานภูมิพล 
 เรือเล็ก 15 คน เรือใหญ่จุ 50 คน เรือจอดเสร็จ
 มีรถรางมารับชมวิวกลางคืนได้ หรือจะไปต่อทัวร์ชมหิ่งห้อย
 
 
 

  • 16. บางยอเล่าเรื่อง แนะนำโดยพี่กาญจนา ชื่อบางยอ เพราะเดิมที่เป็นท้องนาปลูกข้าว มีคลองใหญ่ 2-3 คลอง คลองลัดบางยอ คลองบางกะเจ้า มีการยกยกสำหรับดักปลา จากนั้นพัฒนายก ร่องทำการเกษตร สวนมะพร้าว หมาก กล้วย พืชผักสมุนไพรในการสวนครัว ประวัติศาสตร์: วัดบางกะเจ้านอก พระราชนุสรณ์กรมหลวงชุมพร มีวังปลาหน้าวัด วัดบางกะเจ้ากลาง ศาลาทำบุญจากไม้และแลุลาย วัดกองแก้ว โบสถ์เก่าแก่จิตรกรรมฝาผนังสวยงามมาก มีวังปลาหน้าวัด วัดบางขมิ้น หลวงปู่คำเกจิอาจารย์ดัง พระราชนุเสาวรีย์ร. 5 ท่องเที่ยว: สวนป่า สวนเศรษฐกิจพอเพียง มะม่วงน้ำดอกไม้ ชมพูมะเหมี่ยว มะปราง ตะลิงปลิง ตามฤดูการ มีศ.อนุรักษ์มะม่วงน้ำดอกไม้ มัการจด ทะเบียน GI
 มัคคุเทศน์น้อย พาดูนก ที่สวนเกษตรซ. 9 เพื่อที่ของกรมสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นสวนเศรษฐกิจพอเพียง เพราะต้นไม้หนาแน่น อยู่ริมน้ำ
 กิจกรรมหลบร้อน : นวดแผนไทย อบต. บางยอ / ฟังอังกาลุงกลุ่มผู้สูงอายุ อาหาร : อาหารโบราณ การบินไทยเสริฟบริการมี ทองหยอด ทองหยิบ ฝอยทอง วุ้นหน้ากะทิ ขนมเกษรดอกลำเจียก เป็นขนมโอทอป สาเกเชื่อม ข้าวตู กล้วยทอด งานประดิษฐ์ : ปลาตะเพียนจากใยมะพร้าว ช้อน พัดจากกาบหมาก ทรงคะนองเล่าเรื่อง โดยพี่ต๊อย เป็นตำบลหน้าด่านแรกๆ เมื่อเข้าบางกะเจ้า จะเห็นสะพานภูมิพลสุดอลังการ โครงการในราชดำริ คลองลัดโพธิ์ ด้วยพระปรีชาสามารถป้องกัน น้ำท่วม ป้องกันน้ำเค็มได้ระดับหนึ่ง ชาวมอญเป็นเพื่อนบ้านเรา ตั้งถิ่นฐานตั้งแต่สมัยร. 2 พระยาเจ่ง มาสร้างบ้านแปงเมืองที่นี่ ประวัติศาสตร์: วัดมอญ วัดไทย วัดป่าเกดน้อมเกล้า วัดทรงธรรม วัดคันรัดเป็นวัดมอญ วัดจากแดงไม่มีเสามอญ วัดโปรดเกศสุสานช้าง ฝังช้าง หลวงไว้ที่นี่ *วัดมอญ มีเสาหงส์ ธงตะขาบ มีเทศกาลแห่หงส์ ธงตะขาบ 
 วัฒนธรรม: กราบไหว้พระนอน องค์ใหญ่ องค์ดำ ห่มผ้า เชื่อว่าเป็นสิริมงคล “นอนอุ่น กินอิ่ม อยู่สุขสบายในเมือง” วัฒนธรรมทางศาสนามี ตักบาตรเทโว ตักบาตรน้ำผึ้ง ตักบาตร สลากภัต หมายถึงพิธีทำบุญที่ไม่เจาะจงระบุพระแต่ละรูป มีการละเล่นมอญ บ่อนสะบ้า กุลโลบายที่ชาว บ้านทำนาทำสวน 10-20 ขนัดทำนากันไปไม่ได้เห็นหน้ากัน ทำให้เกิดพื้นที่พบปะสังสรรกัน มีการกล่อมสะบ้า เป็นการไปเยี่ยมบ่อนสะบ้าแต่ละที่ ท่องเที่ยว: สวนป่าเกดน้อมเกล้า แหล่งเรียนรู้ระบบนิเวศน์ สวนป่าชุมชนหมู่ 1 พื้นที่อนุรักษ์หมู่ 1-4 ขี่จักรยานเชื่อมต่อ อาหาร: คนไทยแท้แต่โบราณ ล้อมวงกินข้าว น้ำพริกผักสดผักต้ม แกงส้ม ปลาทอด เมี่ยงคำ บัวลอยลูกจาก น้ำดื่มสมุนไพร ลูกฟักข้าว น้ำอัญชัน ขึ้นริมรั้ว งานประดิษฐ์: ดอกจักจั่น งานดอกไม้จิ๋วจากดินไทย หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง ผลิตภัณฑ์สบู่ฟักข้าว
  • 17.
  • 18. บางกระสอบเล่าเรื่อง โดยพี่ปู ประวัติศาสตร์: วัดบางกระสอบ กรมพระราชวังบวรเสด็จเยี่ยมแผ่นดิน เป็นวัดมอญ องค์พระขึ้นชื่อคือหลวงพ่อเชย พื้นที่เดิมเป็นสวนผล ไม้ เส้นทางจักรยานผ่านสวน และดูระบบนิเวศน์ที่หิ่งห้อยชอบ หอวัฒนธรรม ศ.เรียนรู้ชุมชนวัดบางกระสอบ เปิดเมื่อมีผู้ต้องการเข้าชม พระทองคำ วัฒนธรรม: เทศกาลทำบุญกลางสวน เกิดขึ้นจากสมัยอยุธยา 28-29 พ.ย. 58 บางกระสอบร่วมจัด workshop สาธิตการทำกระทงสายที่ปลายสวน แล้วลอยกระทงสายกันช่วงค่ำคืน (อุปกรณ์ กาบ มะพร้าว ดอกไม้ และเทียน) อาหาร: อาหารมอญ “ไข่กบ นกปล่อย มะลิลอย อ้ายตื้อ” น้ำพริก ผักต้ม แกงส้ม ต้มยำ ข้าวมันส้มตำ (ส้มตำไทยใส่พริกแห้ง) แกงส้มกระเจี๊ยบ สายบัวปลาทู สาธิตการทำข้าวแช่ ตำนานข้าวแช่ชาววัง แกงไข่จระเข้:ใช้เนื้อปลากลายใส่ข้าวคั่วปั้นแล้วทอด เหมือนแกงส้มแต่ใส่ต้นหอม ผักชี มะเขือเทศ อาหารเชิงวัฒนธรรม ไทย พุทธ คริสต์ อิสลาม แกงมะตาด: น้ำแกงปรุงให้เสร็จกลมกล่อมก่อนแล้วจึงใส่มะตาด น้ำยาหยวกกล้วย: ใส่หยวกกล้วย แกงปลากดเถาคัน: ลูกเถาคันแกงกับปลากด
 ท่องเที่ยว: โครงการลำพูบางกระสอบ ตั้งอยู่ในซอยเพชรหึงษ์ 20 พื้นที่ของโครงการ 41 ไร่ อยู่ในเขตหมู่ 7 ต.บางกระสอบ อ.พระประแดง จ.สมุทรปราการ รายละเอียดของโครงการและช่องทางการติดต่อผ่านเฟสบุค  https://www.facebook.com/ lumpoo.b 
 โทรศัพท์ 02-819-6060 , 088-940-5992, 089-169-3698 ที่พัก: บ้านสวนริมคลอง (บ้านคุณตา) ท้ายซอย บางกระสอบ