SlideShare a Scribd company logo
1 of 66
Download to read offline
ลักษณะพฤติกรรม และปัจจัยต่อการเลือกซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ ของผู้หญิงพลัสไซส์ผ่านช่องทางเฟซบุ๊ก
Behavioral style and factors in on-line
purchasing of plus-size woman clothes
via Facebook
นันทพร ศรีธนสาร หลักสูตรนิเทศศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชานิเทศศาสตร์ คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ พ.ศ. 2561
ABSTRACT
ABSTRACT
ABSTRACT
พบวาลักษณะทางประชากรศาสตร์ที่แตกต่างกันของกลุ่มตัวอย่างมีปัจจัย
ทางสังคม และปัจจัยทางจิตวิทยาการจูงใจต่อการซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ของ
ผู้หญิงพลัสไซส์ผ่านช่องทางเฟซบุ๊กที่แตกต่างกัน ในด้านความสัมพันธ์
ระหว่างลักษณะทางประชากรศาสตร์ของกลุ่มตัวอย่างกับปัจจัยทางสังคม
ปัจจัยทางจิตวิทยาการจูงใจและ ปัจจัยทางส่วนประสมทางการตลาด
ออนไลน์ ต่อการซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ของผู้หญิงพลัสไซส์ผ่าน ช่องทางเฟ
ซบุ๊กแต่มีปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดออนไลน์ต่อการซื้อเสือผ้า
ออนไลน์ผ่านเฟซบุ๊กไม่แตกต่างกัน
งานวิจัยเรื่อง ลักษณะพฤติกรรมและ
ปัจจัยที่มีผลตอการเลือกซื้อเสื้อผ้า
ออนไลน์ของผู้หญิงพลัสไซส์ผ่านช่องทาง
เฟซบุ๊กมีวัตถุประสงค์เพื่อทราบถึง
ลักษณะทางประชากรศาสตร์ ทัศนคติ
พฤติกรรมที่มีผลตอปัจจัยการซื้อเสื้อผ้า
ออนไลน์ของผู้หญิงพลัสไซส์ผ่านช่องทาง
เฟซบุ๊ก
ในด้านความสัมพันธ์ระหว่าง
ลักษณะทางประชากรศาสตร์ของกลุ่ม
ตัวอย่างกับปัจจัยทางสังคม ปัจจัยทาง
จิตวิทยาการจูงใจ และปัจจัยทางส่วน
ประสมทางการตลาดออนไลน์ต่อการซื้อ
เสื้อผ้าออนไลน์ของผู้หญิงพลัสไซส์ผ่าน
ช่องทางเฟซบุ๊ก
ที่มาและความสาคัญของปัญหา
ปัจจุบันทั่วโลกมีผู้คนจานวนมากที่ประสบกับปัญหาด้านส่วนเกินทั้งน้าหนักและ รูปร่าง
กันมากขึ้นการที่ผู้หญิงไทยมีรูปร่างใหญ่โตขึ้น และมีผู้ที่รูปร่างเกินมาตรฐานกว่าร้อยละ 48 นั่น
ชี้ให้เห็นชัดว่าความต้องการสินค้าประเภทไซส์ใหญ่ที่เรียกว่าเสื้อผ้าพลัสไซส์ในตลาดนั้นมีจานวน
มาก จึงถือว่าเป็นช่องว่างและโอกาสทาการตลาดที่น่าจับตามองของธุรกิจเสื้อผ้าพลัสไซส์
ผู้หญิงที่สวมใส่เสื้อผ้าพลัสไซส์ที่มีขนาดรอบอก 38 นิ้ วขึ้นไป มีชื่อเรียกเฉพาะผู้หญิงพลัส
ไซส์ โดยผู้หญิงพลัสไซส์จัดว่าอยู่ในกลุ่มผู้หญิงที่เสื้อผ้าและเครื่องแต่งกายพลัสไซส์ยากกว่าผู้คนที่มี
ร่างปรกติจนถึงผอมบาง ซึ่งสร้างปัญหาในการเลือก ซื้อเสื้อผ้าที่เหมาะสมกับผู้หญิงพลัสไซส์
Statement
problems
problems
Statement
problems
problems
เป็นอย่างมาก จวบจนกระทั่งกระแสการค้าขายบน อินเตอร์เน็ตเป็นที่นิยมมากขึ้นจากเดิมและ
ต้องการที่จะตอบสนองผู้บริโภคพลัสไซส์จึงเป็นความน่าสนใจที่จะทาการวิจัยถึงปัจจัย โดยผลการวิจัย
สามารถใช้เป็นข้อมูลที่แสดงถึงพฤติกรรมการซื้อผ่านช่องทางออนไลน์เพื่อประโยชน์ ของตัวธุรกิจเอง
และกลุ่มผู้หญิงพลัสไซส์อันเป็นที่มาของงานวิจัยชิ้นนี้
Objectives
วัตถุประสงค์การวิจัย
เพื่อศึกษาทัศนคติ และพฤติกรรม การ
ซื้ อเสื้อผ้าออนไลน์ของผู้หญิงพลัสไซส์
ผ่านช่องทาง Facebook
เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการเลือก
ซื้ อเสื้อผ้าออนไลน์ของผู้หญิงพลัส
ไซส์ผ่านช่องทาง Facebook
เพื่อศึกษาลักษณะทางประชากรศาสตร์ที่แตกต่างกันว่ามี
ผลอยางไรต่อปัจจัยการเลือกซื้ อเสื้อผ้าออนไลน์ของ
ผู้หญิงพลัสไซส์ผ่านช่องทาง Facebook
RESEARCH
HYPOTHESIS
RESEARCH
HYPOTHESIS
ลักษณะทางประชากรศาสตร์
ของผู้หญิงพลัสไซส์ที่แตกต่างกันมีปัจจัย
ทางสังคมต่อการซื้ อเสื้อผ้าออนไลน์ผ่าน
ช่องทาง Facebook แตกต่างกัน
ลักษณะทางประชากรศาสตร์
ของผู้หญิงพลัสไซส์ที่แตกต่างกันมีปัจจัย
ทางจิตวิทยาการจูงใจต่อการซื้ อเสื้อผ้า
ออนไลน์ผ่านช่องทาง Facebook แตกต่าง
กัน
RESEARCH
HYPOTHESIS
สมมติฐานที่ 1
สมมติฐานที่ 2
ลักษณะทางประชากรศาสตร์ของ
ผู้หญิงพลัสไซส์ที่แตกต่างกันมีปัจจัย
ส่วนประสมทางการตลาดออนไลน์
ต่อการซื้ อเสื้อผ้าออนไลน์ผ่าน
ช่องทาง Facebook แตกต่างกัน
สมมติฐานที่ 3
Conceptual
Framwork
กรอบแนวคิด
กรอบแนวคิด
กรอบแนวคิด
ปัจจัยทางสังคม
- กลุ่มอ้างอิง
- บทบาทละสถานภาพ
ปัจจัยภายใน
ปัจจัยทางจิตวิทยาการจูงใจ
- แรงจูงใจ
- การรับรู้
- การเรียนรู้
- ความเชื่อ
ปัจจัยภายนอก
ปัจจัยส่วนผสมทาง
การตลาดออนไลน์
- ปัจจัยด้านการผลิต
- ราคา
- ช่องทางการจัด
จาหน่าย
- การส่งเสริมการตลาด
ทัศนคติ
- ความเชื่อความรู้เกี่ยวกับ
สินค้า
- พฤติกรรมการซื้อ
- ความพึงพอใจเกี่ยวกับการ
ซื้อสินค้า
- ความรู้สึกเกี่ยวกับตัวเอง
พฤติกรรม
- การเลือกผลิตภัณฑ์ - การเลือกผู้ขาย -เวลาในการซื้อ
- การเลือกตราสินค้า - ปริมาณในการซื้อ
ลักษณะทางประชากรของ
ผู้หญิงพลัสไซส์
อายุ
การศึกษา
อาชีพ
รายได้
สถานภาพ
Theory
 แนวคิดเกี่ยวกับพฤติกรรมผู้บริโภค
ความหมาย ความหมายของพฤติกรรมของผู้บริโภคเป็นพฤติกรรมที่ผู้บริโภค
แสดงออกไม่ว่าจะ เป็นการเสาะหา ซื้อ ใช้ ประเมินผล หรือการบริโภคผลิตภัณฑ์ บริการ
และแนวคิดต่างๆซึ่งผู้บริโภค คาดว่าจะสามารถตอบสนองความต้องการของตนได้
พฤติกรรมผู้บริโภค อภิชาต คาเอก (2552) ได้กล่าวว่า การตัดสินใจซื้อของ
ผู้บริโภค จะมีจุดเริ่มต้นจาก สิ่งกระตุ้นต่างๆที่ผ่านเข้ามายังความรู้สึกนึกคิดของผู้ซื้อ
และได้รับอิทธิพลจากลักษณะของผู้ซื้อทาให้เกิดความต้องการแล้วจึงมีการตอบสนองของ
ผู้ซื้อ เรียกวาการตัดสินใจของผู้ซื้อ
Theory
 แนวคิดเกี่ยวกับทัศนคติและการตัดสินใจของผู้บริโภค
STYLE
STYLE
STYLE
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการซื้ อของผู้บริโภค
อภิชาต คาเอก (2553) กล่าวว่า เมื่อผู้บริโภคได้รับสิ่งกระตุ้น
ทางการตลาดและสิ่งกระตุ้นอื่นแล้ว ภายในความรู้สึกนึกคิดของผู้
ซื้อจะทาให้เกิดพฤติกรรมการซื้อเมื่อทราบความรู้สึกนึกคิดใน
กล่องดาของผู้บริโภคว่าสิ่งใดเป็นตัวกระตุ้นให้เกิดการซื้อ
และทราบลักษณะความต้องการของลูกค้า จะนาผลที่ได้จาก
การศึกษามาจัดสิ่งกระตุ้นทางการตลาดต่างๆ เพื่อกระตุ้น
การซื้อของกลุ่มเป้าหมายได้ถูกต้อง
Theory
Theory
กระบวนการตัดสินใจซื้ อ
พฤติกรรมผู้บริโภคมีลักษณะเป็นกระบวนการที่ต้องอาศัยเวลาและใช้
ความพยายามตาม ปัจจัยใจภายในและภายนอก ตามที่กล่าวมา นักการตลาดจึงจะ
มีอิทธิพลต่อการบวนการตัดสินใจ ซื้อของผู้บริโภค (Consumer decision –
marketing process) ซึ่งประกอบด้วย 5 ขั้นตอน ดังนี้ (ศิริรัตน์ เสรีรัตน์ และคณะ
อ้างถึงใน อภิชาต คาเอก, 2552) ดังนี้
1. การตระหนักถึงความต้องการ (Need recognition)
2. การค้นหาข้อมูล (Search)
Theory
Theory การประเมินผลทางเลือกต่างๆ
(Evaluation of alternatives)
การซื้อ (Purchase)
การประเมินผลหลังการซื้อ (Post
purchase evaluation)
 แนวความคิดเรื่องการตลาดออนไลน์
แนวคิดเรื่องกลยุทธ์ทางการตลาดสาหรับการตลาดทางตรงโดยอินเทอร์เน็ต อรชร มณีสงฆ์(2546,
น.80-84) ได้กล่าวถึง การกาหนดกลยุทธ์ทางการตลาดในหัวข้อขั้นตอนการจัดทาการตลาดทางอินเทอร์เน็ต
ไว้ดังนี้
1. ด้านผลิตภัณฑ์ ควรนาเสนอผลิตภัณฑ์ในรูปแบบที่มีองค์ประกอบให้เลือกได้ตามความต้องการของลูกค้า
2. ด้านราคา ระบบการตลาดทางอินเทอร์เน็ตเป็นระบบที่มีการแข่งขันสูงจึงมักทาให้เกิดสงครามราคาขึ้น
3. ด้านการส่งเสริมการตลาด การโฆษณาเว็บไซต์ให้เป็นที่รู้จักของลูกค้า วิธีที่นิยมมากที่สุดได้แก่ การ
ลงทะเบียนในเครื่องมือค้นหา (Search Engine)
Theory
Theory
2. การตลาดด้วยจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (E-mail
Marketing) หมายถึงการส่งจดหมาย อิเล็กทรอนิกส์เกี่ยวกับ
ข้อมูลสินค้าหรือกิจกรรมต่างๆ ของบริษัทไปยังผู้ที่มีรายชื่อ
อยู่ในรายการ
3. การประชาสัมพันธ์ (Public Relations) หมายถึงการ
เผยแพร่ความรู้และข่าวสารของ องค์กรแก่กลุ่มลูกค้าเป้ า
หมายหรือสาธารณชน ด้วยวิธีการอื่นที่ไม่ใช่การโฆษณา
1. การโฆษณาออนไลน์ (Online Advertising) หมายถึง การลงโฆษณา
ในเว็บไซต์หรือ บริการออนไลน์อื่นๆ รูปแบบของการโฆษณาออนไลน์มี
4 รูปแบบ ได้แก่
1.1 การโฆษณาด้วยป้ายโฆษณาอิเล็กทรอนิกส์ (Banner)
1.2 การโฆษณาด้วยเว็บไซต์เครื่องมือช่วยค้นหา (Search Engine
Optimization)
1.3 การเป็นผู้ให้การสนับสนุน (Sponsorships)
1.4 การสร้างความสัมพันธ์กับเว็บไซต์อื่น (Affiliate Relationship)
แนวคิดเรื่องการสื่อสารทางการตลาดออนไลน์
Laudon and Traver (2004, น. 413 -426) ได้กล่าวถึง
การสื่อสารทางการตลาด ว่าสร้าง ขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์ 2 ประการคือ
เพื่อสร้างการรับรู้ในตราสินค้า และเพื่อสร้างยอดขาย โดย รูปแบบการ
สื่อสารทางการตลาดออนไลน์ ที่สาคัญมี 3 รูปแบบได้แก่
และผลิตภัณฑ์ความงาม และเรื่องถูกพูดถึงมากที่สุด คือ เรื่องของอาหาร 80% ผลิตภัณฑ์ความงาม 68% และ
แอลกอฮอล์ 58% โดยยึดถือเรื่องของ คุณภาพเป็นหลัก
แนวความคิดเรื่องการตลาดในกลุ่มผู้หญิงเอเชีย กลุ่มตัวอย่างของผู้หญิง 5,500 คน ในจีน
อินเดีย ญี่ปุ่น เกาหลี และสิงคโปร์พบว่า 43 % ของผู้หญิงเอเชียอยู่ในระดับผู้บริหารหรือผู้เชี่ยวชาญในวิชาชีพ
หมายความว่าผู้หญิงเปลี่ยนวิถีจากแม่บ้านมาร่วมกนหา เลี้ยงครอบครัวมากขึ้น ดังนั้นอานาจในการซื้อสินค้า
ของผู้หญิงจะต้องเพิ่มขึ้นด้วย โดยการตัดสินใจ ซื้อสินค้าถ้าเป็นสินค้าอุปโภคบริโภค เสื้อผ้าและของใช้ส่วนตัว
ทาการตลาดออนไลน์ในกลุ่มเป้าหมายผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย
Theory
Theory
 แนวความคิดเรื่องการตลาดในกลุ่มผู้หญิง
แนวความคิดเรื่องการตลาดใน
กลุ่มผู้หญิงอเมริกา แอนโธนี โดนัลสัน ได้
กล่าวถึงใน การตลาดในกลุ่ม ผู้หญิง ว่าในกลุ่ม
ผู้หญิงชาวอเมริกันเป็นผู้ตัดสินใจซื้อสินค้าต่างๆ
ถึง 4 ใน 5 ของรายจ่ายทั้งหมด ธุรกิจที่กลุ่ม
ลูกค้าเข้ามา ใช้บริการมากที่สุดคือธุรกิจอาหาร
แอลกอฮอล์
 แนวความคิดเรื่องผู้หญิงพลัสไซส์
ตลาดแฟชั่นสาวพลัสไซส์ (PlusSize) คือ เสื้อผ้าที่ตัดเย็บด้วยขนาดรอบอก
มากกว่า 38 นิ้ วขึ้นไป และ ออกแบบตามกบกระแส แฟชั่น คือนอกจากจะตัดเย็บให้
มีขนาดใหญ่แล้ว ยังคานึงถึงเรื่องความงาม และช่วยสร้างภาพลักษณ์ให้สาวร่าง
ใหญ่มีความมั่นใจได้เต็มที่ 3 ประเด็นสาคัญที่ผู้ประกอบการ (และผู้ที่สนใจทา
ธุรกิจ)แฟชั่นPlus sizeควรต้องคานึงถึง คือ
Theory
Theory ค้นหากลุ่มเป้ าหมายที่แท้จริง
ความเข้าใจปัญหาเรื่องขนาดและรูปร่าง
นาเสนอความงามควบคู่กับคุณประโยชน์
STYLE
STYLE
STYLE
โอกาสและความเป็นไปได้ในอนาคต
อัตราการเพิ่มขึ้นของคนอ้วนนั้นจะผันแปรไปตามระดับการพัฒนา
ทางเศรษฐกิจ ซึ่งหมายความว่ายิ่งมีฐานะมากยิ่งมีโอกาสอ้วนมากขึ้น
Theory
Theory
RELATED
RESEARCH
รัชนี ไพศาลวงศ์ดี (2556) ได้ทาการศึกษาเรื่อง“ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อ
การตัดสินใจซื้อ สินค้าเสือผ้าสตรีทางอินเตอร์เน็ตของประชากรในเขต
กรุงเทพมหานคร
ผลการศึกษาพบว่า 1. ปัจจัยสวนบุคคลด้านการศึกษาและการสมรสที่
แตกต่างกันมีผลต่อการตัดสินใจซื้อเสื้อผ้าสตรีทางอินเตอร์เน็ต 2. ความพึงพอใจ
ของผู้บริโภคอยู่ที่การประหยัดเวลาในการซื้อสินค้าและบริการความสวยงาม สีสัน
ความเป็นหมวดหมู่ของสินค้าภายในเว็บ ด้านการตรงต่อเวลาในการส่งสินค้า
และบริการ ด้านความปลอดภัยของวิธีชาระเงิน มีความสัมพันธ์ต่อปัจจัยการซื้อ
สินค้าทางอินเตอร์เน็ต 3. ปัจจัยด้านราคาและส่วนประสมทางการตลาดมี
ความสัมพันธ์ต่อการซื้อเสือผ้าสตรีทางอินเตอร์เน็ต
RELATEDงานวิ
จ
ั
ย
ที
่
เ
กี
่
ย
วข้
อ
ง
DESIGN
STYLE
STYLE
STYLE
ฤทัย เตชะบูรณเทพาภรณ์ (2554) ได้ทาการศึกษา แรงจูงใจ และปัจจัยทางการตลาดบน
Facebook ที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้า และบริการของผู้บริโภคใน เขต กรุงเทพมหานคร
จากผลการศึกษาพบว่าปัจจัยด้านการตลาดบนเฟซบุ๊ก ด้านผลิตภัณฑ์ที่มีผลต่อตัดสินใจซื้ออยู่
ในระดับที่มีผลต่อการตัดสินใจมาก โดยการที่ตราสินค้ามีชื่อเสียงเป็นที่รู้จัก จะทาให้มีระดับที่มีผลตอการ
ตัดสินใจมากเป็นอันดับแรก
ด้านการส่งเสริมการตลาดพบว่ามีผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าและบริการในระดับมากอยู่ ทั้ง
ในส่วน ของการโฆษณา การส่งเสริมการขาย การประชาสัมพันธ์ เป็นต้น โดยการเป็นผู้สนับสนุนกิจกรรม
ต่อสังคมขององค์กรจะทาให้มีระดับที่มีผลตอการตัดสินใจมาก เป็นอันดับแรก
RELATED
RESEARCH
RESEARCH
METHODOLOGY
ระเบียบวิธีวิจัยในการศึกษาเรื่องลักษณะพฤติกรรมและปัจจัยต่อการเลือกซื้อเสื้อผ้า
ออนไลน์ของผู้หญิงพลัสไซส์ผานช่องทางเฟซบุ๊กได้กาหนดดังต่อไปนี้
รูปแบบการวิจัย
การวิจัยครั้งนี้ เป็นงานวิจัย 2 ระบบคือเชิงปริมาณ (Quantitative Research) และ
งานวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้ แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล เพื่อนามา
วิเคราะห์ทางสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) และวิธีวิเคราะห์สถิติเชิงอนุมาน
(Inferential Statistics) และงานวิจัยเชิงคุณภาพโดยใช้การสัมภาษณ์ (In-dept interview)
RESEARCH
METHODOLOGY
ประชากรตัวอย่างที่ศึกษา
กลุ่มประชากรที่ศึกษาวิจัยครั้งนี้ ในการวิจัยเชิงปริมาณ คือ กลุ่มประชากรผู้หญิงพลัสไซส์ที่เคยเลือกซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ผ่าน
ช่องทางเฟซบุ๊ก สามารถกาหนดขนาดตัวอย่างได้ 400 คน และในการวิจัยเชิงคุณภาพ คือกลุ่มประชากรผู้หญิงพลัสไซส์ที่เลือกซื้อเสื้อผ้า
ออนไลน์ผ่านช่องทางเฟซบุ๊ก จานวน 9 คน
วิธีการสุ่มตัวอย่าง
การเลือกตัวอย่างโดยไม่อาศัยหลักความน่าจะเป็นแบบ เฉพาะเจาะจง (Purposive sampling)โดยพิจารณาจากการตัดสินใจของ
ผู้วิจัยเอง โดยเป็นไปตามวัตถุประสงค์การวิจัยคือเป็นผู้หญิงพลัสไซส์ที่เคยซื้อสินค้าประเภทเสื้อผ้าผ่านช่องทางเฟซบุ๊ก โดยสุ่มจากรูปคนที่มี
ลักษณะเข้าข่ายผู้หญิงพลัสไซส์ จากกลุ่มซื้อขายเสื้อผ้าผู้หญิงพลัสไซส์ และติดต่อไปทางช่องแชทว่าเคยซื้อเสื้อผ้าผ่านช่องทางเฟซบุ๊กหรือไม่
และ ส่งลิงค์ในการตอบแบบสอบถามไปยังกลุ่มเป้าหมาย
.
เครื่องมือในการวิจัย ในส่วนของการวิจัยเชิงปริมาณ ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล
ซึ่งโดยทั่วไปเป็นแบบสอบถามปลายปิด โดยแจกแบบสอบถามกลุ่มประชากรในกลุ่มผู้หญิงพลัสไซส์ที่ซื้อ
เสื้อผ้าออนไลน์ผ่านช่องทางเฟซบุ๊ก ซึ่งข้อมูลในแบบสอบถามมีดังนี้
ส่วนที่ 1 เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับลักษณะประชากรของกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ อายุ การศึกษา
อาชีพ รายได้ สถานภาพ
ส่วนที่ 2 ทัศนคติที่เกี่ยวข้องกับการซื้อสินค้าออนไลน์ประเภทเสื้อผ้าพลัสไซส์ผ่านช่องทางเฟซบุ๊ก
ส่วนที่ 3 พฤติกรรมการซื้อสินค้าออนไลน์ประเภทเสื้อผ้าพลัสไซต์ผานช่องทางเฟซบุ๊ก
ส่วนที่ 4 ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ของผู้หญิงพลัสไซต์ผ่านช่องทาง เฟซบุ๊ก
ในการวิจัยในส่วนของการวิจัยเชิงคุณภาพ ใช้การสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (In-dept interview)
เพื่อขยายความคิดเห็นในคาตอบของประเด็นคาถามที่สอดคล้องกับคาถามเชิงปริมาณ
ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัย
ตัวแปรต้น คือ ลักษณะทาง
ประชากรศาสตร์ ได้แก่ อายุ การศึกษา อาชีพ
รายได้ สถานภาพ
ตัวแปรตาม คือ ปัจจัยที่มีผลต่อ
การเลือกซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ของผู้หญิงพลัสไซส์
METHODOLOGY
RESEARCH
RESEARCH
METHODOLOGY
การทดสอบเครื่องมือ
1. ทดสอบความตรง (Validity) ใช้ผู้ทรงคุณวุฒิประกอบด้วย อาจารย์ที่
ปรึกษา และ อาจารย์ผู้สอนวิชาสถิติสาหรับการวิจัยของนิเทศศาสตร์ พิจารณาขอบเขต
ของเนื้ อหาของคาถามในแบบสอบถามว่าได้ครอบคลุมและถูกต้องตรงประเด็น(Content
validity) ตามเป้าหมายของการศึกษา
2. การทดสอบหาค่าความเชื่อมั่น (Reliability test) เป็นการทดสอบความ
แม่นยาของ เครื่องมือหรือแบบสอบถามที่นาไปทดอบหรือแบบสอบถามที่นาไปทดสอบ
หรือแบบสอบถามที่ได้ปรับปรุงแก้ไขแล้ว เพื่อนาผลที่ได้ไปวิเคราะห์หาค่าความเชื่อมั่น
ทางสถิติ โดยวิธีหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบัค (Cronbach’s Coefficient) ทั้งนี้
ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบัคควรมีค่าไม่น้อยกว่า 0.7 (Nunnaly, 1978)
METHODOLOGY
RESEARCH
TEMPLATE
การวัดค่าตัวแปร การวิเคราะห์เชิงสถิติ
เกณฑ์การให้คะแนนตัวแปร การวิเคราะห์ตัวแปร และ
การประมวลผลในงานวิจัยมีดังนี้
1. ข้อมูลตามลักษณะทางประชากรศาสตร์ทัศนคติ พฤติกรรมการ
เลือกซื้อ และปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกซื้อวิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าเฉลี่ย
และร้อยละ
สเกลการวัดและการให้คะแนน
สาหรับมาตรวัดแบบ Likert Scale ซึ่งแบ่งความคิดเห็นออกเป็น 5
ระดับ โดยให้ผู้ตอบ แบบสอบถามให้คะแนนระดับความเห็นกับ
ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ของผู้หญิงพลัสไซต์ผ่าน
ช่องทางเฟซบุ๊กดังนี้
METHODOLOGY
RESEARCH
RESEARCH
METHODOLOGY
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
ในการวิจัยเชิงปริมาณ(Quantitative Research)ใช้แบบสอบถาม
(Questionnaires) เป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลกลุ่มประชากร ในช่วง
เวลาประมาณ 3 เดือน ระหว่างเดือน มีนาคม 2559 ถึงพฤษภาคม 2559
โดยการแจกแบบสอบถาม 400 ชุด บนชุมชนเฟซบุ๊กที่มีกลุ่มผู้หญิงพลัสไซส์
รวมตัวกันอยู่ เน้นผู้หญิงพลัสไซส์ที่เคยซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ผ่านช่องทางเฟซบุ๊ก
การวิจัยเชิงคุณภาพ(Quanlitative Research) ใช้เวลาในการเก็บ
ข้อมูล ประมาณ 6 เดือน ระหว่างเดือน กันยายน 2560 กุมภาพันธ์ 2561 ใน
การใช้คาถามแบบเจาะลึกกับผู้หญิงพลัสไซส์ที่เคยซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ผ่าน
ช่องทางเฟซบุ๊กจานวน 9 คน
TEMPLATE
ดังนั้น แต่ละช่วงของข้อมูลจะห่างกัน = 0.80 คะแนน
สามารถแบ่งเป็นอันตรภาคขั้นการแปลความหมาย ดังนี้
คะแนนเฉลี่ย 4.20-5.00 หมายถึง มากที่สุด
คะแนนเฉลี่ย 3.40-4.19 หมายถึง มาก
คะแนนเฉลี่ย 2.30-3.39 หมายถึง ปานกลาง
คะแนนเฉลี่ย 1.50-2.29 หมายถึง น้อย
คะแนนเฉลี่ย 0.70-1.49 หมายถึง น้อยที่สุด
2. ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางประชากรศาสตร์
ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ของผู้หญิงพลัสไซส์ผ่าน
ช่องทางเฟซบุ๊ก วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าสถิติF-Testและนาค่า Sig.
นามาจับคู่โดยวิธีเชฟเฟ่ (Scheffe)
METHODOLOGY
RESEARCH
RESEARCH
METHODOLOGY
มากที่สุด ให้คะแนนเป็น 5
มาก ให้คะแนนเป็น 4
ปานกลาง ให้คะแนนเป็น 3
น้อย ให้คะแนนเป็น 2
น้อยที่สุด ให้คะแนนเป็น 1
การคิดค่าเฉลี่ยของคะแนนที่ได้ แบ่งระดับความสาคัญออกเป็น 5
ระดับ โดยมีวิธีการคานวณความกว้างของอันตรภาคชั้นดังนี้
ความกว้างของแต่ละอันตรภาคชั้น = คะแนนสูงสุด –คะแนนต่าสุด
จานวนของอันตรภาคชั้น
= 5-1
5
RESEARCH
METHODOLOGY
การเก็บรวบรวมข้อมูล
ในการศึกษาส่วนของการวิจัยเชิงปริมาณ ทาการเก็บ
รวบรวมข้อมูลโดยการแจก แบบสอบถาม (Survey Research) ให้กบ
กลุ่มตัวอย่างที่ทาการสุ่มเลือกเป็นกลุ่มผู้หญิงพลัสไซส์ในชุมชน
ออนไลน์ระหว่างเดือน มีนาคม-พฤษภาคม 2559
ในการศึกษาส่วนของการวิจัยเชิงคุณภาพ ทาการเก็บ
รวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์(In-dept interview) กับกลุ่มตัวอย่าง
ผู้หญิงพลัสไซส์ที่ทาการสุ่มเลือกระหว่างเดือนกันยายน 2560-
กุมภาพันธ์ 2561
การประมวลผลและวิเคราะห์ข้อมูล
ในส่วนวิจัยเชิงปริมาณภายหลังที่ได้ทาการเก็บ รวบ รวม
ข้อมูลจาก กลุ่มเป้าหมายจานวน 400 ชุดครบถ้วนแล้ว ผู้วิจัยจะนาข้อมูล
ทั้งหมดที่ได้ไปตรวจสอบความถูกต้องของแบบสอบถามและการลงรหัส
จากนั้นจะนาข้อมูลที่ได้ไปทาการประมวลผลโดยใช้โปรแกรมสาเร็จรูป
SPSS เพื่อคานวณตามลักษณะของข้อมูลที่ได้ตอบโจทย์ของวัตถุประสงค์ของ
งานวิจัยที่กาหนดไว้ต่อไป
ในส่วนของงานวิจัยเชิงคุณภาพ หลังจากบันทึกข้อมูลและ
รวบรวม ข้อมูลจาก กลุ่มเป้าหมายจานวน 9 คน เรียบร้อยแล้วจึงได้เรียบ
เรียงคาตอบตามประเด็นหลังจากนั้นจึงทาการ เขียนสรุปผลตามลาดับ
RESULTS
 ส่วนที่ 1 คือส่วนของการศึกษาเชิงปริมาณ
STYLE
STYLE
STYLE
ผลการวิจัยในประเด็นต่างๆตามคาถามนาวิจัยดังนี้
1.ทัศนคติ และพฤติกรรมการซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ของผู้หญิงพลัสไซส์ผ่านช่องทางเฟซบุ๊กเป็น
อย่างไร
2.ปัจจัยในการตัดสินใจเลือกซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ของผู้หญิงพลัสไซส์ผ่านช่องทางเฟซบุ๊กเป็น
อย่างไร
3.ลักษณ์ทางประชากรศาสตร์ที่แตกต่างกนมีผลการเลือกซื้อสินค้ามีผลต่อปัจจัยการซื้อ
เสื้อผ้าออนไลน์ของผู้หญิงพลัสไซส์ผ่านช่องทางเฟซบุ๊กแตกต่างกันอย่างไร
ได้ใช้แบบสอบถามจานวน 400 ชุด เก็บข้อมูลกบกลุ่มตัวอยางที่เป็นผู้หญิงพลัสไซส์ที่ เคยซื้อ
เสื้อผ้าผ่านทางเฟซบุ๊ก ผ่านช่องทางอินเตอร์เน็ต
ผลการทดสอบสมมติฐานการวิจัย
1) สมมติฐานการวิจัย ข้อที่ 1 ลักษณะทางประชากรศาสตร์ของผู้หญิงพลัสไซส์ที่แตกต่างกัน
ปัจจัยทางสังคมต่อการซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ของผู้หญิงพลัสไซส์ผ่านช่องทางเฟซบุ๊กแตกต่างกัน
แบ่งเป็นสมมติฐานย่อย ได้ดังนี้
1.1) สมมติฐานข้อที่ 1.1 ผู้หญิงพลัสไซส์ที่มีอายุแตกต่างกันมีปัจจัยการซื้อเสื้อผ้า ออนไลน์ของ
ผู้หญิงพลัสไซส์ผ่านช่องทางเฟซบุ๊ก ด้านปัจจัยทางสังคมแตกต่างกันสมมติฐานทางสถิติคือ
H0 :ผู้หญิงพลัสไซส์ที่มีอายุแตกต่างกันมีปัจจัยการซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ของผู้หญิงพลัสไซส์ผ่านช่องทาง
เฟซบุ๊ก ด้านปัจจัยทางสังคมไม่แตกต่างกัน
H1 : ผู้หญิงพลัสไซส์ที่มีอายุแตกต่างกันมีปัจจัยการซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ของ
ผู้หญิงพลัสไซส์ผ่านช่องทางเฟซบุ๊ก ด้านปัจจัยทางสังคมแตกต่างกันตัวสถิติที่ใช้
ในการทดสอบ คือ t-test
ซึ่งสามารถเขียนสมมติฐานทางสถิติในลักษณะสัญลักษณ์ได้ดังนี้
H0
: µ1=µ2
H1
: µ1≠µ 2
โดย µ1=ค่าเฉลี่ยของปัจจัยการเลือกซื้อเสื้อผ้าผ่านช่องทางเฟซบุ๊กของผู้หญิงพลัสไซส์ที่มีอายุ
13-30 ปี
µ2=ค่าเฉลี่ยของปัจจัยการเลือกซื้อเสื้อผ้าผ่านช่องทางเฟซบุ๊กของผู้หญิงพลัสไซส์ที่มีอายุ
มากกว่า30 ปี ขึ้นไป
1.2) สมมติฐานข้อที่ 1.2ผู้หญิงพลัสไซส์ที่มีอาชีพแตกต่างกันมีปัจจัย
การซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ของผู้หญิงพลัสไซส์ผ่านช่องทางเฟซบุ๊ก
ด้านปัจจัยทางสังคมที่แตกต่างกัน
สมมติฐานทางสถิติคือ
H0 :ผู้หญิงพลัสไซส์ที่มีอาชีพแตกต่างกันมีปัจจัยการซื้อเสื้อผ้า
ออนไลน์ของผู้หญิงพลัสไซส์ผ่านช่องทางเฟซบุ๊ก ด้านปัจจัยทางสังคม
ไม่แตกต่างกัน
H1: ผู้หญิงพลัสไซส์ที่มีอาชีพแตกต่างกันมีปัจจัยการซื้อเสื้อผ้าออนไลน์
ของผู้หญิงพลัสไซส์ผ่านช่องทางเฟซบุ๊ก ด้านปัจจัยทางสังคมแตกต่าง
กัน ตัวสถิติที่ใช้ในการทดสอบ คือ F-test
ซึ่งสามารถเขียนสมมติฐานทางสถิติในลักษณะสัญลักษณ์ได้ดังนี้
H0 : µ1=µ2=µ3=µ4= µ5
H1 : มีค่าเฉลี่ยอย่างน้อย 2 กลุ่มแตกต่างกัน
โดย µ1=ค่าเฉลี่ยของปัจจัยการเลือกซื้อเสื้อผ้าผ่านช่องทางเฟซบุ๊กของ
ผู้หญิงพลัสไซส์ที่มีอาชีพ นักเรียน/นักศึกษา
µ2=ค่าเฉลี่ยของปัจจัยการเลือกซื้อเสื้อผ้าผ่านช่องทางเฟซบุ๊กของผู้หญิงพลัส
ไซส์ที่มี อาชีพค้าขายธุรกิจส่วนตัว
µ3=ค่าเฉลี่ยของปัจจัยการเลือกซื้อเสื้อผ้าผ่านช่องทางเฟซบุ๊กของผู้หญิงพลัส
ไซส์ที่มี อาชีพลูกจ้างเอกชน/พนักงานบริษัท
µ4=ค่าเฉลี่ยของปัจจัยการเลือกซื้อเสื้อผ้าผ่านช่องทางเฟซบุ๊กของผู้หญิงพลัส
ไซส์ที่มี อาชีพข้าราชการรัฐวิสาหกิจ
µ5=ค่าเฉลี่ยของปัจจัยการเลือกซื้อเสื้อผ้าผ่านช่องทางเฟซบุ๊กของผู้หญิงพลัส
ไซส์ที่มี อาชีพอื่นๆ
RESULTS
จากตาราง 4.35ผู้หญิงพลัสไซส์ที่มีอาชีพแตกต่างกัน มีปัจจัยทางสังคมในการซื้อเสื้อผ้า
ออนไลน์ผ่านช่องทางเฟซบุ๊กแตกต่างกันจานวน 1คู่ คือ นักเรียน/นักศึกษา กับ อาชีพ
ค้า /ขายธุรกิจ ส่วนตัว โดยผู้หญิงพลัสไซส์ที่มีอาชีพค้าขาย/ธุรกิจส่วนตัว มีผลต่อปัจจัย
ทางสังคมในการซื้อเสื้อผ้า ออนไลน์ผ่านช่องทางเฟซบุ๊กมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 2.878
1.3) สมมติฐานข้อที่ 1.3ผู้หญิงพลัสไซส์ที่มีรายได้ต่อเดือนแตกต่างกันมีปัจจัยการซื้อ
เสื้อผ้าออนไลน์ของผู้หญิงพลัสไซส์ผ่านช่องทางเฟซบุ๊ก ด้านปัจจัยทางสังคมที่แตกต่าง
กัน
สมมติฐานทางสถิติคือ
H0 :ผู้หญิงพลัสไซส์ที่มีรายได้ต่อเดือนแตกต่างกันมีปัจจัยการซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ของ
ผู้หญิงพลัสไซส์ผ่านช่องทางเฟซบุ๊ก ด้านปัจจัยทางสังคมที่แตกต่างกัน
H1 :ผู้หญิงพลัสไซส์ที่มีรายได้ต่อเดือนแตกต่างกันมีปัจจัยการซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ของ
ผู้หญิงพลัสไซส์ผ่านช่องทางเฟซบุ๊ก ด้านปัจจัยทางสังคมที่แตกต่างกัน ตัวสถิติที่ใช้ใน
การทดสอบ คือ F-test
ซึ่งสามารถเขียนสมมติฐานทางสถิติในลักษณะสัญลักษณ์ได้ดังนี้
H0 : µ1=µ2= µ3= µ4= µ5
H1 : มีค่าเฉลี่ยอยางน้อย 2 กลุ่มแตกต่างกัน โดย µ1=ค่าเฉลี่ยของปัจจัยการเลือกซื้อ
เสื้อผ้าผ่านช่องทางเฟซบุ๊กของผู้หญิงพลัส ไซส์ที่มีรายได้ต่อเดือนน้อยกว่า 5,000 บาท
µ2=ค่าเฉลี่ยของปัจจัยการเลือกซื้อเสื้อผ้าผ่านช่องทางเฟซบุ๊กของผู้หญิงพลัสไซส์ที่มี
รายได้ต่อเดือน 5,001-10,000 บาท
RESULTS
µ3=ค่าเฉลี่ยของปัจจัยการเลือกซื้อเสื้อผ้าผ่านช่องทาง
เฟซบุ๊กของผู้หญิงพลัสไซส์ที่มีรายได้ต่อเดือน10,001-
15,000 บาท
µ4=ค่าเฉลี่ยของปัจจัยการเลือกซื้อเสื้อผ้าผ่านช่องทาง
เฟซบุ๊กของผู้หญิงพลัสไซส์ที่มีรายได้ต่อเดือน15,001-
30,000 บาท
µ5=ค่าเฉลี่ยของปัจจัยการเลือกซื้อเสื้อผ้าผ่านช่องทาง
เฟซบุ๊กของผู้หญิงพลัสไซส์ที่มี รายได้ต่อเดือน 30,001
บาทขึ้นไป
RESULTS จากจากตาราง 4.37ผู้หญิงพลัส
ไซส์ที่มีรายได้ต่อเดือนแตกต่าง
กัน มีปัจจัยทางสังคมในการซื้อ
เสื้อผ้าออนไลน์ผ่านช่องทาง
เฟซบุ๊กแตกต่างกัน จานวน 2คู่
คือ คู่แรก รายได้รายได้ 5,001-
10,000 บาท กับรายได้
30,001 ขึ้นไป และคู่ที่สอง
10,001-15,000 บาท กับ
รายได้ 30,001 ขึ้นไป
โดยผู้หญิงพลัสไซส์ที่มีรายได้
30,001 บาท ขึ้นไป มีผลต่อ
ปัจจัยทางสังคมในการซื้อเสื้อผ้า
ออนไลน์ผ่านช่องทางเฟซบุ๊กมาก
ที่สุด ค่าเฉลี่ย 2.802
ผู้หญิงพลัสไซส์ ที่มีระดับการศึกษาสูงสุดต่ากว่าปริญญาตรี
µ2=ค่าเฉลี่ยของปัจจัยการเลือกซื้อเสื้อผ้าผ่านช่องทางเฟซบุ๊กของผู้หญิงพลัสไซส์ที่มี
ระดับการศึกษาสูงสุดปริญญาตรี
µ3=ค่าเฉลี่ยของปัจจัยการเลือกซื้อเสื้อผ้าผ่านช่องทางเฟซบุ๊กของผู้หญิงพลัสไซส์ที่มี
ระดับการศึกษาสูงกวาปริญญาตรี
RESULTS
1.4) สมมติฐานข้อที่ 1.4ผู้หญิงพลัสไซส์ที่มีระดับการศึกษา
สูงสุดแตกต่างกันมี ปัจจัยการซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ของ
ผู้หญิงพลัสไซส์ผ่านช่องทางเฟซบุ๊ก ด้านปัจจัยทางสังคมที่
แตกต่างกัน
สมมติฐานทางสถิติคือ
H0 : ผู้หญิงพลัสไซส์ที่ระดับการศึกษาสูงสุดแตกต่างกันมี
ปัจจัยการซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ ของผู้หญิงพลัสไซส์ผ่านช่องทาง
เฟซบุ๊ก ด้านปัจจัยทางสังคมไม่แตกต่างกัน
H1 :ผู้หญิงพลัสไซส์ที่มีระดับการศึกษาสูงสุดแตกต่างกนมี
ปัจจัยการซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ของผู้หญิงพลัสไซส์ผ่านช่องทาง
เฟซบุ๊ก ด้านปัจจัยทางสังคมที่แตกต่างกัน
ตัวสถิติที่ใช้ในการทดสอบ คือ F-test ซึ่งสามารถเขียน
สมมติฐานทางสถิติในลักษณะสัญลักษณ์ได้ดังนี้
H0 : µ1=µ2=µ3
H1 : มีค่าเฉลี่ยอยางน้อย 2 กลุ่มแตกต่างกัน โดย µ1=
ค่าเฉลี่ยของปัจจัยการเลือกซื้อเสื้อผ้าผ่านช่องทางเฟซบุ๊กของ
1.5) สมมติฐานข้อที่ 1.5ผู้หญิงพลัสไซส์ที่มีสถานภาพสมรสแตกต่าง
กนมีปัจจัยการซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ของผู้หญิงพลัสไซส์ผ่านช่องทาง
เฟซบุ๊ก ด้านปัจจัยทางสังคมที่แตกต่างกัน
สมมติฐานทางสถิติคือ
H0 :ผู้หญิงพลัสไซส์ที่มีสถานภาพสมรสแตกต่างกันมีปัจจัยการซื้อ
เสื้อผ้าออนไลน์ของ
ผู้หญิงพลัสไซส์ผ่านช่องทางเฟซบุ๊ก ด้านปัจจัยทางสังคมไม่แตกต่างกัน
H1:ผู้หญิงพลัสไซส์ที่มีสถานภาพสมรสแตกต่างกันมีปัจจัยการซื้อ
เสื้อผ้าออนไลน์ของผู้หญิงพลัสไซส์ผานช่องทางเฟซบุ๊ก ด้านปัจจัยทาง
สังคมที่แตกต่างกัน
ตัวสถิติที่ใช้ในการทดสอบ คือ t-test
ซึ่งสามารถเขียนสมมติฐานทางสถิติในลักษณะสัญลักษณ์ได้ดังนี้
H0 : µ1=µ2
H1 : µ1≠µ 2 โดย µ1=ค่าเฉลี่ยของปัจจัยการเลือกซื้อเสื้อผ้าผ่าน
ช่องทางเฟซบุ๊กของผู้หญิงพลัสไซส์ที่มีสถานภาพสมรสโสด
µ2=ค่าเฉลี่ยของปัจจัยการเลือกซื้อเสื้อผ้าผ่านช่องทางเฟซบุ๊กของผู้หญิงพลัส
ไซส์ที่มี สถานภาพสมรส สมรสและอื่นๆ
RESULTS
TEMPLATE
สมมติฐานการวิจัย ข้อที่ 2 ลักษณะทางประชากรศาสตร์ของ
ผู้หญิงพลัสไซส์ที่แตกต่างกันมีปัจจัยทางจิตวิทยาการจูงใจต่อการซื้อเสื้อผ้า
ออนไลน์ผ่านช่องทางเฟซบุ๊กแตกต่างกนั
2.1) สมมติฐานข้อที่ 2.1 ผู้หญิงพลัสไซส์ที่มีอายุแตกต่างกันมี
ปัจจัยการซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ของผู้หญิงพลัสไซส์ผ่านช่องทางเฟซบุ๊กด้านปัจจัย
ทางจิตวิทยาการจูงใจแตกต่างกัน
สมมติฐานทางสถิติคือ
H0 :ผู้หญิงพลัสไซส์ที่มีอายุแตกต่างกันมีปัจจัยการซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ของ
ผู้หญิงพลัสไซส์ผ่านช่องทางเฟซบุ๊ก ด้านปัจจัยทางจิตวิทยาการจูงใจไม่
แตกต่างกนั
H1 : ผู้หญิงพลัสไซส์ที่มีอายุแตกต่างกันมีปัจจัยการซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ของ
ผู้หญิงพลัสไซส์ผ่านช่องทางเฟซบุ๊กด้านปัจจัยทางจิตวิทยาการจูงใจแตกต่างกัน
RESULTS
RESULTS
2.2) สมมติฐานข้อที่ 2.2ผู้หญิงพลัสไซส์ที่มีอาชีพแตกต่างกันมีปัจจัยการซื้อเสื้อผ้า
ออนไลน์ของผู้หญิงพลัสไซส์ผ่านช่องทางเฟซบุ๊ก ด้านปัจจัยทางจิตวิทยาการจูงใจที่แตกต่างกัน
สมมติฐานทางสถิติคือ
H0 : ผู้หญิงพลัสไซส์ที่มีอาชีพแตกต่างกนมีปัจจัยการซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ของผู้หญิงพลัสไซส์ผ่าน
ช่องทางเฟซบุ๊ก ด้านปัจจัยทางจิตวิทยาการจูงใจไม่แตกต่างกัน
H1 : ผู้หญิงพลัสไซส์ที่มีอาชีพแตกต่างกันมีปัจจัยการซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ของ
ผู้หญิงพลัสไซส์ผ่านช่องทางเฟซบุ๊ก ด้านปัจจัยทางจิตวิทยาการจูงใจแตกต่างกัน
RESULTS
RESULTS
จากตารางที่4.42ผู้หญิงพลัสไซส์ที่มีอาชีพแตกต่างกันมีปัจจัยทางจิตวิทยาการจูงใจในการซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ผ่านช่องทาง
เฟซบุ๊ก แตกต่างกันจานวน 1คู่ คือ นักเรียน/นักศึกษา กับ อาชีพค้า/ขายธุรกิจส่วนตัว โดยผู้หญิงพลัสไซส์ที่มีอาชีพ
ค้าขาย/ธุรกิจส่วนตัว มีผลต่อปัจจัยทางจิตวิทยาการจูงใจในการซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ผ่านช่องทางเฟซบุ๊กมากที่สุด ค่าเฉลี่ย
3.353
สมมติฐานข้อที่ 2.3ผู้หญิงพลัสไซส์ที่มีรายได้ต่อเดือน
แตกต่างกนมีปัจจัยการซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ของผู้หญิงพลัส
ไซส์ผ่านช่องทางเฟซบุ๊ก ด้านปัจจัยทางจิตวิทยาการจูงใจที่
แตกต่างกัน สมมติฐานทางสถิติคือ H0 :ผู้หญิงพลัสไซส์ที่มี
รายได้ต่อเดือนแตกต่างกนมีปัจจัยการซื้อเสื้อผ้าออนไลน์
ของผู้หญิงพลัสไซส์ผ่านช่องทางเฟซบุ๊ก ด้านปัจจัยทาง
จิตวิทยาการจูงใจที่แตกต่างกัน
RESULTS
RESULTS
H1 :ผู้หญิงพลัสไซส์ที่มีรายได้ต่อเดือนแตกต่างกนมีปัจจัยการซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ของ
ผู้หญิงพลัสไซส์ผ่านช่องทางเฟซบุ๊ก ด้านปัจจัยทางจิตวิทยาการจูงใจแตกต่างกัน
สมมติฐานข้อที่ 2.4ผู้หญิงพลัสไซส์ที่มีระดับการศึกษาสูงสุดแตกต่างกันมีปัจจัยการซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ของ
ผู้หญิงพลัสไซส์ผ่านช่องทางเฟซบุ๊ก ด้านปัจจัยทางจิตวิทยาการจูงใจที่ แตกต่างกัน สมมติฐานทางสถิติคือ
H0 :ผู้หญิงพลัสไซส์ที่ระดับการศึกษาสูงสุดแตกต่างกนมีปัจจัยการซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ของผู้หญิงพลัสไซส์ผ่าน
ช่องทางเฟซบุ๊ก ด้านปัจจัยทางจิตวิทยาการจูงใจไม่แตกต่างกัน
H1 :ผู้หญิงพลัสไซส์ที่มีระดับการศึกษาสูงสุดแตกต่างกนมีปัจจัยการซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ ของผู้หญิงพลัสไซส์
ผ่านช่องทางเฟซบุ๊ก ด้านปัจจัยทางจิตวิทยาการจูงใจที่แตกต่างกัน
RESULTS
RESULTS
สมมติฐานข้อที่ 2.5 ผู้หญิงพลัสไซส์ที่มีสถานภาพสมรส
แตกต่างกนมีปัจจัยการซื้อ เสื้อผ้าออนไลน์ของผู้หญิงพลัส
ไซส์ผานช่องทางเฟซบุ๊ก ด้านปัจจัยทางจิตวิทยาการจูงใจที่
แตกต่างกัน สมมติฐานทางสถิติคือ H0 : ผู้หญิงพลัสไซส์ที่มี
สถานภาพสมรสแตกต่างกนมีปัจจัยการซื้อเสื้อผ้าออนไลน์
ของผู้หญิงพลัสไซส์ผ่านช่องทางเฟซบุ๊ก ด้านปัจจัยทาง
จิตวิทยาการจูงใจไม่แตกต่างกัน
RESULTS
RESULTS
H1 : ผู้หญิงพลัสไซส์ที่มีสถานภาพสมรสแตกต่างกนมีปัจจัยการซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ของ
ผู้หญิงพลัสไซส์ผ่านช่องทางเฟซบุ๊ก ด้านปัจจัยทางจิตวิทยาการจูงใจที่แตกต่างกัน
3) สมมติฐานการวิจัย ข้อที่ 3ลักษณะทางประชากรศาสตร์ของ
ผู้หญิงพลัสไซส์ที่แตกต่างกันมีปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด
ออนไลน์ ต่อการซื้ อเสื้อผ้าออนไลน์ผ่านช่องทางเฟซบุ๊ก แตกต่างกัน
3.1) สมมติฐานข้อที่ 3.1 ผู้หญิงพลัสไซส์ที่มีอายุแตกต่างกันมีปั จจัยการ
ซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ของผู้หญิงพลัสไซส์ผ่านช่องทางเฟซบุ๊ก ด้านปัจจัยส่วน
ประสมทางการตลาดออนไลน์แตกต่างกัน
สมมติฐานทางสถิติคือ
H0 :ผู้หญิงพลัสไซส์ที่มีอายุแตกต่างกันมีปั จจัยการซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ของ
ผู้หญิงพลัสไซส์ผ่านช่องทางเฟซบุ๊ก ด้านปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด
ออนไลน์ ไม่แตกต่างกัน
H1 : ผู้หญิงพลัสไซส์ที่มีอายุแตกต่างกันมีปั จจัยการซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ของ
ผู้หญิงพลัสไซส์ผ่านช่องทางเฟซบุ๊ก ด้านปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด
ออนไลน์แตกต่างกัน
จากตารางที่ 4.47ผลการทดสอบด้วยสถิติ t-test กลุ่มอายุ 13- 30 ปี มี
ค่าเฉลี่ย 3.291 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน .536 ส่วนกลุ่มอายุมากกว่า 30
ปี ขึ้นไป มีค่าเฉลี่ย 3.241 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน .467เมื่อทดสอบ
ความต่างระหว่างค่าเฉลี่ย พบว่า กลุ่มอายุ 13- 30 ปีมีค่าเฉลี่ยไม่
แตกต่าง จากกลุ่มอายุมากกว่า 30 ปี ขึ้นไป ที่ระดับนัยสาคัญ 0.05 (Sig.
> .05) ดังนั้นจึงยอมรับ H0และปฏิเสธ H1กล่าวคือ ผู้หญิงพลัสไซส์ที่มี
อายุแตกต่างกนมีความเห็นด้วยเกี่ยวกับปัจจัยการซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ของ
ผู้หญิงพลัสไซส์ผ่านช่องทางเฟซบุ๊ก ด้านปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด
ออนไลน์ไม่แตกต่างกัน
RESULTS
STYLE
STYLE
STYLE
3.2) สมมติฐานข้อที่ 3.2ผู้หญิงพลัสไซส์ที่มีอาชีพแตกต่างกันมีปัจจัย
การซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ของผู้หญิงพลัสไซส์ผ่านช่องทางเฟซบุ๊ก ด้าน
ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดออนไลน์ที่แตกต่างกัน สมมติฐานทาง
สถิติคือ H0 : ผู้หญิงพลัสไซส์ที่มีอาชีพแตกต่างกันมีปัจจัยการซื้อ
เสื้อผ้าออนไลน์ของผู้หญิงพลัสไซส์ผ่านช่องทางเฟซบุ๊ก ด้านปัจจัยส่วน
ประสมทางการตลาดออนไลน์ไม่แตกต่างกันH1 : ผู้หญิงพลัสไซส์ที่มี
อาชีพแตกต่างกันมีปัจจัย การซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ของผู้หญิง
พลัสไซส์ผ่านช่องทางเฟซบุ๊ก ด้านปัจจัยส่วนประสมทาง
การตลาดออนไลน์แตกต่างกัน
RESULTS
RESULTS
สมมติฐานข้อที่ 3.3ผู้หญิงพลัสไซส์ที่มีรายได้ต่อเดือน
แตกต่างกนมีปัจจัยการซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ของผู้หญิงพลัส
ไซส์ผ่านช่องทางเฟซบุ๊ก ด้านปัจจัยส่วนประสมทาง
การตลาดออนไลน์ที่แตกต่างกัน สมมติฐานทางสถิติคือ
H0 :ผู้หญิงพลัสไซส์ที่มีรายได้ต่อเดือนแตกต่างกนมีปัจจัย
การซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ของผู้หญิงพลัสไซส์ผ่านช่องทาง
เฟซบุ๊ก ด้านปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดออนไลน์ไม่
RESULTS
RESULTS
แตกต่างกัo H1 :ผู้หญิงพลัสไซส์ที่มีรายได้ต่อเดือนแตกต่างกนมีปัจจัยการซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ของ
ผู้หญิงพลัสไซส์ผ่านช่องทางเฟซบุ๊ก ด้านปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดออนไลน์แตกต่างกัน
3.4) สมมติฐานข้อที่ 3.4ผู้หญิงพลัสไซส์ที่มีระดับการศึกษาสูงสุดแตกต่างกันมีปัจจัยการซื้อเสื้อผ้าออนไลน์
ของผู้หญิงพลัสไซส์ผ่านช่องทางเฟซบุ๊กด้านปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดออนไลน์ที่แตกต่างกัน
สมมติฐานทางสถิติคือ H0 :ผู้หญิงพลัสไซส์ที่ระดับการศึกษาสูงสุดแตกต่างกันมีปัจจัยการซื้อเสื้อผ้าออนไลน์
ของผู้หญิงพลัสไซส์ผ่านช่องทางเฟซบุ๊ก ด้านปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดออนไลน์ไม่แตกต่างกัน
H1:ผู้หญิงพลัสไซส์ที่มีระดับการศึกษาสูงสุดแตกต่างกันมีปัจจัยการซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ ของผู้หญิงพลัสไซส์ผ่าน
ช่องทางเฟซบุ๊ก ด้านปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดออนไลน์แตกต่างกัน
RESULTS
RESULTS
สมมติฐานข้อที่ 3.5 ผู้หญิงพลัสไซส์ที่มีสถานภาพสมรส
แตกต่างกนมีปัจจัยการซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ของผู้หญิงพลัส
ไซส์ผ่านช่องทางเฟซบุ๊ก ด้านปัจจัยส่วนประสมทาง
การตลาดออนไลน์ที่แตกต่างกันสมมติฐานทางสถิติคือ H0
: ผู้หญิงพลัสไซส์ที่มีสถานภาพสมรสแตกต่างกันมีปัจจัยการ
ซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ของผู้หญิงพลัสไซส์ผ่านช่องทางเฟซบุ๊ก
ด้านปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดออนไลน์ไม่แตกต่างกัน
RESULTS
RESULTS
H1 :ผู้หญิงพลัสไซส์ที่มีสถานภาพสมรสแตกต่างกันมีปัจจัยการซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ของผู้หญิงพลัส
ไซส์ผ่านช่องทางเฟซบุ๊ก ด้านปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดออนไลน์แตกต่างกัน
จากตารางที่ 4.52ผลการทดสอบด้วยสถิติ t-test กลุ่มโสด มี
ค่าเฉลี่ย 3.276 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน .516 ส่วนกลุ่มสมรส
และอื่นๆ มีค่าเฉลี่ย 3.236 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน .462
เมื่อทดสอบความต่างระหว่างค่าเฉลี่ย พบว่ากลุ่มโสดกบกลุ่ม
สมรสและอื่นมีค่าเฉลี่ยไม่แตกต่างกัน ที่ระดับนัยสาคัญ 0.05
(Sig. >.05) ดังนั้นจึงยอมรับ H0และปฏิเสธ H1กล่าวคือ ผู้
หญิงพลัสไซส์ที่มี สถานภาพสมรสแตกต่างกันมีความเห็นด้วย
เกี่ยวกับปัจจัยการซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ของผู้หญิงพลัสไซส์ผ่าน
ช่องทางเฟซบุ๊กด้านปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดออนไลน์
ไม่แตกต่างกัน
RESULTS
 ส่วนที่ 2 คือส่วนของงานวิจัยเชิงคุณภาพ
STYLE
STYLE
STYLE
ได้มีการสัมภาษณ์เชิงลึกกับกลุ่มตัวอย่างผู้หญิงพลัสไซส์ที่เคยซื้อเสื้อผ้าทางเฟ
ซบุ๊ก จานวน 9 คน แบ่งออกเป็น 4 ตอน
ตอนที่ 1ลักษณะทางประชากรศาสตร์ของผู้หญิงพลัสไซส์ที่เลือกซื้อเสื้อผ้า
ออนไลน์ผ่านช่องทางเฟซบุ๊ก
ตอนที่ 2 ทัศนคติของผู้หญิงพลัสไซส์ที่เลือกซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ผ่านช่องทางเฟ
ซบุ๊ก
ตอนที่ 3 พฤติกรรมของผู้หญิงพลัสไซส์ที่เลือกซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ผ่านช่องทางเฟ
ซบุ๊ก
ตอนที่ 4 ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ของผู้หญิงพลัสไซส์ผ่าน
ช่องทางเฟซบุ๊ก
ตอนที่ 1ข้อมูลของกลุ่มตัวอย่าง
ตอนที่ 2 ทัศนคติของผู้หญิงพลัสไซส์ที่เลือกซื้ อเสื้อผ้าออนไลน์ผ่าน
ช่องทางเฟซบุ๊ก ผู้ทาวิจัยได้แบ่งทัศนคติในงานวิจัยฉบับนี้ ออกเป็น 5
ด้านตามกรอบงานวิจัย
1) ความรู้ความเชื่อถือเกี่ยวกับสินค้า(เสื้อผ้าพลัสไซส์) ที่ขายทาง
เฟซบุ๊ก
1.1ความรู้ จากการสัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่างพบว่า กลุ่ม
ตัวอย่างมีการหาข้อมูลก่อนการตัดสินใจซื้อ โดยจะมีการหาข้อมูลใน
ด้านของ ขนาด สี รูปแบบ เนื้ อผ้า ราคา รวมไปถึง การตรวจสอบความ
น่าเชื่อถือ โดยดูจากการรีวิวสินค้าของลูกค้าร้านนั้นๆ
1.2 ความเชื่อถือ จากการสัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่างพบว่า
กลุ่มตัวอย่างมีตั้งแต่เชื่อถือในตัวสินค้าไปจนกระทั่งไม่เชื่อถือในตัว
สินค้าโดยกลุ่มตัวอย่างได้ให้เหตุผลของความเชื่อถือนั่นว่าจะมาจาก
ปริมาณรายละเอียดของสินค้าที่ร้านค้าให้แก่ลูกค้า เช่น มีรูปภาพ
ประกอบ และราคา มีจานวนผู้ติดตาม มีการรีวิวสินค้าของผู้ซื้อ รวมไป
ถึงประสบการณ์ในการซื้อสินค้าจากร้านนั้นก่อนหน้านี้
1.3 ความพึงพอใจเกี่ยวกับการซื้อสินค้า(เสื้อผ้าพลัสไซส์)ที่
ขายทางเฟซบุ๊ก ผู้วิจัยได้ทาการเก็บข้อมูลกลุ่มตัวอย่างในเรื่องของความพึง
พอใจเกี่ยวกบการซื้อสินค้าในด้าน สินค้า ราคา ช่องทางการจัดจาหน่าย
และโปรโมชั่นของสินค้า
1.3.1ความพึงพอใจด้านสินค้า จากการสัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่าง
พบว่ากลุ่มตัวอย่างมีความพอใจด้านสินค้ามากกว่าไม่พอใจ ด้วยเหตุผลคือ
ได้สินค้าดีตรงตามความต้องการ หรือด้วยการเผื่อใจไว้ก่อนการตัดสินใจซื้อ
ซึ่งการที่กลุ่มตัวอย่างได้สินค้าดีตรงตามความต้องการเป็นเพราะกลุ่ม
ตัวอย่างนั้นเป็นสมาชิกอยู่ในกลุ่มซื้อขายสินค้าเฉพาะขนาดของตนทาให้
ค้นพบสินค้าตามขนาดที่ต้องการ และสาหรับผู้ที่ไม่พอใจในตัวสินค้าเพราะ
ไม่ได้สินค้าสินค้าตรงตามความต้องการด้านขนาด และเนื้ อผ้า
1.3.2 ความพอใจด้านราคาของสินค้า จากการสัมภาษณ์กลุ่ม
ตัวอย่างพบว่ากลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่นั้นมีความพอใจในด้านราคาของสินค้า
โดยให้เหตุผลว่าสินค้าที่ขายในเฟซบุ๊กนั้นมีราคาถูกกว่าสินค้าที่ขายตาม
ท้องตลาด เนื่องจากไม่เสียค่าที่แต่จะมีค่าขนส่งเพิ่มเติมซึ่งกลุ่มตัวอย่างมี
ความเห็นแตกต่างกันโดยบางส่วนคิดว่าคุ้มค่า และบางส่วนที่คิดว่าไม่คุ้มค่า
RESULTS
RESULTS
1.3.3 ความพอใจในช่องทางจัดจาหน่ายของสินค้า
จากการสัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่างพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีความ
พอใจในช่องทาง จัดจาหน่าย โดยให้เหตุผลว่ามีความสะดวกในการ
เลือกซื้อ เหมาะแก่ผู้ไม่มีเวลาไปเดินเลือกซื้อตามท้องตลาด หรือไม่มี
โอกาสออกไปหาซื้อตามท้องตลาด รวมถึงพอใจที่ได้รับสินค้ารวดเร็ว
แต่มี ข้อเสียคือไม่ได้จับต้องสินค้า และไม่ได้เห็นของจริงก่อนการ
ตัดสินใจซื้อ
1.3.4 ความพอใจในด้านโปรโมชั่นของสินค้า จากการ
สัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่างพบว่า กลุ่มตัวอย่างนั้นมีความพอใจในใน
โปรโมชั่น โดยส่วนใหญ่จะคิดว่าโปรโมชั่นที่มีอยู่นั้นดีอยู่แล้ว และ
บางส่วนไม่มีความสนใจในโปรโมชั่น หรือไม่ค่อยพบโปรโมชั่น โดย
กลุ่มตัวอย่างให้เหตุผลว่าตนนั้นจะชื่นชอบโปรโมชั่นหากโปรโมชั่น
นั้นคือ การแจกสินค้า แถมสินค้า ฟรีค่าขนส่ง หรือ การมีการชาระเงิน
ผ่านพร้อมเพย์แบบไม่เสีย ค่าธรรมเนียม
1.4 ทัศนคติเกี่ยวกับพฤติกรรมการซื้อของตน จากการ
สัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่างพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่นั้นมีความเห็นว่าตนซื้อ
อย่างเหมาะสม โดยให้เหตุผลว่าสินค้าที่ตนซื้อนั้นไม่แพง และตนไม่ได้ซื้อ
สินค้านั้นบ่อยครั้งจนเกินไป มีเพียงคนเดียวในกลุ่มตัวอย่างที่คิดว่าตนนั้นซื้อ
ปริมาณมากเพราะมีสินค้ามาส่งเกือบทุกวัน
1.5 ทัศนคติเกี่ยวกับตนเอง
1.5.1 ด้านของบุคลิกภาพ จากการสัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่าง
พบว่า ส่วนใหญ่เกือบครึ่งหนึ่งคิดว่าตนนั้นเป็นคนขี้กังวล รองลงมาคือคิดว่า
ตนนั้นเป็นคนมีความสามารถ และ ลาดับที่สามคิดว่าตนเป็นคนธรรมดา
กลางๆ ที่เหลือคิดว่าตนนั้นเป็นคนสบายๆ ตนเป็นคนร่าเริง และบางคนมี
ความเห็นว่าตนนั้นมีลักษณะต่างๆ รวมกัน ได้แก่ ขี้กังวล อ่อนโยน และ
อบอุ่น โดยมีผู้ให้เหตุผลว่าการที่ตนเป็นคนเช่นใดขึ้นอยู่กับสถานการณ์ที่
พบปะผู้คนที่ต่างๆ กนด้วยเช่นกัน
1.5.2) ด้านความมั่นใจ จากการสัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่างพบว่า
กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ให้ความเห็นว่าตนเป็นคนมั่นใจในระดับกลางๆ มาก
ที่สุด ไปจนถึงมั่นใจ โดยมีเพียง 1 คนเท่านั้นที่คิดว่าตนเองเป็นคนไม่มั่นใจ
ในตัวเอง“กลางๆ ค่ะค่อนข้างมั่นใจนิดนึง
RESULTS
RESULTS
ตอนที่ 3 พฤติกรรมของผู้หญิงพลัสไซส์ที่เลือกซื้ อเสื้อผ้าออนไลน์
ผ่านช่องทางเฟซบุ๊ก ผู้วิจัยได้ทาการเก็บข้อมูลในเรื่องของพฤติกรรม
5 ด้าน
1)การเลือกผลิตภัณฑ์(เสื้อผ้าพลัสไซส์) ทางเฟซบุ๊จาก
การสัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่างพบว่า กลุ่มตัวอย่างนั้นมีการเลือกซื้อเสื้อผ้า
หลากหลายรูปแบบเพื่อใช้เองส่วนใหญ่ และบางคนก็ซื้อให้คนใน
ครอบครัวเช่นคุณแม่ของตน ด้วยเหตุผลที่ว่าตนและคุณแม่ของตนนั้นมี
ขนาดร่างกายใกล้เคียงกัน โดยส่วนใหญ่ที่กลุ่มตัวอย่างซื้อจะเป็น
ผลิตภัณฑ์เสื้อผ้าพลัสไซส์ที่ใส่ในสองโอกาสคือ ใส่เที่ยว และใส่ทางาน
ซึ่งบางส่วนจะเลือกที่ใส่เที่ยวและทางานได้ในชุดเดียวกน และมีเหตุผล
การซื้อที่มากที่สุดคือ เรื่องของความสะดวกสบาย รองลงมาคือ เรื่อง
ของรูปแบบและการออกแบบ และยังมีเหตุผลอื่นๆ เช่นเรื่องคุณภาพ
และ ความคุ้มค่าที่ใส่ได้หลายครั้ง
2)การเลือกตราสินค้าเสื้อผ้าพลัสไซส์ทางเฟซบุ๊ก จากการ
สัมภาษณ์พบวากลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่นิยมเลือกซื้อสินค้าจากร้านเดิมที่เคย
ซื้อด้วยเหตุผลของความไว้วางใจวาร้านเดิมที่ซื้อนั้นไม่โกหกมีการส่งสินค้า
จริง แต่กลุ่มตัวอย่างก็มีการดูสินค้าจากร้านใหม่ๆ เพิ่มเติมควบคู่กันไปด้วย
หากสินค้าร้านเดิมไม่มีสินค้าใหม่ๆ จาหน่าย และบางส่วนจะดูร้านใหม่ๆ ไป
เรื่อยๆ โดยได้รับคาแนะนาร้านใหม่ๆ จากเพื่อนๆ และส่วนใหญ่จะเลือก
ซื้อจากร้านที่มีเพจเฟซบุ๊กของร้านเองเป็นหลัก รองลงมาคือ เลือกซื้อสินค้า
จากเพจเฟซบุ๊กแบบกลุ่ม ลาดับที่สามคือแบบไลฟ์สด และ ลาดับสุดท้ายคือ
แบบที่มีหน้าร้านตั้งขายอยูด้วย โดยกลุ่มตัวอย่างให้ความเห็นว่าร้านที่มีหน้า
ร้านตั้งขายอยู่ด้วยนั้นมีความน่าเชื่อถือกว่าร้านที่มีเพียงการขายในเฟซบุ๊ก
เท่านั้น
3)ช่วงเวลาที่ซื้อสินค้า(เสื้อผ้าพลัสไซส์) มากที่สุด จากการ
สัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่างพบว่า กลุ่มตัวอย่างนั้นมีทั้งเลือกซื้อสินค้าเรื่อยๆ โดย
ไม่ระบุว่าเป็นช่วงเวลาใดของเดือน เพราะหากเจอสินค้าถูกใจจะสั่งเลย และ
มีกลุ่มตัวอย่างที่ซื้อสินค้าช่วงต้นเดือนถึงกลางเดือนเนื่องจากเป็นช่วง
เงินเดือนออก ในเรื่องของช่วงวันของอาทิตย์มีผู้ระบุเป็นวันเฉพาะเจาะจงว่า
เป็นช่วงต้นอาทิตย์เช่นวันจันทร์ วันอังคาร และช่วงวันหยุดที่ตนไม่ได้ทางาน
เช่นวันเสาร์อาทิตย์ และระบุช่วงเวลาในการเข้าชมและซื้อสินค้านั้น ว่ามีการ
เลือกซื้อสินค้า ตั้งแต่เวลาบ่ายโมงไปจนถึง 4-5 ทุ่ม
RESULTS
RESULTS
Behavioral style and factors in on line purchasing of plus-size woman  clothes via facebook
Behavioral style and factors in on line purchasing of plus-size woman  clothes via facebook
Behavioral style and factors in on line purchasing of plus-size woman  clothes via facebook
Behavioral style and factors in on line purchasing of plus-size woman  clothes via facebook
Behavioral style and factors in on line purchasing of plus-size woman  clothes via facebook
Behavioral style and factors in on line purchasing of plus-size woman  clothes via facebook
Behavioral style and factors in on line purchasing of plus-size woman  clothes via facebook
Behavioral style and factors in on line purchasing of plus-size woman  clothes via facebook
Behavioral style and factors in on line purchasing of plus-size woman  clothes via facebook
Behavioral style and factors in on line purchasing of plus-size woman  clothes via facebook
Behavioral style and factors in on line purchasing of plus-size woman  clothes via facebook
Behavioral style and factors in on line purchasing of plus-size woman  clothes via facebook
Behavioral style and factors in on line purchasing of plus-size woman  clothes via facebook
Behavioral style and factors in on line purchasing of plus-size woman  clothes via facebook
Behavioral style and factors in on line purchasing of plus-size woman  clothes via facebook
Behavioral style and factors in on line purchasing of plus-size woman  clothes via facebook
Behavioral style and factors in on line purchasing of plus-size woman  clothes via facebook
Behavioral style and factors in on line purchasing of plus-size woman  clothes via facebook
Behavioral style and factors in on line purchasing of plus-size woman  clothes via facebook

More Related Content

Similar to Behavioral style and factors in on line purchasing of plus-size woman clothes via facebook

Using Social Media Via Social Network
Using Social Media Via Social NetworkUsing Social Media Via Social Network
Using Social Media Via Social NetworkTaradpmt
 
Using Social Media Via Social Network
Using Social Media Via Social NetworkUsing Social Media Via Social Network
Using Social Media Via Social NetworkTaradpmt
 
Using Social Media Via Social Network
Using Social Media Via Social NetworkUsing Social Media Via Social Network
Using Social Media Via Social NetworkTaradpmt
 
การใช้บริการฟิตเนสของกลุ่มคนรักสุขภาพ.pdf
การใช้บริการฟิตเนสของกลุ่มคนรักสุขภาพ.pdfการใช้บริการฟิตเนสของกลุ่มคนรักสุขภาพ.pdf
การใช้บริการฟิตเนสของกลุ่มคนรักสุขภาพ.pdfBangkok University
 
AIM3309 Public Relations Online & Offline
AIM3309 Public Relations Online & OfflineAIM3309 Public Relations Online & Offline
AIM3309 Public Relations Online & OfflinePalmFailasan
 
การขับเคลื่อนประเด็นทางสังคม Social Movement
การขับเคลื่อนประเด็นทางสังคม Social Movementการขับเคลื่อนประเด็นทางสังคม Social Movement
การขับเคลื่อนประเด็นทางสังคม Social MovementSakulsri Srisaracam
 
Social media marketing โดย ดร. ภิเษก ชัยนิรันดร์
Social media marketing โดย ดร. ภิเษก ชัยนิรันดร์Social media marketing โดย ดร. ภิเษก ชัยนิรันดร์
Social media marketing โดย ดร. ภิเษก ชัยนิรันดร์Khonkaen University
 
Facebook Strategy
Facebook StrategyFacebook Strategy
Facebook StrategyPuttasak
 
Digital con(do)sumer trend to watched 2016
Digital con(do)sumer trend to watched 2016Digital con(do)sumer trend to watched 2016
Digital con(do)sumer trend to watched 2016prop2morrow
 
รูปแบบโครงสร้างของบริษัทตัวแทนโฆษณาที่ดำเนินธุรกิจ โดยใช้แนวคิดการสื่อสารการต...
รูปแบบโครงสร้างของบริษัทตัวแทนโฆษณาที่ดำเนินธุรกิจ โดยใช้แนวคิดการสื่อสารการต...รูปแบบโครงสร้างของบริษัทตัวแทนโฆษณาที่ดำเนินธุรกิจ โดยใช้แนวคิดการสื่อสารการต...
รูปแบบโครงสร้างของบริษัทตัวแทนโฆษณาที่ดำเนินธุรกิจ โดยใช้แนวคิดการสื่อสารการต...KriangkraiKitanan
 
ร้านขายยากับการใช้สื่ออินเตอร์เน็ตที่สอดคล้องกับกฏหมาย
ร้านขายยากับการใช้สื่ออินเตอร์เน็ตที่สอดคล้องกับกฏหมายร้านขายยากับการใช้สื่ออินเตอร์เน็ตที่สอดคล้องกับกฏหมาย
ร้านขายยากับการใช้สื่ออินเตอร์เน็ตที่สอดคล้องกับกฏหมายUtai Sukviwatsirikul
 
AIM3304 การศึกษาการให้บริการของบริษัทตัวแทนโฆษณาสื่อดิจิทัลในประเทศไทย
AIM3304 การศึกษาการให้บริการของบริษัทตัวแทนโฆษณาสื่อดิจิทัลในประเทศไทยAIM3304 การศึกษาการให้บริการของบริษัทตัวแทนโฆษณาสื่อดิจิทัลในประเทศไทย
AIM3304 การศึกษาการให้บริการของบริษัทตัวแทนโฆษณาสื่อดิจิทัลในประเทศไทยTanyaluk Promnoi Maew
 
พฤติกรรมผู้บริโภคในกรุงเทพมหานครต่อการใช้บริการส่ังอาหารเดลิเวอรี่ผ่านเว็บไซต์
พฤติกรรมผู้บริโภคในกรุงเทพมหานครต่อการใช้บริการส่ังอาหารเดลิเวอรี่ผ่านเว็บไซต์พฤติกรรมผู้บริโภคในกรุงเทพมหานครต่อการใช้บริการส่ังอาหารเดลิเวอรี่ผ่านเว็บไซต์
พฤติกรรมผู้บริโภคในกรุงเทพมหานครต่อการใช้บริการส่ังอาหารเดลิเวอรี่ผ่านเว็บไซต์ChanidaSuriban
 

Similar to Behavioral style and factors in on line purchasing of plus-size woman clothes via facebook (20)

Using Social Media Via Social Network
Using Social Media Via Social NetworkUsing Social Media Via Social Network
Using Social Media Via Social Network
 
Using Social Media Via Social Network
Using Social Media Via Social NetworkUsing Social Media Via Social Network
Using Social Media Via Social Network
 
Using Social Media Via Social Network
Using Social Media Via Social NetworkUsing Social Media Via Social Network
Using Social Media Via Social Network
 
การใช้บริการฟิตเนสของกลุ่มคนรักสุขภาพ.pdf
การใช้บริการฟิตเนสของกลุ่มคนรักสุขภาพ.pdfการใช้บริการฟิตเนสของกลุ่มคนรักสุขภาพ.pdf
การใช้บริการฟิตเนสของกลุ่มคนรักสุขภาพ.pdf
 
AIM3309 Public Relations Online & Offline
AIM3309 Public Relations Online & OfflineAIM3309 Public Relations Online & Offline
AIM3309 Public Relations Online & Offline
 
Digital maketing
Digital maketingDigital maketing
Digital maketing
 
Social Media Marketing
Social Media MarketingSocial Media Marketing
Social Media Marketing
 
Social bangkok
Social bangkokSocial bangkok
Social bangkok
 
การขับเคลื่อนประเด็นทางสังคม Social Movement
การขับเคลื่อนประเด็นทางสังคม Social Movementการขับเคลื่อนประเด็นทางสังคม Social Movement
การขับเคลื่อนประเด็นทางสังคม Social Movement
 
Maetaporn
MaetapornMaetaporn
Maetaporn
 
Social media marketing โดย ดร. ภิเษก ชัยนิรันดร์
Social media marketing โดย ดร. ภิเษก ชัยนิรันดร์Social media marketing โดย ดร. ภิเษก ชัยนิรันดร์
Social media marketing โดย ดร. ภิเษก ชัยนิรันดร์
 
Facebook Strategy
Facebook StrategyFacebook Strategy
Facebook Strategy
 
Digital con(do)sumer trend to watched 2016
Digital con(do)sumer trend to watched 2016Digital con(do)sumer trend to watched 2016
Digital con(do)sumer trend to watched 2016
 
Online marketing
Online marketingOnline marketing
Online marketing
 
รูปแบบโครงสร้างของบริษัทตัวแทนโฆษณาที่ดำเนินธุรกิจ โดยใช้แนวคิดการสื่อสารการต...
รูปแบบโครงสร้างของบริษัทตัวแทนโฆษณาที่ดำเนินธุรกิจ โดยใช้แนวคิดการสื่อสารการต...รูปแบบโครงสร้างของบริษัทตัวแทนโฆษณาที่ดำเนินธุรกิจ โดยใช้แนวคิดการสื่อสารการต...
รูปแบบโครงสร้างของบริษัทตัวแทนโฆษณาที่ดำเนินธุรกิจ โดยใช้แนวคิดการสื่อสารการต...
 
ร้านขายยากับการใช้สื่ออินเตอร์เน็ตที่สอดคล้องกับกฏหมาย
ร้านขายยากับการใช้สื่ออินเตอร์เน็ตที่สอดคล้องกับกฏหมายร้านขายยากับการใช้สื่ออินเตอร์เน็ตที่สอดคล้องกับกฏหมาย
ร้านขายยากับการใช้สื่ออินเตอร์เน็ตที่สอดคล้องกับกฏหมาย
 
AIM3304 การศึกษาการให้บริการของบริษัทตัวแทนโฆษณาสื่อดิจิทัลในประเทศไทย
AIM3304 การศึกษาการให้บริการของบริษัทตัวแทนโฆษณาสื่อดิจิทัลในประเทศไทยAIM3304 การศึกษาการให้บริการของบริษัทตัวแทนโฆษณาสื่อดิจิทัลในประเทศไทย
AIM3304 การศึกษาการให้บริการของบริษัทตัวแทนโฆษณาสื่อดิจิทัลในประเทศไทย
 
10
1010
10
 
Mil chapter 1_5
Mil chapter 1_5Mil chapter 1_5
Mil chapter 1_5
 
พฤติกรรมผู้บริโภคในกรุงเทพมหานครต่อการใช้บริการส่ังอาหารเดลิเวอรี่ผ่านเว็บไซต์
พฤติกรรมผู้บริโภคในกรุงเทพมหานครต่อการใช้บริการส่ังอาหารเดลิเวอรี่ผ่านเว็บไซต์พฤติกรรมผู้บริโภคในกรุงเทพมหานครต่อการใช้บริการส่ังอาหารเดลิเวอรี่ผ่านเว็บไซต์
พฤติกรรมผู้บริโภคในกรุงเทพมหานครต่อการใช้บริการส่ังอาหารเดลิเวอรี่ผ่านเว็บไซต์
 

Behavioral style and factors in on line purchasing of plus-size woman clothes via facebook

  • 1. ลักษณะพฤติกรรม และปัจจัยต่อการเลือกซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ ของผู้หญิงพลัสไซส์ผ่านช่องทางเฟซบุ๊ก Behavioral style and factors in on-line purchasing of plus-size woman clothes via Facebook นันทพร ศรีธนสาร หลักสูตรนิเทศศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตร์ คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ พ.ศ. 2561
  • 2. ABSTRACT ABSTRACT ABSTRACT พบวาลักษณะทางประชากรศาสตร์ที่แตกต่างกันของกลุ่มตัวอย่างมีปัจจัย ทางสังคม และปัจจัยทางจิตวิทยาการจูงใจต่อการซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ของ ผู้หญิงพลัสไซส์ผ่านช่องทางเฟซบุ๊กที่แตกต่างกัน ในด้านความสัมพันธ์ ระหว่างลักษณะทางประชากรศาสตร์ของกลุ่มตัวอย่างกับปัจจัยทางสังคม ปัจจัยทางจิตวิทยาการจูงใจและ ปัจจัยทางส่วนประสมทางการตลาด ออนไลน์ ต่อการซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ของผู้หญิงพลัสไซส์ผ่าน ช่องทางเฟ ซบุ๊กแต่มีปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดออนไลน์ต่อการซื้อเสือผ้า ออนไลน์ผ่านเฟซบุ๊กไม่แตกต่างกัน งานวิจัยเรื่อง ลักษณะพฤติกรรมและ ปัจจัยที่มีผลตอการเลือกซื้อเสื้อผ้า ออนไลน์ของผู้หญิงพลัสไซส์ผ่านช่องทาง เฟซบุ๊กมีวัตถุประสงค์เพื่อทราบถึง ลักษณะทางประชากรศาสตร์ ทัศนคติ พฤติกรรมที่มีผลตอปัจจัยการซื้อเสื้อผ้า ออนไลน์ของผู้หญิงพลัสไซส์ผ่านช่องทาง เฟซบุ๊ก ในด้านความสัมพันธ์ระหว่าง ลักษณะทางประชากรศาสตร์ของกลุ่ม ตัวอย่างกับปัจจัยทางสังคม ปัจจัยทาง จิตวิทยาการจูงใจ และปัจจัยทางส่วน ประสมทางการตลาดออนไลน์ต่อการซื้อ เสื้อผ้าออนไลน์ของผู้หญิงพลัสไซส์ผ่าน ช่องทางเฟซบุ๊ก
  • 3. ที่มาและความสาคัญของปัญหา ปัจจุบันทั่วโลกมีผู้คนจานวนมากที่ประสบกับปัญหาด้านส่วนเกินทั้งน้าหนักและ รูปร่าง กันมากขึ้นการที่ผู้หญิงไทยมีรูปร่างใหญ่โตขึ้น และมีผู้ที่รูปร่างเกินมาตรฐานกว่าร้อยละ 48 นั่น ชี้ให้เห็นชัดว่าความต้องการสินค้าประเภทไซส์ใหญ่ที่เรียกว่าเสื้อผ้าพลัสไซส์ในตลาดนั้นมีจานวน มาก จึงถือว่าเป็นช่องว่างและโอกาสทาการตลาดที่น่าจับตามองของธุรกิจเสื้อผ้าพลัสไซส์ ผู้หญิงที่สวมใส่เสื้อผ้าพลัสไซส์ที่มีขนาดรอบอก 38 นิ้ วขึ้นไป มีชื่อเรียกเฉพาะผู้หญิงพลัส ไซส์ โดยผู้หญิงพลัสไซส์จัดว่าอยู่ในกลุ่มผู้หญิงที่เสื้อผ้าและเครื่องแต่งกายพลัสไซส์ยากกว่าผู้คนที่มี ร่างปรกติจนถึงผอมบาง ซึ่งสร้างปัญหาในการเลือก ซื้อเสื้อผ้าที่เหมาะสมกับผู้หญิงพลัสไซส์ Statement problems problems
  • 4. Statement problems problems เป็นอย่างมาก จวบจนกระทั่งกระแสการค้าขายบน อินเตอร์เน็ตเป็นที่นิยมมากขึ้นจากเดิมและ ต้องการที่จะตอบสนองผู้บริโภคพลัสไซส์จึงเป็นความน่าสนใจที่จะทาการวิจัยถึงปัจจัย โดยผลการวิจัย สามารถใช้เป็นข้อมูลที่แสดงถึงพฤติกรรมการซื้อผ่านช่องทางออนไลน์เพื่อประโยชน์ ของตัวธุรกิจเอง และกลุ่มผู้หญิงพลัสไซส์อันเป็นที่มาของงานวิจัยชิ้นนี้
  • 5. Objectives วัตถุประสงค์การวิจัย เพื่อศึกษาทัศนคติ และพฤติกรรม การ ซื้ อเสื้อผ้าออนไลน์ของผู้หญิงพลัสไซส์ ผ่านช่องทาง Facebook เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการเลือก ซื้ อเสื้อผ้าออนไลน์ของผู้หญิงพลัส ไซส์ผ่านช่องทาง Facebook เพื่อศึกษาลักษณะทางประชากรศาสตร์ที่แตกต่างกันว่ามี ผลอยางไรต่อปัจจัยการเลือกซื้ อเสื้อผ้าออนไลน์ของ ผู้หญิงพลัสไซส์ผ่านช่องทาง Facebook
  • 6. RESEARCH HYPOTHESIS RESEARCH HYPOTHESIS ลักษณะทางประชากรศาสตร์ ของผู้หญิงพลัสไซส์ที่แตกต่างกันมีปัจจัย ทางสังคมต่อการซื้ อเสื้อผ้าออนไลน์ผ่าน ช่องทาง Facebook แตกต่างกัน ลักษณะทางประชากรศาสตร์ ของผู้หญิงพลัสไซส์ที่แตกต่างกันมีปัจจัย ทางจิตวิทยาการจูงใจต่อการซื้ อเสื้อผ้า ออนไลน์ผ่านช่องทาง Facebook แตกต่าง กัน RESEARCH HYPOTHESIS สมมติฐานที่ 1 สมมติฐานที่ 2 ลักษณะทางประชากรศาสตร์ของ ผู้หญิงพลัสไซส์ที่แตกต่างกันมีปัจจัย ส่วนประสมทางการตลาดออนไลน์ ต่อการซื้ อเสื้อผ้าออนไลน์ผ่าน ช่องทาง Facebook แตกต่างกัน สมมติฐานที่ 3
  • 8. ปัจจัยทางสังคม - กลุ่มอ้างอิง - บทบาทละสถานภาพ ปัจจัยภายใน ปัจจัยทางจิตวิทยาการจูงใจ - แรงจูงใจ - การรับรู้ - การเรียนรู้ - ความเชื่อ ปัจจัยภายนอก ปัจจัยส่วนผสมทาง การตลาดออนไลน์ - ปัจจัยด้านการผลิต - ราคา - ช่องทางการจัด จาหน่าย - การส่งเสริมการตลาด ทัศนคติ - ความเชื่อความรู้เกี่ยวกับ สินค้า - พฤติกรรมการซื้อ - ความพึงพอใจเกี่ยวกับการ ซื้อสินค้า - ความรู้สึกเกี่ยวกับตัวเอง พฤติกรรม - การเลือกผลิตภัณฑ์ - การเลือกผู้ขาย -เวลาในการซื้อ - การเลือกตราสินค้า - ปริมาณในการซื้อ ลักษณะทางประชากรของ ผู้หญิงพลัสไซส์ อายุ การศึกษา อาชีพ รายได้ สถานภาพ
  • 9. Theory  แนวคิดเกี่ยวกับพฤติกรรมผู้บริโภค ความหมาย ความหมายของพฤติกรรมของผู้บริโภคเป็นพฤติกรรมที่ผู้บริโภค แสดงออกไม่ว่าจะ เป็นการเสาะหา ซื้อ ใช้ ประเมินผล หรือการบริโภคผลิตภัณฑ์ บริการ และแนวคิดต่างๆซึ่งผู้บริโภค คาดว่าจะสามารถตอบสนองความต้องการของตนได้ พฤติกรรมผู้บริโภค อภิชาต คาเอก (2552) ได้กล่าวว่า การตัดสินใจซื้อของ ผู้บริโภค จะมีจุดเริ่มต้นจาก สิ่งกระตุ้นต่างๆที่ผ่านเข้ามายังความรู้สึกนึกคิดของผู้ซื้อ และได้รับอิทธิพลจากลักษณะของผู้ซื้อทาให้เกิดความต้องการแล้วจึงมีการตอบสนองของ ผู้ซื้อ เรียกวาการตัดสินใจของผู้ซื้อ Theory
  • 10.  แนวคิดเกี่ยวกับทัศนคติและการตัดสินใจของผู้บริโภค STYLE STYLE STYLE ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการซื้ อของผู้บริโภค อภิชาต คาเอก (2553) กล่าวว่า เมื่อผู้บริโภคได้รับสิ่งกระตุ้น ทางการตลาดและสิ่งกระตุ้นอื่นแล้ว ภายในความรู้สึกนึกคิดของผู้ ซื้อจะทาให้เกิดพฤติกรรมการซื้อเมื่อทราบความรู้สึกนึกคิดใน กล่องดาของผู้บริโภคว่าสิ่งใดเป็นตัวกระตุ้นให้เกิดการซื้อ และทราบลักษณะความต้องการของลูกค้า จะนาผลที่ได้จาก การศึกษามาจัดสิ่งกระตุ้นทางการตลาดต่างๆ เพื่อกระตุ้น การซื้อของกลุ่มเป้าหมายได้ถูกต้อง Theory Theory
  • 11. กระบวนการตัดสินใจซื้ อ พฤติกรรมผู้บริโภคมีลักษณะเป็นกระบวนการที่ต้องอาศัยเวลาและใช้ ความพยายามตาม ปัจจัยใจภายในและภายนอก ตามที่กล่าวมา นักการตลาดจึงจะ มีอิทธิพลต่อการบวนการตัดสินใจ ซื้อของผู้บริโภค (Consumer decision – marketing process) ซึ่งประกอบด้วย 5 ขั้นตอน ดังนี้ (ศิริรัตน์ เสรีรัตน์ และคณะ อ้างถึงใน อภิชาต คาเอก, 2552) ดังนี้ 1. การตระหนักถึงความต้องการ (Need recognition) 2. การค้นหาข้อมูล (Search) Theory Theory การประเมินผลทางเลือกต่างๆ (Evaluation of alternatives) การซื้อ (Purchase) การประเมินผลหลังการซื้อ (Post purchase evaluation)
  • 12.  แนวความคิดเรื่องการตลาดออนไลน์ แนวคิดเรื่องกลยุทธ์ทางการตลาดสาหรับการตลาดทางตรงโดยอินเทอร์เน็ต อรชร มณีสงฆ์(2546, น.80-84) ได้กล่าวถึง การกาหนดกลยุทธ์ทางการตลาดในหัวข้อขั้นตอนการจัดทาการตลาดทางอินเทอร์เน็ต ไว้ดังนี้ 1. ด้านผลิตภัณฑ์ ควรนาเสนอผลิตภัณฑ์ในรูปแบบที่มีองค์ประกอบให้เลือกได้ตามความต้องการของลูกค้า 2. ด้านราคา ระบบการตลาดทางอินเทอร์เน็ตเป็นระบบที่มีการแข่งขันสูงจึงมักทาให้เกิดสงครามราคาขึ้น 3. ด้านการส่งเสริมการตลาด การโฆษณาเว็บไซต์ให้เป็นที่รู้จักของลูกค้า วิธีที่นิยมมากที่สุดได้แก่ การ ลงทะเบียนในเครื่องมือค้นหา (Search Engine) Theory Theory
  • 13. 2. การตลาดด้วยจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (E-mail Marketing) หมายถึงการส่งจดหมาย อิเล็กทรอนิกส์เกี่ยวกับ ข้อมูลสินค้าหรือกิจกรรมต่างๆ ของบริษัทไปยังผู้ที่มีรายชื่อ อยู่ในรายการ 3. การประชาสัมพันธ์ (Public Relations) หมายถึงการ เผยแพร่ความรู้และข่าวสารของ องค์กรแก่กลุ่มลูกค้าเป้ า หมายหรือสาธารณชน ด้วยวิธีการอื่นที่ไม่ใช่การโฆษณา 1. การโฆษณาออนไลน์ (Online Advertising) หมายถึง การลงโฆษณา ในเว็บไซต์หรือ บริการออนไลน์อื่นๆ รูปแบบของการโฆษณาออนไลน์มี 4 รูปแบบ ได้แก่ 1.1 การโฆษณาด้วยป้ายโฆษณาอิเล็กทรอนิกส์ (Banner) 1.2 การโฆษณาด้วยเว็บไซต์เครื่องมือช่วยค้นหา (Search Engine Optimization) 1.3 การเป็นผู้ให้การสนับสนุน (Sponsorships) 1.4 การสร้างความสัมพันธ์กับเว็บไซต์อื่น (Affiliate Relationship) แนวคิดเรื่องการสื่อสารทางการตลาดออนไลน์ Laudon and Traver (2004, น. 413 -426) ได้กล่าวถึง การสื่อสารทางการตลาด ว่าสร้าง ขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์ 2 ประการคือ เพื่อสร้างการรับรู้ในตราสินค้า และเพื่อสร้างยอดขาย โดย รูปแบบการ สื่อสารทางการตลาดออนไลน์ ที่สาคัญมี 3 รูปแบบได้แก่
  • 14. และผลิตภัณฑ์ความงาม และเรื่องถูกพูดถึงมากที่สุด คือ เรื่องของอาหาร 80% ผลิตภัณฑ์ความงาม 68% และ แอลกอฮอล์ 58% โดยยึดถือเรื่องของ คุณภาพเป็นหลัก แนวความคิดเรื่องการตลาดในกลุ่มผู้หญิงเอเชีย กลุ่มตัวอย่างของผู้หญิง 5,500 คน ในจีน อินเดีย ญี่ปุ่น เกาหลี และสิงคโปร์พบว่า 43 % ของผู้หญิงเอเชียอยู่ในระดับผู้บริหารหรือผู้เชี่ยวชาญในวิชาชีพ หมายความว่าผู้หญิงเปลี่ยนวิถีจากแม่บ้านมาร่วมกนหา เลี้ยงครอบครัวมากขึ้น ดังนั้นอานาจในการซื้อสินค้า ของผู้หญิงจะต้องเพิ่มขึ้นด้วย โดยการตัดสินใจ ซื้อสินค้าถ้าเป็นสินค้าอุปโภคบริโภค เสื้อผ้าและของใช้ส่วนตัว ทาการตลาดออนไลน์ในกลุ่มเป้าหมายผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย Theory Theory  แนวความคิดเรื่องการตลาดในกลุ่มผู้หญิง แนวความคิดเรื่องการตลาดใน กลุ่มผู้หญิงอเมริกา แอนโธนี โดนัลสัน ได้ กล่าวถึงใน การตลาดในกลุ่ม ผู้หญิง ว่าในกลุ่ม ผู้หญิงชาวอเมริกันเป็นผู้ตัดสินใจซื้อสินค้าต่างๆ ถึง 4 ใน 5 ของรายจ่ายทั้งหมด ธุรกิจที่กลุ่ม ลูกค้าเข้ามา ใช้บริการมากที่สุดคือธุรกิจอาหาร แอลกอฮอล์
  • 15.  แนวความคิดเรื่องผู้หญิงพลัสไซส์ ตลาดแฟชั่นสาวพลัสไซส์ (PlusSize) คือ เสื้อผ้าที่ตัดเย็บด้วยขนาดรอบอก มากกว่า 38 นิ้ วขึ้นไป และ ออกแบบตามกบกระแส แฟชั่น คือนอกจากจะตัดเย็บให้ มีขนาดใหญ่แล้ว ยังคานึงถึงเรื่องความงาม และช่วยสร้างภาพลักษณ์ให้สาวร่าง ใหญ่มีความมั่นใจได้เต็มที่ 3 ประเด็นสาคัญที่ผู้ประกอบการ (และผู้ที่สนใจทา ธุรกิจ)แฟชั่นPlus sizeควรต้องคานึงถึง คือ Theory Theory ค้นหากลุ่มเป้ าหมายที่แท้จริง ความเข้าใจปัญหาเรื่องขนาดและรูปร่าง นาเสนอความงามควบคู่กับคุณประโยชน์
  • 17. RELATED RESEARCH รัชนี ไพศาลวงศ์ดี (2556) ได้ทาการศึกษาเรื่อง“ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อ การตัดสินใจซื้อ สินค้าเสือผ้าสตรีทางอินเตอร์เน็ตของประชากรในเขต กรุงเทพมหานคร ผลการศึกษาพบว่า 1. ปัจจัยสวนบุคคลด้านการศึกษาและการสมรสที่ แตกต่างกันมีผลต่อการตัดสินใจซื้อเสื้อผ้าสตรีทางอินเตอร์เน็ต 2. ความพึงพอใจ ของผู้บริโภคอยู่ที่การประหยัดเวลาในการซื้อสินค้าและบริการความสวยงาม สีสัน ความเป็นหมวดหมู่ของสินค้าภายในเว็บ ด้านการตรงต่อเวลาในการส่งสินค้า และบริการ ด้านความปลอดภัยของวิธีชาระเงิน มีความสัมพันธ์ต่อปัจจัยการซื้อ สินค้าทางอินเตอร์เน็ต 3. ปัจจัยด้านราคาและส่วนประสมทางการตลาดมี ความสัมพันธ์ต่อการซื้อเสือผ้าสตรีทางอินเตอร์เน็ต RELATEDงานวิ จ ั ย ที ่ เ กี ่ ย วข้ อ ง
  • 18. DESIGN STYLE STYLE STYLE ฤทัย เตชะบูรณเทพาภรณ์ (2554) ได้ทาการศึกษา แรงจูงใจ และปัจจัยทางการตลาดบน Facebook ที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้า และบริการของผู้บริโภคใน เขต กรุงเทพมหานคร จากผลการศึกษาพบว่าปัจจัยด้านการตลาดบนเฟซบุ๊ก ด้านผลิตภัณฑ์ที่มีผลต่อตัดสินใจซื้ออยู่ ในระดับที่มีผลต่อการตัดสินใจมาก โดยการที่ตราสินค้ามีชื่อเสียงเป็นที่รู้จัก จะทาให้มีระดับที่มีผลตอการ ตัดสินใจมากเป็นอันดับแรก ด้านการส่งเสริมการตลาดพบว่ามีผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าและบริการในระดับมากอยู่ ทั้ง ในส่วน ของการโฆษณา การส่งเสริมการขาย การประชาสัมพันธ์ เป็นต้น โดยการเป็นผู้สนับสนุนกิจกรรม ต่อสังคมขององค์กรจะทาให้มีระดับที่มีผลตอการตัดสินใจมาก เป็นอันดับแรก RELATED RESEARCH
  • 19. RESEARCH METHODOLOGY ระเบียบวิธีวิจัยในการศึกษาเรื่องลักษณะพฤติกรรมและปัจจัยต่อการเลือกซื้อเสื้อผ้า ออนไลน์ของผู้หญิงพลัสไซส์ผานช่องทางเฟซบุ๊กได้กาหนดดังต่อไปนี้ รูปแบบการวิจัย การวิจัยครั้งนี้ เป็นงานวิจัย 2 ระบบคือเชิงปริมาณ (Quantitative Research) และ งานวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้ แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล เพื่อนามา วิเคราะห์ทางสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) และวิธีวิเคราะห์สถิติเชิงอนุมาน (Inferential Statistics) และงานวิจัยเชิงคุณภาพโดยใช้การสัมภาษณ์ (In-dept interview)
  • 20. RESEARCH METHODOLOGY ประชากรตัวอย่างที่ศึกษา กลุ่มประชากรที่ศึกษาวิจัยครั้งนี้ ในการวิจัยเชิงปริมาณ คือ กลุ่มประชากรผู้หญิงพลัสไซส์ที่เคยเลือกซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ผ่าน ช่องทางเฟซบุ๊ก สามารถกาหนดขนาดตัวอย่างได้ 400 คน และในการวิจัยเชิงคุณภาพ คือกลุ่มประชากรผู้หญิงพลัสไซส์ที่เลือกซื้อเสื้อผ้า ออนไลน์ผ่านช่องทางเฟซบุ๊ก จานวน 9 คน วิธีการสุ่มตัวอย่าง การเลือกตัวอย่างโดยไม่อาศัยหลักความน่าจะเป็นแบบ เฉพาะเจาะจง (Purposive sampling)โดยพิจารณาจากการตัดสินใจของ ผู้วิจัยเอง โดยเป็นไปตามวัตถุประสงค์การวิจัยคือเป็นผู้หญิงพลัสไซส์ที่เคยซื้อสินค้าประเภทเสื้อผ้าผ่านช่องทางเฟซบุ๊ก โดยสุ่มจากรูปคนที่มี ลักษณะเข้าข่ายผู้หญิงพลัสไซส์ จากกลุ่มซื้อขายเสื้อผ้าผู้หญิงพลัสไซส์ และติดต่อไปทางช่องแชทว่าเคยซื้อเสื้อผ้าผ่านช่องทางเฟซบุ๊กหรือไม่ และ ส่งลิงค์ในการตอบแบบสอบถามไปยังกลุ่มเป้าหมาย .
  • 21. เครื่องมือในการวิจัย ในส่วนของการวิจัยเชิงปริมาณ ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล ซึ่งโดยทั่วไปเป็นแบบสอบถามปลายปิด โดยแจกแบบสอบถามกลุ่มประชากรในกลุ่มผู้หญิงพลัสไซส์ที่ซื้อ เสื้อผ้าออนไลน์ผ่านช่องทางเฟซบุ๊ก ซึ่งข้อมูลในแบบสอบถามมีดังนี้ ส่วนที่ 1 เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับลักษณะประชากรของกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ อายุ การศึกษา อาชีพ รายได้ สถานภาพ ส่วนที่ 2 ทัศนคติที่เกี่ยวข้องกับการซื้อสินค้าออนไลน์ประเภทเสื้อผ้าพลัสไซส์ผ่านช่องทางเฟซบุ๊ก ส่วนที่ 3 พฤติกรรมการซื้อสินค้าออนไลน์ประเภทเสื้อผ้าพลัสไซต์ผานช่องทางเฟซบุ๊ก ส่วนที่ 4 ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ของผู้หญิงพลัสไซต์ผ่านช่องทาง เฟซบุ๊ก ในการวิจัยในส่วนของการวิจัยเชิงคุณภาพ ใช้การสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (In-dept interview) เพื่อขยายความคิดเห็นในคาตอบของประเด็นคาถามที่สอดคล้องกับคาถามเชิงปริมาณ ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัย ตัวแปรต้น คือ ลักษณะทาง ประชากรศาสตร์ ได้แก่ อายุ การศึกษา อาชีพ รายได้ สถานภาพ ตัวแปรตาม คือ ปัจจัยที่มีผลต่อ การเลือกซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ของผู้หญิงพลัสไซส์ METHODOLOGY RESEARCH RESEARCH METHODOLOGY
  • 22. การทดสอบเครื่องมือ 1. ทดสอบความตรง (Validity) ใช้ผู้ทรงคุณวุฒิประกอบด้วย อาจารย์ที่ ปรึกษา และ อาจารย์ผู้สอนวิชาสถิติสาหรับการวิจัยของนิเทศศาสตร์ พิจารณาขอบเขต ของเนื้ อหาของคาถามในแบบสอบถามว่าได้ครอบคลุมและถูกต้องตรงประเด็น(Content validity) ตามเป้าหมายของการศึกษา 2. การทดสอบหาค่าความเชื่อมั่น (Reliability test) เป็นการทดสอบความ แม่นยาของ เครื่องมือหรือแบบสอบถามที่นาไปทดอบหรือแบบสอบถามที่นาไปทดสอบ หรือแบบสอบถามที่ได้ปรับปรุงแก้ไขแล้ว เพื่อนาผลที่ได้ไปวิเคราะห์หาค่าความเชื่อมั่น ทางสถิติ โดยวิธีหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบัค (Cronbach’s Coefficient) ทั้งนี้ ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบัคควรมีค่าไม่น้อยกว่า 0.7 (Nunnaly, 1978) METHODOLOGY RESEARCH
  • 23.
  • 24. TEMPLATE การวัดค่าตัวแปร การวิเคราะห์เชิงสถิติ เกณฑ์การให้คะแนนตัวแปร การวิเคราะห์ตัวแปร และ การประมวลผลในงานวิจัยมีดังนี้ 1. ข้อมูลตามลักษณะทางประชากรศาสตร์ทัศนคติ พฤติกรรมการ เลือกซื้อ และปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกซื้อวิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าเฉลี่ย และร้อยละ สเกลการวัดและการให้คะแนน สาหรับมาตรวัดแบบ Likert Scale ซึ่งแบ่งความคิดเห็นออกเป็น 5 ระดับ โดยให้ผู้ตอบ แบบสอบถามให้คะแนนระดับความเห็นกับ ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ของผู้หญิงพลัสไซต์ผ่าน ช่องทางเฟซบุ๊กดังนี้ METHODOLOGY RESEARCH RESEARCH METHODOLOGY วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล ในการวิจัยเชิงปริมาณ(Quantitative Research)ใช้แบบสอบถาม (Questionnaires) เป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลกลุ่มประชากร ในช่วง เวลาประมาณ 3 เดือน ระหว่างเดือน มีนาคม 2559 ถึงพฤษภาคม 2559 โดยการแจกแบบสอบถาม 400 ชุด บนชุมชนเฟซบุ๊กที่มีกลุ่มผู้หญิงพลัสไซส์ รวมตัวกันอยู่ เน้นผู้หญิงพลัสไซส์ที่เคยซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ผ่านช่องทางเฟซบุ๊ก การวิจัยเชิงคุณภาพ(Quanlitative Research) ใช้เวลาในการเก็บ ข้อมูล ประมาณ 6 เดือน ระหว่างเดือน กันยายน 2560 กุมภาพันธ์ 2561 ใน การใช้คาถามแบบเจาะลึกกับผู้หญิงพลัสไซส์ที่เคยซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ผ่าน ช่องทางเฟซบุ๊กจานวน 9 คน
  • 25. TEMPLATE ดังนั้น แต่ละช่วงของข้อมูลจะห่างกัน = 0.80 คะแนน สามารถแบ่งเป็นอันตรภาคขั้นการแปลความหมาย ดังนี้ คะแนนเฉลี่ย 4.20-5.00 หมายถึง มากที่สุด คะแนนเฉลี่ย 3.40-4.19 หมายถึง มาก คะแนนเฉลี่ย 2.30-3.39 หมายถึง ปานกลาง คะแนนเฉลี่ย 1.50-2.29 หมายถึง น้อย คะแนนเฉลี่ย 0.70-1.49 หมายถึง น้อยที่สุด 2. ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางประชากรศาสตร์ ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ของผู้หญิงพลัสไซส์ผ่าน ช่องทางเฟซบุ๊ก วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าสถิติF-Testและนาค่า Sig. นามาจับคู่โดยวิธีเชฟเฟ่ (Scheffe) METHODOLOGY RESEARCH RESEARCH METHODOLOGY มากที่สุด ให้คะแนนเป็น 5 มาก ให้คะแนนเป็น 4 ปานกลาง ให้คะแนนเป็น 3 น้อย ให้คะแนนเป็น 2 น้อยที่สุด ให้คะแนนเป็น 1 การคิดค่าเฉลี่ยของคะแนนที่ได้ แบ่งระดับความสาคัญออกเป็น 5 ระดับ โดยมีวิธีการคานวณความกว้างของอันตรภาคชั้นดังนี้ ความกว้างของแต่ละอันตรภาคชั้น = คะแนนสูงสุด –คะแนนต่าสุด จานวนของอันตรภาคชั้น = 5-1 5
  • 26. RESEARCH METHODOLOGY การเก็บรวบรวมข้อมูล ในการศึกษาส่วนของการวิจัยเชิงปริมาณ ทาการเก็บ รวบรวมข้อมูลโดยการแจก แบบสอบถาม (Survey Research) ให้กบ กลุ่มตัวอย่างที่ทาการสุ่มเลือกเป็นกลุ่มผู้หญิงพลัสไซส์ในชุมชน ออนไลน์ระหว่างเดือน มีนาคม-พฤษภาคม 2559 ในการศึกษาส่วนของการวิจัยเชิงคุณภาพ ทาการเก็บ รวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์(In-dept interview) กับกลุ่มตัวอย่าง ผู้หญิงพลัสไซส์ที่ทาการสุ่มเลือกระหว่างเดือนกันยายน 2560- กุมภาพันธ์ 2561 การประมวลผลและวิเคราะห์ข้อมูล ในส่วนวิจัยเชิงปริมาณภายหลังที่ได้ทาการเก็บ รวบ รวม ข้อมูลจาก กลุ่มเป้าหมายจานวน 400 ชุดครบถ้วนแล้ว ผู้วิจัยจะนาข้อมูล ทั้งหมดที่ได้ไปตรวจสอบความถูกต้องของแบบสอบถามและการลงรหัส จากนั้นจะนาข้อมูลที่ได้ไปทาการประมวลผลโดยใช้โปรแกรมสาเร็จรูป SPSS เพื่อคานวณตามลักษณะของข้อมูลที่ได้ตอบโจทย์ของวัตถุประสงค์ของ งานวิจัยที่กาหนดไว้ต่อไป ในส่วนของงานวิจัยเชิงคุณภาพ หลังจากบันทึกข้อมูลและ รวบรวม ข้อมูลจาก กลุ่มเป้าหมายจานวน 9 คน เรียบร้อยแล้วจึงได้เรียบ เรียงคาตอบตามประเด็นหลังจากนั้นจึงทาการ เขียนสรุปผลตามลาดับ
  • 27. RESULTS  ส่วนที่ 1 คือส่วนของการศึกษาเชิงปริมาณ STYLE STYLE STYLE ผลการวิจัยในประเด็นต่างๆตามคาถามนาวิจัยดังนี้ 1.ทัศนคติ และพฤติกรรมการซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ของผู้หญิงพลัสไซส์ผ่านช่องทางเฟซบุ๊กเป็น อย่างไร 2.ปัจจัยในการตัดสินใจเลือกซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ของผู้หญิงพลัสไซส์ผ่านช่องทางเฟซบุ๊กเป็น อย่างไร 3.ลักษณ์ทางประชากรศาสตร์ที่แตกต่างกนมีผลการเลือกซื้อสินค้ามีผลต่อปัจจัยการซื้อ เสื้อผ้าออนไลน์ของผู้หญิงพลัสไซส์ผ่านช่องทางเฟซบุ๊กแตกต่างกันอย่างไร ได้ใช้แบบสอบถามจานวน 400 ชุด เก็บข้อมูลกบกลุ่มตัวอยางที่เป็นผู้หญิงพลัสไซส์ที่ เคยซื้อ เสื้อผ้าผ่านทางเฟซบุ๊ก ผ่านช่องทางอินเตอร์เน็ต
  • 28. ผลการทดสอบสมมติฐานการวิจัย 1) สมมติฐานการวิจัย ข้อที่ 1 ลักษณะทางประชากรศาสตร์ของผู้หญิงพลัสไซส์ที่แตกต่างกัน ปัจจัยทางสังคมต่อการซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ของผู้หญิงพลัสไซส์ผ่านช่องทางเฟซบุ๊กแตกต่างกัน แบ่งเป็นสมมติฐานย่อย ได้ดังนี้ 1.1) สมมติฐานข้อที่ 1.1 ผู้หญิงพลัสไซส์ที่มีอายุแตกต่างกันมีปัจจัยการซื้อเสื้อผ้า ออนไลน์ของ ผู้หญิงพลัสไซส์ผ่านช่องทางเฟซบุ๊ก ด้านปัจจัยทางสังคมแตกต่างกันสมมติฐานทางสถิติคือ H0 :ผู้หญิงพลัสไซส์ที่มีอายุแตกต่างกันมีปัจจัยการซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ของผู้หญิงพลัสไซส์ผ่านช่องทาง เฟซบุ๊ก ด้านปัจจัยทางสังคมไม่แตกต่างกัน H1 : ผู้หญิงพลัสไซส์ที่มีอายุแตกต่างกันมีปัจจัยการซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ของ ผู้หญิงพลัสไซส์ผ่านช่องทางเฟซบุ๊ก ด้านปัจจัยทางสังคมแตกต่างกันตัวสถิติที่ใช้ ในการทดสอบ คือ t-test ซึ่งสามารถเขียนสมมติฐานทางสถิติในลักษณะสัญลักษณ์ได้ดังนี้ H0 : µ1=µ2 H1 : µ1≠µ 2 โดย µ1=ค่าเฉลี่ยของปัจจัยการเลือกซื้อเสื้อผ้าผ่านช่องทางเฟซบุ๊กของผู้หญิงพลัสไซส์ที่มีอายุ 13-30 ปี µ2=ค่าเฉลี่ยของปัจจัยการเลือกซื้อเสื้อผ้าผ่านช่องทางเฟซบุ๊กของผู้หญิงพลัสไซส์ที่มีอายุ มากกว่า30 ปี ขึ้นไป
  • 29. 1.2) สมมติฐานข้อที่ 1.2ผู้หญิงพลัสไซส์ที่มีอาชีพแตกต่างกันมีปัจจัย การซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ของผู้หญิงพลัสไซส์ผ่านช่องทางเฟซบุ๊ก ด้านปัจจัยทางสังคมที่แตกต่างกัน สมมติฐานทางสถิติคือ H0 :ผู้หญิงพลัสไซส์ที่มีอาชีพแตกต่างกันมีปัจจัยการซื้อเสื้อผ้า ออนไลน์ของผู้หญิงพลัสไซส์ผ่านช่องทางเฟซบุ๊ก ด้านปัจจัยทางสังคม ไม่แตกต่างกัน H1: ผู้หญิงพลัสไซส์ที่มีอาชีพแตกต่างกันมีปัจจัยการซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ ของผู้หญิงพลัสไซส์ผ่านช่องทางเฟซบุ๊ก ด้านปัจจัยทางสังคมแตกต่าง กัน ตัวสถิติที่ใช้ในการทดสอบ คือ F-test ซึ่งสามารถเขียนสมมติฐานทางสถิติในลักษณะสัญลักษณ์ได้ดังนี้ H0 : µ1=µ2=µ3=µ4= µ5 H1 : มีค่าเฉลี่ยอย่างน้อย 2 กลุ่มแตกต่างกัน โดย µ1=ค่าเฉลี่ยของปัจจัยการเลือกซื้อเสื้อผ้าผ่านช่องทางเฟซบุ๊กของ ผู้หญิงพลัสไซส์ที่มีอาชีพ นักเรียน/นักศึกษา µ2=ค่าเฉลี่ยของปัจจัยการเลือกซื้อเสื้อผ้าผ่านช่องทางเฟซบุ๊กของผู้หญิงพลัส ไซส์ที่มี อาชีพค้าขายธุรกิจส่วนตัว µ3=ค่าเฉลี่ยของปัจจัยการเลือกซื้อเสื้อผ้าผ่านช่องทางเฟซบุ๊กของผู้หญิงพลัส ไซส์ที่มี อาชีพลูกจ้างเอกชน/พนักงานบริษัท µ4=ค่าเฉลี่ยของปัจจัยการเลือกซื้อเสื้อผ้าผ่านช่องทางเฟซบุ๊กของผู้หญิงพลัส ไซส์ที่มี อาชีพข้าราชการรัฐวิสาหกิจ µ5=ค่าเฉลี่ยของปัจจัยการเลือกซื้อเสื้อผ้าผ่านช่องทางเฟซบุ๊กของผู้หญิงพลัส ไซส์ที่มี อาชีพอื่นๆ RESULTS
  • 30. จากตาราง 4.35ผู้หญิงพลัสไซส์ที่มีอาชีพแตกต่างกัน มีปัจจัยทางสังคมในการซื้อเสื้อผ้า ออนไลน์ผ่านช่องทางเฟซบุ๊กแตกต่างกันจานวน 1คู่ คือ นักเรียน/นักศึกษา กับ อาชีพ ค้า /ขายธุรกิจ ส่วนตัว โดยผู้หญิงพลัสไซส์ที่มีอาชีพค้าขาย/ธุรกิจส่วนตัว มีผลต่อปัจจัย ทางสังคมในการซื้อเสื้อผ้า ออนไลน์ผ่านช่องทางเฟซบุ๊กมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 2.878 1.3) สมมติฐานข้อที่ 1.3ผู้หญิงพลัสไซส์ที่มีรายได้ต่อเดือนแตกต่างกันมีปัจจัยการซื้อ เสื้อผ้าออนไลน์ของผู้หญิงพลัสไซส์ผ่านช่องทางเฟซบุ๊ก ด้านปัจจัยทางสังคมที่แตกต่าง กัน สมมติฐานทางสถิติคือ H0 :ผู้หญิงพลัสไซส์ที่มีรายได้ต่อเดือนแตกต่างกันมีปัจจัยการซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ของ ผู้หญิงพลัสไซส์ผ่านช่องทางเฟซบุ๊ก ด้านปัจจัยทางสังคมที่แตกต่างกัน H1 :ผู้หญิงพลัสไซส์ที่มีรายได้ต่อเดือนแตกต่างกันมีปัจจัยการซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ของ ผู้หญิงพลัสไซส์ผ่านช่องทางเฟซบุ๊ก ด้านปัจจัยทางสังคมที่แตกต่างกัน ตัวสถิติที่ใช้ใน การทดสอบ คือ F-test ซึ่งสามารถเขียนสมมติฐานทางสถิติในลักษณะสัญลักษณ์ได้ดังนี้ H0 : µ1=µ2= µ3= µ4= µ5 H1 : มีค่าเฉลี่ยอยางน้อย 2 กลุ่มแตกต่างกัน โดย µ1=ค่าเฉลี่ยของปัจจัยการเลือกซื้อ เสื้อผ้าผ่านช่องทางเฟซบุ๊กของผู้หญิงพลัส ไซส์ที่มีรายได้ต่อเดือนน้อยกว่า 5,000 บาท µ2=ค่าเฉลี่ยของปัจจัยการเลือกซื้อเสื้อผ้าผ่านช่องทางเฟซบุ๊กของผู้หญิงพลัสไซส์ที่มี รายได้ต่อเดือน 5,001-10,000 บาท RESULTS
  • 31. µ3=ค่าเฉลี่ยของปัจจัยการเลือกซื้อเสื้อผ้าผ่านช่องทาง เฟซบุ๊กของผู้หญิงพลัสไซส์ที่มีรายได้ต่อเดือน10,001- 15,000 บาท µ4=ค่าเฉลี่ยของปัจจัยการเลือกซื้อเสื้อผ้าผ่านช่องทาง เฟซบุ๊กของผู้หญิงพลัสไซส์ที่มีรายได้ต่อเดือน15,001- 30,000 บาท µ5=ค่าเฉลี่ยของปัจจัยการเลือกซื้อเสื้อผ้าผ่านช่องทาง เฟซบุ๊กของผู้หญิงพลัสไซส์ที่มี รายได้ต่อเดือน 30,001 บาทขึ้นไป RESULTS จากจากตาราง 4.37ผู้หญิงพลัส ไซส์ที่มีรายได้ต่อเดือนแตกต่าง กัน มีปัจจัยทางสังคมในการซื้อ เสื้อผ้าออนไลน์ผ่านช่องทาง เฟซบุ๊กแตกต่างกัน จานวน 2คู่ คือ คู่แรก รายได้รายได้ 5,001- 10,000 บาท กับรายได้ 30,001 ขึ้นไป และคู่ที่สอง 10,001-15,000 บาท กับ รายได้ 30,001 ขึ้นไป โดยผู้หญิงพลัสไซส์ที่มีรายได้ 30,001 บาท ขึ้นไป มีผลต่อ ปัจจัยทางสังคมในการซื้อเสื้อผ้า ออนไลน์ผ่านช่องทางเฟซบุ๊กมาก ที่สุด ค่าเฉลี่ย 2.802
  • 32. ผู้หญิงพลัสไซส์ ที่มีระดับการศึกษาสูงสุดต่ากว่าปริญญาตรี µ2=ค่าเฉลี่ยของปัจจัยการเลือกซื้อเสื้อผ้าผ่านช่องทางเฟซบุ๊กของผู้หญิงพลัสไซส์ที่มี ระดับการศึกษาสูงสุดปริญญาตรี µ3=ค่าเฉลี่ยของปัจจัยการเลือกซื้อเสื้อผ้าผ่านช่องทางเฟซบุ๊กของผู้หญิงพลัสไซส์ที่มี ระดับการศึกษาสูงกวาปริญญาตรี RESULTS 1.4) สมมติฐานข้อที่ 1.4ผู้หญิงพลัสไซส์ที่มีระดับการศึกษา สูงสุดแตกต่างกันมี ปัจจัยการซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ของ ผู้หญิงพลัสไซส์ผ่านช่องทางเฟซบุ๊ก ด้านปัจจัยทางสังคมที่ แตกต่างกัน สมมติฐานทางสถิติคือ H0 : ผู้หญิงพลัสไซส์ที่ระดับการศึกษาสูงสุดแตกต่างกันมี ปัจจัยการซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ ของผู้หญิงพลัสไซส์ผ่านช่องทาง เฟซบุ๊ก ด้านปัจจัยทางสังคมไม่แตกต่างกัน H1 :ผู้หญิงพลัสไซส์ที่มีระดับการศึกษาสูงสุดแตกต่างกนมี ปัจจัยการซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ของผู้หญิงพลัสไซส์ผ่านช่องทาง เฟซบุ๊ก ด้านปัจจัยทางสังคมที่แตกต่างกัน ตัวสถิติที่ใช้ในการทดสอบ คือ F-test ซึ่งสามารถเขียน สมมติฐานทางสถิติในลักษณะสัญลักษณ์ได้ดังนี้ H0 : µ1=µ2=µ3 H1 : มีค่าเฉลี่ยอยางน้อย 2 กลุ่มแตกต่างกัน โดย µ1= ค่าเฉลี่ยของปัจจัยการเลือกซื้อเสื้อผ้าผ่านช่องทางเฟซบุ๊กของ
  • 33. 1.5) สมมติฐานข้อที่ 1.5ผู้หญิงพลัสไซส์ที่มีสถานภาพสมรสแตกต่าง กนมีปัจจัยการซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ของผู้หญิงพลัสไซส์ผ่านช่องทาง เฟซบุ๊ก ด้านปัจจัยทางสังคมที่แตกต่างกัน สมมติฐานทางสถิติคือ H0 :ผู้หญิงพลัสไซส์ที่มีสถานภาพสมรสแตกต่างกันมีปัจจัยการซื้อ เสื้อผ้าออนไลน์ของ ผู้หญิงพลัสไซส์ผ่านช่องทางเฟซบุ๊ก ด้านปัจจัยทางสังคมไม่แตกต่างกัน H1:ผู้หญิงพลัสไซส์ที่มีสถานภาพสมรสแตกต่างกันมีปัจจัยการซื้อ เสื้อผ้าออนไลน์ของผู้หญิงพลัสไซส์ผานช่องทางเฟซบุ๊ก ด้านปัจจัยทาง สังคมที่แตกต่างกัน ตัวสถิติที่ใช้ในการทดสอบ คือ t-test ซึ่งสามารถเขียนสมมติฐานทางสถิติในลักษณะสัญลักษณ์ได้ดังนี้ H0 : µ1=µ2 H1 : µ1≠µ 2 โดย µ1=ค่าเฉลี่ยของปัจจัยการเลือกซื้อเสื้อผ้าผ่าน ช่องทางเฟซบุ๊กของผู้หญิงพลัสไซส์ที่มีสถานภาพสมรสโสด µ2=ค่าเฉลี่ยของปัจจัยการเลือกซื้อเสื้อผ้าผ่านช่องทางเฟซบุ๊กของผู้หญิงพลัส ไซส์ที่มี สถานภาพสมรส สมรสและอื่นๆ RESULTS
  • 34. TEMPLATE สมมติฐานการวิจัย ข้อที่ 2 ลักษณะทางประชากรศาสตร์ของ ผู้หญิงพลัสไซส์ที่แตกต่างกันมีปัจจัยทางจิตวิทยาการจูงใจต่อการซื้อเสื้อผ้า ออนไลน์ผ่านช่องทางเฟซบุ๊กแตกต่างกนั 2.1) สมมติฐานข้อที่ 2.1 ผู้หญิงพลัสไซส์ที่มีอายุแตกต่างกันมี ปัจจัยการซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ของผู้หญิงพลัสไซส์ผ่านช่องทางเฟซบุ๊กด้านปัจจัย ทางจิตวิทยาการจูงใจแตกต่างกัน สมมติฐานทางสถิติคือ H0 :ผู้หญิงพลัสไซส์ที่มีอายุแตกต่างกันมีปัจจัยการซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ของ ผู้หญิงพลัสไซส์ผ่านช่องทางเฟซบุ๊ก ด้านปัจจัยทางจิตวิทยาการจูงใจไม่ แตกต่างกนั H1 : ผู้หญิงพลัสไซส์ที่มีอายุแตกต่างกันมีปัจจัยการซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ของ ผู้หญิงพลัสไซส์ผ่านช่องทางเฟซบุ๊กด้านปัจจัยทางจิตวิทยาการจูงใจแตกต่างกัน RESULTS RESULTS
  • 35. 2.2) สมมติฐานข้อที่ 2.2ผู้หญิงพลัสไซส์ที่มีอาชีพแตกต่างกันมีปัจจัยการซื้อเสื้อผ้า ออนไลน์ของผู้หญิงพลัสไซส์ผ่านช่องทางเฟซบุ๊ก ด้านปัจจัยทางจิตวิทยาการจูงใจที่แตกต่างกัน สมมติฐานทางสถิติคือ H0 : ผู้หญิงพลัสไซส์ที่มีอาชีพแตกต่างกนมีปัจจัยการซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ของผู้หญิงพลัสไซส์ผ่าน ช่องทางเฟซบุ๊ก ด้านปัจจัยทางจิตวิทยาการจูงใจไม่แตกต่างกัน H1 : ผู้หญิงพลัสไซส์ที่มีอาชีพแตกต่างกันมีปัจจัยการซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ของ ผู้หญิงพลัสไซส์ผ่านช่องทางเฟซบุ๊ก ด้านปัจจัยทางจิตวิทยาการจูงใจแตกต่างกัน RESULTS RESULTS จากตารางที่4.42ผู้หญิงพลัสไซส์ที่มีอาชีพแตกต่างกันมีปัจจัยทางจิตวิทยาการจูงใจในการซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ผ่านช่องทาง เฟซบุ๊ก แตกต่างกันจานวน 1คู่ คือ นักเรียน/นักศึกษา กับ อาชีพค้า/ขายธุรกิจส่วนตัว โดยผู้หญิงพลัสไซส์ที่มีอาชีพ ค้าขาย/ธุรกิจส่วนตัว มีผลต่อปัจจัยทางจิตวิทยาการจูงใจในการซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ผ่านช่องทางเฟซบุ๊กมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 3.353
  • 36. สมมติฐานข้อที่ 2.3ผู้หญิงพลัสไซส์ที่มีรายได้ต่อเดือน แตกต่างกนมีปัจจัยการซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ของผู้หญิงพลัส ไซส์ผ่านช่องทางเฟซบุ๊ก ด้านปัจจัยทางจิตวิทยาการจูงใจที่ แตกต่างกัน สมมติฐานทางสถิติคือ H0 :ผู้หญิงพลัสไซส์ที่มี รายได้ต่อเดือนแตกต่างกนมีปัจจัยการซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ ของผู้หญิงพลัสไซส์ผ่านช่องทางเฟซบุ๊ก ด้านปัจจัยทาง จิตวิทยาการจูงใจที่แตกต่างกัน RESULTS RESULTS H1 :ผู้หญิงพลัสไซส์ที่มีรายได้ต่อเดือนแตกต่างกนมีปัจจัยการซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ของ ผู้หญิงพลัสไซส์ผ่านช่องทางเฟซบุ๊ก ด้านปัจจัยทางจิตวิทยาการจูงใจแตกต่างกัน
  • 37. สมมติฐานข้อที่ 2.4ผู้หญิงพลัสไซส์ที่มีระดับการศึกษาสูงสุดแตกต่างกันมีปัจจัยการซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ของ ผู้หญิงพลัสไซส์ผ่านช่องทางเฟซบุ๊ก ด้านปัจจัยทางจิตวิทยาการจูงใจที่ แตกต่างกัน สมมติฐานทางสถิติคือ H0 :ผู้หญิงพลัสไซส์ที่ระดับการศึกษาสูงสุดแตกต่างกนมีปัจจัยการซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ของผู้หญิงพลัสไซส์ผ่าน ช่องทางเฟซบุ๊ก ด้านปัจจัยทางจิตวิทยาการจูงใจไม่แตกต่างกัน H1 :ผู้หญิงพลัสไซส์ที่มีระดับการศึกษาสูงสุดแตกต่างกนมีปัจจัยการซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ ของผู้หญิงพลัสไซส์ ผ่านช่องทางเฟซบุ๊ก ด้านปัจจัยทางจิตวิทยาการจูงใจที่แตกต่างกัน RESULTS RESULTS
  • 38. สมมติฐานข้อที่ 2.5 ผู้หญิงพลัสไซส์ที่มีสถานภาพสมรส แตกต่างกนมีปัจจัยการซื้อ เสื้อผ้าออนไลน์ของผู้หญิงพลัส ไซส์ผานช่องทางเฟซบุ๊ก ด้านปัจจัยทางจิตวิทยาการจูงใจที่ แตกต่างกัน สมมติฐานทางสถิติคือ H0 : ผู้หญิงพลัสไซส์ที่มี สถานภาพสมรสแตกต่างกนมีปัจจัยการซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ ของผู้หญิงพลัสไซส์ผ่านช่องทางเฟซบุ๊ก ด้านปัจจัยทาง จิตวิทยาการจูงใจไม่แตกต่างกัน RESULTS RESULTS H1 : ผู้หญิงพลัสไซส์ที่มีสถานภาพสมรสแตกต่างกนมีปัจจัยการซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ของ ผู้หญิงพลัสไซส์ผ่านช่องทางเฟซบุ๊ก ด้านปัจจัยทางจิตวิทยาการจูงใจที่แตกต่างกัน
  • 39. 3) สมมติฐานการวิจัย ข้อที่ 3ลักษณะทางประชากรศาสตร์ของ ผู้หญิงพลัสไซส์ที่แตกต่างกันมีปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด ออนไลน์ ต่อการซื้ อเสื้อผ้าออนไลน์ผ่านช่องทางเฟซบุ๊ก แตกต่างกัน 3.1) สมมติฐานข้อที่ 3.1 ผู้หญิงพลัสไซส์ที่มีอายุแตกต่างกันมีปั จจัยการ ซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ของผู้หญิงพลัสไซส์ผ่านช่องทางเฟซบุ๊ก ด้านปัจจัยส่วน ประสมทางการตลาดออนไลน์แตกต่างกัน สมมติฐานทางสถิติคือ H0 :ผู้หญิงพลัสไซส์ที่มีอายุแตกต่างกันมีปั จจัยการซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ของ ผู้หญิงพลัสไซส์ผ่านช่องทางเฟซบุ๊ก ด้านปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด ออนไลน์ ไม่แตกต่างกัน H1 : ผู้หญิงพลัสไซส์ที่มีอายุแตกต่างกันมีปั จจัยการซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ของ ผู้หญิงพลัสไซส์ผ่านช่องทางเฟซบุ๊ก ด้านปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด ออนไลน์แตกต่างกัน จากตารางที่ 4.47ผลการทดสอบด้วยสถิติ t-test กลุ่มอายุ 13- 30 ปี มี ค่าเฉลี่ย 3.291 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน .536 ส่วนกลุ่มอายุมากกว่า 30 ปี ขึ้นไป มีค่าเฉลี่ย 3.241 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน .467เมื่อทดสอบ ความต่างระหว่างค่าเฉลี่ย พบว่า กลุ่มอายุ 13- 30 ปีมีค่าเฉลี่ยไม่ แตกต่าง จากกลุ่มอายุมากกว่า 30 ปี ขึ้นไป ที่ระดับนัยสาคัญ 0.05 (Sig. > .05) ดังนั้นจึงยอมรับ H0และปฏิเสธ H1กล่าวคือ ผู้หญิงพลัสไซส์ที่มี อายุแตกต่างกนมีความเห็นด้วยเกี่ยวกับปัจจัยการซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ของ ผู้หญิงพลัสไซส์ผ่านช่องทางเฟซบุ๊ก ด้านปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด ออนไลน์ไม่แตกต่างกัน RESULTS
  • 40. STYLE STYLE STYLE 3.2) สมมติฐานข้อที่ 3.2ผู้หญิงพลัสไซส์ที่มีอาชีพแตกต่างกันมีปัจจัย การซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ของผู้หญิงพลัสไซส์ผ่านช่องทางเฟซบุ๊ก ด้าน ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดออนไลน์ที่แตกต่างกัน สมมติฐานทาง สถิติคือ H0 : ผู้หญิงพลัสไซส์ที่มีอาชีพแตกต่างกันมีปัจจัยการซื้อ เสื้อผ้าออนไลน์ของผู้หญิงพลัสไซส์ผ่านช่องทางเฟซบุ๊ก ด้านปัจจัยส่วน ประสมทางการตลาดออนไลน์ไม่แตกต่างกันH1 : ผู้หญิงพลัสไซส์ที่มี อาชีพแตกต่างกันมีปัจจัย การซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ของผู้หญิง พลัสไซส์ผ่านช่องทางเฟซบุ๊ก ด้านปัจจัยส่วนประสมทาง การตลาดออนไลน์แตกต่างกัน RESULTS RESULTS
  • 41. สมมติฐานข้อที่ 3.3ผู้หญิงพลัสไซส์ที่มีรายได้ต่อเดือน แตกต่างกนมีปัจจัยการซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ของผู้หญิงพลัส ไซส์ผ่านช่องทางเฟซบุ๊ก ด้านปัจจัยส่วนประสมทาง การตลาดออนไลน์ที่แตกต่างกัน สมมติฐานทางสถิติคือ H0 :ผู้หญิงพลัสไซส์ที่มีรายได้ต่อเดือนแตกต่างกนมีปัจจัย การซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ของผู้หญิงพลัสไซส์ผ่านช่องทาง เฟซบุ๊ก ด้านปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดออนไลน์ไม่ RESULTS RESULTS แตกต่างกัo H1 :ผู้หญิงพลัสไซส์ที่มีรายได้ต่อเดือนแตกต่างกนมีปัจจัยการซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ของ ผู้หญิงพลัสไซส์ผ่านช่องทางเฟซบุ๊ก ด้านปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดออนไลน์แตกต่างกัน
  • 42. 3.4) สมมติฐานข้อที่ 3.4ผู้หญิงพลัสไซส์ที่มีระดับการศึกษาสูงสุดแตกต่างกันมีปัจจัยการซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ ของผู้หญิงพลัสไซส์ผ่านช่องทางเฟซบุ๊กด้านปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดออนไลน์ที่แตกต่างกัน สมมติฐานทางสถิติคือ H0 :ผู้หญิงพลัสไซส์ที่ระดับการศึกษาสูงสุดแตกต่างกันมีปัจจัยการซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ ของผู้หญิงพลัสไซส์ผ่านช่องทางเฟซบุ๊ก ด้านปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดออนไลน์ไม่แตกต่างกัน H1:ผู้หญิงพลัสไซส์ที่มีระดับการศึกษาสูงสุดแตกต่างกันมีปัจจัยการซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ ของผู้หญิงพลัสไซส์ผ่าน ช่องทางเฟซบุ๊ก ด้านปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดออนไลน์แตกต่างกัน RESULTS RESULTS
  • 43. สมมติฐานข้อที่ 3.5 ผู้หญิงพลัสไซส์ที่มีสถานภาพสมรส แตกต่างกนมีปัจจัยการซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ของผู้หญิงพลัส ไซส์ผ่านช่องทางเฟซบุ๊ก ด้านปัจจัยส่วนประสมทาง การตลาดออนไลน์ที่แตกต่างกันสมมติฐานทางสถิติคือ H0 : ผู้หญิงพลัสไซส์ที่มีสถานภาพสมรสแตกต่างกันมีปัจจัยการ ซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ของผู้หญิงพลัสไซส์ผ่านช่องทางเฟซบุ๊ก ด้านปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดออนไลน์ไม่แตกต่างกัน RESULTS RESULTS H1 :ผู้หญิงพลัสไซส์ที่มีสถานภาพสมรสแตกต่างกันมีปัจจัยการซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ของผู้หญิงพลัส ไซส์ผ่านช่องทางเฟซบุ๊ก ด้านปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดออนไลน์แตกต่างกัน จากตารางที่ 4.52ผลการทดสอบด้วยสถิติ t-test กลุ่มโสด มี ค่าเฉลี่ย 3.276 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน .516 ส่วนกลุ่มสมรส และอื่นๆ มีค่าเฉลี่ย 3.236 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน .462 เมื่อทดสอบความต่างระหว่างค่าเฉลี่ย พบว่ากลุ่มโสดกบกลุ่ม สมรสและอื่นมีค่าเฉลี่ยไม่แตกต่างกัน ที่ระดับนัยสาคัญ 0.05 (Sig. >.05) ดังนั้นจึงยอมรับ H0และปฏิเสธ H1กล่าวคือ ผู้ หญิงพลัสไซส์ที่มี สถานภาพสมรสแตกต่างกันมีความเห็นด้วย เกี่ยวกับปัจจัยการซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ของผู้หญิงพลัสไซส์ผ่าน ช่องทางเฟซบุ๊กด้านปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดออนไลน์ ไม่แตกต่างกัน
  • 44. RESULTS  ส่วนที่ 2 คือส่วนของงานวิจัยเชิงคุณภาพ STYLE STYLE STYLE ได้มีการสัมภาษณ์เชิงลึกกับกลุ่มตัวอย่างผู้หญิงพลัสไซส์ที่เคยซื้อเสื้อผ้าทางเฟ ซบุ๊ก จานวน 9 คน แบ่งออกเป็น 4 ตอน ตอนที่ 1ลักษณะทางประชากรศาสตร์ของผู้หญิงพลัสไซส์ที่เลือกซื้อเสื้อผ้า ออนไลน์ผ่านช่องทางเฟซบุ๊ก ตอนที่ 2 ทัศนคติของผู้หญิงพลัสไซส์ที่เลือกซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ผ่านช่องทางเฟ ซบุ๊ก ตอนที่ 3 พฤติกรรมของผู้หญิงพลัสไซส์ที่เลือกซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ผ่านช่องทางเฟ ซบุ๊ก ตอนที่ 4 ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกซื้อเสื้อผ้าออนไลน์ของผู้หญิงพลัสไซส์ผ่าน ช่องทางเฟซบุ๊ก ตอนที่ 1ข้อมูลของกลุ่มตัวอย่าง
  • 45. ตอนที่ 2 ทัศนคติของผู้หญิงพลัสไซส์ที่เลือกซื้ อเสื้อผ้าออนไลน์ผ่าน ช่องทางเฟซบุ๊ก ผู้ทาวิจัยได้แบ่งทัศนคติในงานวิจัยฉบับนี้ ออกเป็น 5 ด้านตามกรอบงานวิจัย 1) ความรู้ความเชื่อถือเกี่ยวกับสินค้า(เสื้อผ้าพลัสไซส์) ที่ขายทาง เฟซบุ๊ก 1.1ความรู้ จากการสัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่างพบว่า กลุ่ม ตัวอย่างมีการหาข้อมูลก่อนการตัดสินใจซื้อ โดยจะมีการหาข้อมูลใน ด้านของ ขนาด สี รูปแบบ เนื้ อผ้า ราคา รวมไปถึง การตรวจสอบความ น่าเชื่อถือ โดยดูจากการรีวิวสินค้าของลูกค้าร้านนั้นๆ 1.2 ความเชื่อถือ จากการสัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่างพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีตั้งแต่เชื่อถือในตัวสินค้าไปจนกระทั่งไม่เชื่อถือในตัว สินค้าโดยกลุ่มตัวอย่างได้ให้เหตุผลของความเชื่อถือนั่นว่าจะมาจาก ปริมาณรายละเอียดของสินค้าที่ร้านค้าให้แก่ลูกค้า เช่น มีรูปภาพ ประกอบ และราคา มีจานวนผู้ติดตาม มีการรีวิวสินค้าของผู้ซื้อ รวมไป ถึงประสบการณ์ในการซื้อสินค้าจากร้านนั้นก่อนหน้านี้ 1.3 ความพึงพอใจเกี่ยวกับการซื้อสินค้า(เสื้อผ้าพลัสไซส์)ที่ ขายทางเฟซบุ๊ก ผู้วิจัยได้ทาการเก็บข้อมูลกลุ่มตัวอย่างในเรื่องของความพึง พอใจเกี่ยวกบการซื้อสินค้าในด้าน สินค้า ราคา ช่องทางการจัดจาหน่าย และโปรโมชั่นของสินค้า 1.3.1ความพึงพอใจด้านสินค้า จากการสัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่าง พบว่ากลุ่มตัวอย่างมีความพอใจด้านสินค้ามากกว่าไม่พอใจ ด้วยเหตุผลคือ ได้สินค้าดีตรงตามความต้องการ หรือด้วยการเผื่อใจไว้ก่อนการตัดสินใจซื้อ ซึ่งการที่กลุ่มตัวอย่างได้สินค้าดีตรงตามความต้องการเป็นเพราะกลุ่ม ตัวอย่างนั้นเป็นสมาชิกอยู่ในกลุ่มซื้อขายสินค้าเฉพาะขนาดของตนทาให้ ค้นพบสินค้าตามขนาดที่ต้องการ และสาหรับผู้ที่ไม่พอใจในตัวสินค้าเพราะ ไม่ได้สินค้าสินค้าตรงตามความต้องการด้านขนาด และเนื้ อผ้า 1.3.2 ความพอใจด้านราคาของสินค้า จากการสัมภาษณ์กลุ่ม ตัวอย่างพบว่ากลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่นั้นมีความพอใจในด้านราคาของสินค้า โดยให้เหตุผลว่าสินค้าที่ขายในเฟซบุ๊กนั้นมีราคาถูกกว่าสินค้าที่ขายตาม ท้องตลาด เนื่องจากไม่เสียค่าที่แต่จะมีค่าขนส่งเพิ่มเติมซึ่งกลุ่มตัวอย่างมี ความเห็นแตกต่างกันโดยบางส่วนคิดว่าคุ้มค่า และบางส่วนที่คิดว่าไม่คุ้มค่า RESULTS RESULTS
  • 46. 1.3.3 ความพอใจในช่องทางจัดจาหน่ายของสินค้า จากการสัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่างพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีความ พอใจในช่องทาง จัดจาหน่าย โดยให้เหตุผลว่ามีความสะดวกในการ เลือกซื้อ เหมาะแก่ผู้ไม่มีเวลาไปเดินเลือกซื้อตามท้องตลาด หรือไม่มี โอกาสออกไปหาซื้อตามท้องตลาด รวมถึงพอใจที่ได้รับสินค้ารวดเร็ว แต่มี ข้อเสียคือไม่ได้จับต้องสินค้า และไม่ได้เห็นของจริงก่อนการ ตัดสินใจซื้อ 1.3.4 ความพอใจในด้านโปรโมชั่นของสินค้า จากการ สัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่างพบว่า กลุ่มตัวอย่างนั้นมีความพอใจในใน โปรโมชั่น โดยส่วนใหญ่จะคิดว่าโปรโมชั่นที่มีอยู่นั้นดีอยู่แล้ว และ บางส่วนไม่มีความสนใจในโปรโมชั่น หรือไม่ค่อยพบโปรโมชั่น โดย กลุ่มตัวอย่างให้เหตุผลว่าตนนั้นจะชื่นชอบโปรโมชั่นหากโปรโมชั่น นั้นคือ การแจกสินค้า แถมสินค้า ฟรีค่าขนส่ง หรือ การมีการชาระเงิน ผ่านพร้อมเพย์แบบไม่เสีย ค่าธรรมเนียม 1.4 ทัศนคติเกี่ยวกับพฤติกรรมการซื้อของตน จากการ สัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่างพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่นั้นมีความเห็นว่าตนซื้อ อย่างเหมาะสม โดยให้เหตุผลว่าสินค้าที่ตนซื้อนั้นไม่แพง และตนไม่ได้ซื้อ สินค้านั้นบ่อยครั้งจนเกินไป มีเพียงคนเดียวในกลุ่มตัวอย่างที่คิดว่าตนนั้นซื้อ ปริมาณมากเพราะมีสินค้ามาส่งเกือบทุกวัน 1.5 ทัศนคติเกี่ยวกับตนเอง 1.5.1 ด้านของบุคลิกภาพ จากการสัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่าง พบว่า ส่วนใหญ่เกือบครึ่งหนึ่งคิดว่าตนนั้นเป็นคนขี้กังวล รองลงมาคือคิดว่า ตนนั้นเป็นคนมีความสามารถ และ ลาดับที่สามคิดว่าตนเป็นคนธรรมดา กลางๆ ที่เหลือคิดว่าตนนั้นเป็นคนสบายๆ ตนเป็นคนร่าเริง และบางคนมี ความเห็นว่าตนนั้นมีลักษณะต่างๆ รวมกัน ได้แก่ ขี้กังวล อ่อนโยน และ อบอุ่น โดยมีผู้ให้เหตุผลว่าการที่ตนเป็นคนเช่นใดขึ้นอยู่กับสถานการณ์ที่ พบปะผู้คนที่ต่างๆ กนด้วยเช่นกัน 1.5.2) ด้านความมั่นใจ จากการสัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่างพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ให้ความเห็นว่าตนเป็นคนมั่นใจในระดับกลางๆ มาก ที่สุด ไปจนถึงมั่นใจ โดยมีเพียง 1 คนเท่านั้นที่คิดว่าตนเองเป็นคนไม่มั่นใจ ในตัวเอง“กลางๆ ค่ะค่อนข้างมั่นใจนิดนึง RESULTS RESULTS
  • 47. ตอนที่ 3 พฤติกรรมของผู้หญิงพลัสไซส์ที่เลือกซื้ อเสื้อผ้าออนไลน์ ผ่านช่องทางเฟซบุ๊ก ผู้วิจัยได้ทาการเก็บข้อมูลในเรื่องของพฤติกรรม 5 ด้าน 1)การเลือกผลิตภัณฑ์(เสื้อผ้าพลัสไซส์) ทางเฟซบุ๊จาก การสัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่างพบว่า กลุ่มตัวอย่างนั้นมีการเลือกซื้อเสื้อผ้า หลากหลายรูปแบบเพื่อใช้เองส่วนใหญ่ และบางคนก็ซื้อให้คนใน ครอบครัวเช่นคุณแม่ของตน ด้วยเหตุผลที่ว่าตนและคุณแม่ของตนนั้นมี ขนาดร่างกายใกล้เคียงกัน โดยส่วนใหญ่ที่กลุ่มตัวอย่างซื้อจะเป็น ผลิตภัณฑ์เสื้อผ้าพลัสไซส์ที่ใส่ในสองโอกาสคือ ใส่เที่ยว และใส่ทางาน ซึ่งบางส่วนจะเลือกที่ใส่เที่ยวและทางานได้ในชุดเดียวกน และมีเหตุผล การซื้อที่มากที่สุดคือ เรื่องของความสะดวกสบาย รองลงมาคือ เรื่อง ของรูปแบบและการออกแบบ และยังมีเหตุผลอื่นๆ เช่นเรื่องคุณภาพ และ ความคุ้มค่าที่ใส่ได้หลายครั้ง 2)การเลือกตราสินค้าเสื้อผ้าพลัสไซส์ทางเฟซบุ๊ก จากการ สัมภาษณ์พบวากลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่นิยมเลือกซื้อสินค้าจากร้านเดิมที่เคย ซื้อด้วยเหตุผลของความไว้วางใจวาร้านเดิมที่ซื้อนั้นไม่โกหกมีการส่งสินค้า จริง แต่กลุ่มตัวอย่างก็มีการดูสินค้าจากร้านใหม่ๆ เพิ่มเติมควบคู่กันไปด้วย หากสินค้าร้านเดิมไม่มีสินค้าใหม่ๆ จาหน่าย และบางส่วนจะดูร้านใหม่ๆ ไป เรื่อยๆ โดยได้รับคาแนะนาร้านใหม่ๆ จากเพื่อนๆ และส่วนใหญ่จะเลือก ซื้อจากร้านที่มีเพจเฟซบุ๊กของร้านเองเป็นหลัก รองลงมาคือ เลือกซื้อสินค้า จากเพจเฟซบุ๊กแบบกลุ่ม ลาดับที่สามคือแบบไลฟ์สด และ ลาดับสุดท้ายคือ แบบที่มีหน้าร้านตั้งขายอยูด้วย โดยกลุ่มตัวอย่างให้ความเห็นว่าร้านที่มีหน้า ร้านตั้งขายอยู่ด้วยนั้นมีความน่าเชื่อถือกว่าร้านที่มีเพียงการขายในเฟซบุ๊ก เท่านั้น 3)ช่วงเวลาที่ซื้อสินค้า(เสื้อผ้าพลัสไซส์) มากที่สุด จากการ สัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่างพบว่า กลุ่มตัวอย่างนั้นมีทั้งเลือกซื้อสินค้าเรื่อยๆ โดย ไม่ระบุว่าเป็นช่วงเวลาใดของเดือน เพราะหากเจอสินค้าถูกใจจะสั่งเลย และ มีกลุ่มตัวอย่างที่ซื้อสินค้าช่วงต้นเดือนถึงกลางเดือนเนื่องจากเป็นช่วง เงินเดือนออก ในเรื่องของช่วงวันของอาทิตย์มีผู้ระบุเป็นวันเฉพาะเจาะจงว่า เป็นช่วงต้นอาทิตย์เช่นวันจันทร์ วันอังคาร และช่วงวันหยุดที่ตนไม่ได้ทางาน เช่นวันเสาร์อาทิตย์ และระบุช่วงเวลาในการเข้าชมและซื้อสินค้านั้น ว่ามีการ เลือกซื้อสินค้า ตั้งแต่เวลาบ่ายโมงไปจนถึง 4-5 ทุ่ม RESULTS RESULTS