SlideShare a Scribd company logo
BASIC OF BLAST DESIGN I 
ความรู้เบื้องต้นในการออกแบบการระเบิด 
เรื่อง 
PHYSICAL BLAST DESIGN PARAMETRE 
ปัจจัยที่มีผลต่อการระเบิดที่ดี1 
BY: SAKSALID CHANGTUM 
PROJECT MANAGER TKPV PHUKHAM GOLD-COPER OPERATION
Introduction 
วิธีการเบื้องต้นในการขุดหินหรือแร่ที่คุ้มค่าทางเศรษฐกิจคือการใช้ระเบิด เพอื่ให้ได้ผลผลิตหินหรือ 
แร่ที่ แตกร่วนดีและกองของแร่หรือหินหลังระเบิดไม่กระจัดกระจายไปทั่วบริเวณที่จะทาการขุด และ 
ง่ายต่อการขน อย่างไรก็ตามบริเวณใกล้กับผนังของบ่อแร่ ค่าใช้จ่ายในการะเจาะระเบิดจะเพิ่มสูงขึ้น 
เนื่องมาจากข้อจา กัดที่จา เป็นต้องระเบิดโดยมีระยะห่างของรูระเบิดน้อยลงและอัดระเบิดด้วยความ 
ระมัดระวังมากขึ้น 
หินหรือแร่แตกดี 
การระเบิดที่ 
ดีดูไดจ้าก 
ขุดและขนส่งง่าย ผนังของเหมืองไม่เสียหาย 
เพื่อให้บรรลุผลลัพธ์ที่ดีที่สุดภายใต้เงื่อนไขทั้งสองนี้ มีความจา เป็นที่ต้องทา ความเข้าใจในค่าตัวแปร 
ต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการระเบิดที่จาเป็นต้องคานึงถึง ดังต่อไปนี้
มีผลต่อการระเบิดที่ 
ดี 
เส้นผ่าศูนย์กลางรูเจาะ (D) BLASTHOLE 
DIAMETER 
ความสูงหน้างาน (H) BENCH HEIGHT 
ความเอียงรูเจาะ ANGLED 
BLASTHOLES 
ระยะระหว่างแถว (B) 
และ ระยะระหว่างรู (S) 
BURDEN AND 
SPACING 
BLASTHOLE 
รูปแบบการวางรูเจาะ PATTERN 
ระยะเจาะเผื่อ (J) SUBDRILL 
ระยะบรรจุหินอัดรูระเบิด(T) STEMMING 
LENGTH 
การบรรจุวัตถุระเบิดชักนา PRIMER 
PLACEMENT 
หินอัดรูระเบิด STEMMING 
พาว์เดอร์แฟคเตอร์ (PF) POWDER 
H 
J 
ปัจจัยที่ 
PHYSICAL BLAST DESIGN PARAMETRE 
S S 
B 
T 
B/2 
FACTOR 
Berm 
D
มีผลต่อการระเบิดที่ 
ดี 
เส้นผ่าศูนย์กลางรูเจาะ (D) BLASTHOLE 
DIAMETER 
ความสูงหน้างาน (H) BENCH HEIGHT 
ความเอียงรูเจาะ ANGLED 
BLASTHOLES 
ระยะระหว่างแถว (B) 
และ ระยะระหว่างรู (S) 
BURDEN AND 
SPACING 
BLASTHOLE 
รูปแบบการวางรูเจาะ PATTERN 
ระยะเจาะเผื่อ (J) SUBDRILL 
ระยะบรรจุหินอัดรูระเบิด STEMMING LENGTH 
การบรรจุวัตถุระเบิดชักนา PRIMER 
PLACEMENT 
หินอัดรูระเบิด STEMMING 
ปัจจัยที่ 
PHYSICAL BLAST DESIGN PARAMETRE 
พาว์เดอร์แฟคเตอร์ (PF) POWDER 
FACTOR
ปัจจัยที่ 
มีผลต่อการระเบิดที่ 
ดี 
PHYSICAL BLAST DESIGN PARAMETRE 
H 
J 
S 
S 
S 
B 
ตัวอย่าง แพ๊ทเทิ้นระเบิดจริงหน้างาน 
T 
C 
D 
B
POWDER FACTOR พาว์เดอร์แฟคเตอร์ (PF) 
- เพื่อให้การระเบิดสามารถตรวจสอบและควบคุมปริมาณการใช้ระเบิดได้อย่างมี 
ประสิทธิภาพ และง่ายต่อการคา นวนจึงได้มีการกา หนดค่าดัชนีที่ใช้เป็นตัวบ่งบอกถึง 
ปริมาณการใช้ระเบิด ในแพ๊ทเทิ้นระเบิดว่าใช้มากน้อยเพียงใด ดัชนีนี้ในทางวศิวกรรม 
เรียกว่า POWDER FACTOR พาว์เดอร์แฟคเตอร์ (PF) 
- การใช้วัตถุระเบิดมากเกินไปหรือพาวเดอร์แฟคเตอร์มากอาจทา ให้หินหรือแร่มี 
ขนาดเล็ก หรือเกิดฝุ่นมากเกินไป และยังเป็นสาเหตุทา ให้เกิดหินบินหรือFly Rock อีก 
ด้วย 
- การใช้วัตถุระเบิดน้อยเกินไปหรือพาวเดอร์แฟคเตอร์น้อย ทา ให้หินแตกเป็นก้อน 
ใหญ่จา นวนมาก ไม่สะดวกต่อการขุดและการตัก อาจมีความจา เป็นต้องระเบิดย่อยซึ่ง 
ต้องเสียค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้น 
- ค่าพาวเดอร์แฟคเตอร์นี้มีความแตกต่างตาม ความต้องการผลของการระเบิด ชนิด 
ของหินหรือแร่ที่จะทาการระเบิด ชนิดของวัตถุระเบิดที่ใช้รูปร่างของแพเทิ้น ขนาด 
เส้นผ่าศูนย์กลางรูเจาะ
POWDER FACTOR พาว์เดอร์แฟคเตอร์ (PF) 
ค่าPOWDER FACTOR พาว์เดอร์แฟคเตอร์ (PF) หาได้จากน้า หนักระเบิดที่ใช้ 
ในการระเบิด (풎) หน่วยเป็นกิโลกรัม ต่อ ปริมาตรหิน (흂) ที่จะทา การระเบิดหน่วย 
เป็นลูกบาศก์เมตร (Bulk Cubic Meter) ดังนั้นสูตรการคา นวนหา พาว์เดอร์แฟคเตอร์ 
จึงเป็นดังข้างล่างนี้ 
PF = 
풎 
흂
BLASTHOLE เส้นผ่าศูนย์กลางรูเจาะ 
ค่าใช้จ่ายโดยรวมของงานเหมืองแร่จะต่า ลงเมื่อใช้รูเจาะระเบิดขนาดใหญ่ แต่ค่าใช้จ่ายใน 
งานระเบิดจะเพิ่มมากขึ้นตามไปด้วย รูเจาะขนาดใหญ่จะเหมาะสมน้อยลงในการระเบิดหินที่แข็ง 
หรือในพื้นที่ที่หินมีรอยแตกแยก รวมทั้งพื้นที่ที่ต้องควบคุมการสั่นสะเทือนเป็นพิเศษ และในหินที่ 
เป็นก้อนๆปนอยู่กับดิน ซึ่งส่งผลให้ระยะห่างของรูระเบิดในแพ๊ทเทิ้นระเบิดต้องลดลง และ 
จา เป็นต้องใช้ขนาดรูเจาะที่เล็กลง รูเจาะขนาดเล็กกว่าให้ผลการระเบิดที่หินแตกด้านบนของรูระเบิด 
ได้ดีกว่ารูเจาะขนาดใหญ่ และยังทา ให้ระยะสตีมมิ่งที่ต้องการจากการคา นวณลดลง 
ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางรูเจาะที่เหมาะสมจะมีขนาดใหญ่ขึ้น สา หรับเบ้นส์ที่สูงขึ้น(ชั้นของ 
หินผาที่จะระเบิด) ปริมาณการขุดแร่ การขนส่งและการบดที่มีขนาดใหญ่ขึ้น 
D
เส้นผ่าศูนย์กลางรูเจาะขนาดใหญ่ จะเหมาะสมน้อยลงขึ้นอยู่กับ 
• ในพื้นที่ระเบิดที่เป็นหินแข็ง, พื้นที่หินที่มีรอยแตกแยกของหิน 
• เมอื่สถานที่ที่ต้องการระเบิดมีความสา คัญมากที่ต้องมีการควบคุมการสั่นสะเทือนที่เกิดจากการ 
ระเบิด 
• ในเหมืองดินเปิดขนาดใหญ่ ค่าใช้จ่ายโดยรวมของการทา เหมืองโดยปรกติจะถูกทา ให้น้อยที่สุด 
โดยการเจาะหลุมระเบิดขนาดใหญ่ กับหลุมเจาะระเบิดขนาดใหญ่ ค่าใช้จ่ายในการเจาะหลุมระเบิด 
จะลดลง (ค่าใช้จ่ายในการเจาะหลุมระเบิดต่อปริมาตรการระเบิดเป็นลูกบาศก์เมตร หรือต่อ 
นา้หนักเป็นตันของหิน) 
• วัตถุระเบิดแรงสูงที่ใช้ และระบบการจุดชนวนระเบิด 
• คนงานสา หรบัการอัดระเบิดจนถึงการจุดระเบิด
เส้นผ่าศูนย์กลางรูเจาะขนาดใหญ่ จะเหมาะสมน้อยลงขึ้นอยู่กับ 
• มูลค่ารวมของการดา เนินการเหมืองจะตา่กว่า หากใช้รเูจาะที่มีขนาดใหญ่ 
• แต่กับรเูจาะขนาดใหญ่ ค่าใช้จ่ายของวัตถุระเบิดจะสูงขนึ้ เนอื่งจากมีความต้องการพาว 
เดอร์แฟคเตอร์ที่สูงขนึ้เพื่อให้มีเปอร์เซ็นต์การแตกของหินที่ดีเทียบเท่ากับการใช้รเูจาะ 
ขนาดเล็ก ในการระเบิดหินที่มีความแข็ง หินที่มีลักษณะเป็นชนั้ๆเรียงตัวกัน รวมทงั้ 
พื้นที่ทหีิ่นยากต่อการแตก รเูจาะที่มีเส้นผ่าศนูย์กลางที่เล็กว่า มีความได้เปรียบคือ 
ทา ให้การกระจายของพลังงานจากการระเบิดผ่านไปตามเนอื้หินที่ระเบิดได้ดีกว่า เมอื่เพิ่ม 
ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางรเูจาะแต่พลังงานในการระเบิดยังเท่าเดิม(ถ้าใช้ค่าพาวเด่อร์แฟค 
เตอร์เท่าเดิม) รเูจาะขนาดใหญ่ในแพทเทิ้นระเบิดจะทา ให้ได้หินที่แตกเป็นก้อนใหญ่ขนึ้ 
หินหรือแร่แตกดี Good Fragmentation
เส้นผ่าศูนย์กลางรูเจาะขนาดใหญ่ จะเหมาะสมน้อยลงขึ้นอยู่กับ 
• อย่างไรก็ตาม ในหินที่มีรอยแยก 
เป็นช่องว่างที่ใกล้ชิดกัน มีแนวโนม้ 
ที่การแตกของหินต้องถูกควบคุม 
ด้วยเหตุนี้ให้การเพิ่มขนาด 
เส้นผ่าศูนย์กลางรเูจาะ สามารถ 
อาศัยเพียงการระเบิดเล็กในรอย 
แยกเหล่านนั้ก็ทา ให้หินแตกได้แล้ว 
ภาพแสดงการกระจายของพลังงานระเบิดในรูเจาะขนาดใหญ่ ที่มีระยะ 
ระหว่างแถว (B) และ ระยะระหว่างรู(S) ที่มากกว่าในภาพด้านบน 
เทียบกับรูเจาะขนาดเล็กที่มีระยะระหว่างแถว (B) และ ระยะระหว่างรู 
(S) ที่น้อยกว่าในภาพด้านล่าง
เส้นผ่าศูนย์กลางรูเจาะขนาดใหญ่ จะเหมาะสมน้อยลงขึ้นอยู่กับ 
• เมอื่ใช้พาวเดอร์เฟคเตอร์เท่ากัน รเูจาะระเบิดที่มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางรเูจาะขนาดเล็กยัง 
ช่วยให้ส่วนบนของรรูะเบิดมีการแตกของหินที่ดีขนึ้ เนอื่งมาจากระยะอัดระเบิดเพิ่มมากขนึ้ 
(ดไูด้จากรปูด้านล่าง ) 
รปูแสดงการ 
เปรียบเทียบเมอื่ใช้พาว 
เด่อร์แฟคเตอร์เท่ากัน 
ระหว่างรเูจาะเล็ก 
(ด้านขวา) กับรเูจาะ 
ใหญ(่ด้านซ้าย) จะเห็น 
ว่าระยะที่กลบหินซึ่งไม่ได้ 
อัดระเบิด ในรเูจาะขนาด 
ใหญ่จะมากกว่า เมื่อพาว 
เดอร์แฟคเตอร์เท่ากัน
เส้นผ่าศูนย์กลางรูเจาะขนาดใหญ่ จะเหมาะสมน้อยลงขึ้นอยู่กับ 
• ที่พื้นที่ที่มีรเูจาะดงิ่มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางใหญ่ มีความเป็นไปได้มากขนึ้ที่จะมีระยะโทว 
เบอร์เด้นมากกว่ารเูจาะดงิ่มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางนอ้ย เนอื่งจากขนาดของระยะระหว่าง 
แถว (B) 
และ ระยะระหว่างรู(S) ในที่รแูถวหนา้ของแพ๊ทเทิ้นระเบิดมีค่ามากกว่า กรณีนเี้มอื่ระเบิดจะ 
เกิด โนนหินขนึ้ด้านหนา้แนวระเบิดที่ติดกับหนา้อิสระ ทา ให้เกิดปัญหาในการระเบิดชนั้ 
ต่อไปมีพื้นที่ไม่เรียบ 
ภาพแสดงการเกิดโนนหินที่ด้านหนา้แนวระเบิดที่ติดกับหนา้อิสระ เมอื่โทว์เบอร์เด้นมากเกินไปที่รแูถว 
หนา้ทา ให้หินไม่แตกและไม่เคลื่อนที่ออก บ่อยครงั้ที่รเูจาะระเบิดที่หินล้มเหลวในการทา ให้หินแตกและ 
เคลื่อนที่ในแถวหนา้ของแพทเทิ้นระเบิด ในที่นไี้ม่เกี่ยวขอ้งกับจา นวนรขูองแถวหนา้ของแพ๊ทเทิ้นระเบิด
BENCH HEIGHT ความสูงหน้างาน หรือ เบ้นส์ไฮ๊ท์ 
• ความสูงของชนั้หนา้ผาที่จะระเบิดตัดลงหรือเรียกว่า เบ้นส์ไฮ๊ท์ ในสมัยก่อนที่รถเจาะยังไม่ 
มีประสิทธิภาพมากนัก การเลือกใช้ความสูงหนา้ผาที่มาก มีโอกาสที่จะเกิดความผิดพลาด 
ของแนวการเจาะได้ดังรปูด้านล่างนี้ 
ภาพแสดงความคลาดเคลื่อนของแนว 
การเจาะรรูะเบิดเมอื่ความสูงชนั้หน้าผา 
มากขนึ้ ซึ่งปัจจุบันมีปัญหานนี้อ้ยลง 
แต่ทุกวันนกี้ารเจาะระเบิดและการระเบิดไม่ได้มีผลมากมายนักกับการเลือกเบ้นส์ไฮ๊ท์ ความ 
สูงของชนั้หนา้ผาที่จะตัดลงในปัจจุบันนี้พิจารณาเพียงจากองค์ประกอบดังต่อไปนี้
BENCH HEIGHT ความสูงหน้างาน หรือ เบ้นส์ไฮ๊ท์ 
• การเพิ่มความสูงของเบ้นส์ไฮ๊ท์นนั้จะทา ให้ค่าใช้จ่ายในการเจาะลดลง คือคา่ดัชนีการเจาะ 
หรือ ดริวแฟคเตอร์ มีค่าลดลง (หน่วยเป็น เมตร/ลูกบาศก์เมตร หรือ เมตร/ตัน) 
อย่างไรก็ดีค่าใช้จ่ายในการเจาะ ค่าใช้จ่ายส้นิเปลืองเนื่องจากกา้นเจาะ ดอกเจาะ 
รวมทงั้อปุกรณ์ส้นิเปลืองอื่นๆ และค่าใช้จ่ายในการใช้วัตถรุะเบิดแรงสงูและระบบ 
ค่าใช้จ่ายแรงงานที่ต้องใช้ในการอัดระเบิดไปจนถึงการจุดระเบิด และอายขุองเหมือง 
ในขณะที่ค่าใช้จ่ายของวัตถรุะเบิดแรงต่าหรือวัตถรุะเบิดหลักเช่นปุ๋ยหรอืเบ๊าส์จะ 
ความต้องการพาวเดอร์แฟคเตอร์ที่สงูขึ้นเพื่อทาให้หินแตกได้ดีเมื่อเทียบกับการ 
หมายเหต:ุดริวแฟคเตอร์ ในการพิจารณาค่าใช้จ่ายในการเจาะรรูะเบิดในทางช่างว่ามี 
เจาะมากหรือนอ้ยเพียงใด จะพิจารณาจากค่านี้เป็นคา่ปริมาณการเจาะรรูะเบิดเป็นเมตร 
ต่อปริมาตรของหินที่จะระเบิดเป็นลูกบาศก์เมตร หรือ ค่าปริมาณการเจาะรรูะเบิดเป็น 
เมตร ต่อนา้หนักของหินที่จะระเบิดเป็นตัน
BENCH HEIGHT ความสูงหน้างาน หรือ เบ้นส์ไฮ๊ท์ 
• ค่าเส้นผ่าศูนย์กลางรเูจาะที่เหมาะสมจะเพิ่มสูงขนึ้ตามค่าของเบ้นส์ไฮ๊ท์ที่สูงขนึ้ ในตาราง 
ด้านล่าง แสดงถึงอิทธิพลทัว่ไปที่ เบ้นส์ไฮ๊ท์มีต่อค่าของเส้นผ่าศูนย์กลางรเูจาะที่เหมาะสม 
โดยทัว่ไปเมอื่เพิ่มขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางรเูจาะ จะเป็นเหตุให้ค่าใช้จ่ายในการเจาะรรูะเบิด 
ลดลง (เนอื่งจากเบ้นส์ไฮ๊ท์ที่ใช้ก็ควรจะเพิ่มขนึ้ด้วย เมอื่รเูจาะใหญ่ขนึ้ทา ให้ขยายแพ๊ทเทิ้นได้ 
ใหญ่ขนึ้นัน่คือ ค่าของระยะระหว่างแถว (B) และ ระยะระหว่างรู(S) มากขนึ้ ทา ให้ 
ปริมาตรของหินที่ระเบิดต่อรเูจาะมีค่ามากขนึ้) 
แสดงถึงอิทธิพลทัว่ไปที่ เบ้นส์ไฮ๊ท์ 
มีต่อค่าของเส้นผ่าศูนย์กลาง 
รเูจาะที่เหมาะสม ค่าตามตารางนี้ 
ต้องตรวจสอบกับกฎนวิ้มืออีก 
ครงั้ เพื่อให้ผลที่ดีที่สุด
BENCH HEIGHT ความสูงหน้างาน หรือ เบ้นส์ไฮ๊ท์ 
• ถ้ารรูะเบิดที่เจาะอยู่ในแนวดงิ่หรือเป็นรดูงิ่ ที่รเูจาะแถวหนา้ของแพ๊ทเทิ้นระเบิด โทว์เบอร์ 
เด้นท์จะหนามากเกินไป เมอื่เส้นผ่าศูนย์กลางรเูจาะมีขนาดเล็กถูกเจาะในเบ้นส์ไฮ๊ท์ที่มีความ 
สูงมากๆ รรูะเบิดต้องเจาะเป็นมุมเอียงหรือเจาะรเูอียง อย่างนอ้ยในที่สุดในแถวหนา้ของ 
แพ๊ทเทิ้นระเบิด แม้แถวหลังจากนนั้ของแพ๊ทเทิ้นระเบิดจะเจาะเป็นรดูงิ่ก็ตาม 
• ความถูกต้องของการเจาะจะเป็นเรื่องที่ต้องระมัดระวังมากขนึ้เมอื่แพ๊ทเทิ้นระเบิดมีความ 
สูงของเบ๊นส์ไฮท์มากขนึ้ 
ANGLED BLASTHOLES ความเอียงรูเจาะ 
ในการระเบิดหินเพื่อการผลิตแร่ในงานเหมืองแร่ รรูะเบิดโดยปรกติจะเป็นรูดงิ่ ทงั้นี้ 
เนื่องมาจาก 
• การเจาะรเูอียงมีความยากมากกว่าการเจาะรดูงิ่ 
• รถเจาะบางร่นุไม่มีความสามารถในการเจาะรเูอียงได้ 
• ความละเอียดถูกต้องของการเจาะจะมากกว่าถ้าเจาะรูดงิ่
ANGLED BLASTHOLES ความเอียงรูเจาะ 
• แต่รเูอียงจะให้การกระจายของพลังงานระเบิดในเนอื้ของหินที่ระเบิดที่ดีกว่าการเจาะรดูงิ่ 
รเูอียงยังมีประสิทธิภาพในการลดปัญหาการเกิดโนนหินและลดการแตกรา้วใน 
ระเบิด(ดจูากรปูด้านล่าง) รเูอียงยังช่วยให้หินแตกได้ดี และมีการเคลื่อนที่ของหินที่ 
ได้มากกว่า 
รเูอียงโดยปรกติ จะให้การ 
แตกของหินที่ระเบิดได้ดีกว่า 
เพราะมีประสิทธิภาพในการ 
กระจายพลังงานระเบิดที่ดีกว่า 
เนื่องมาจาก ปริมาตรของ 
หินตามช่วงที่อัดหินสตีมมิ่ง 
ลดลง (ซึ่งเป็ นส่วนที่ ที่ 
โดยปรกติจะเกิดหินก้อน 
ใหญ่)
ANGLED BLASTHOLES ความเอียงรูเจาะ 
ระยะเบอร์เด้นที่มากเกินไปของรทูี่เจาะใน 
แนวดงิ่ทา ให้ระยะโทว์เบอร์เด้นหรือ 
เบอร์เด้นจริงด้านล่างของรมูีค่ามาก 
เกินไป 
อันตรายจากแรงอัดของอากาศจากการ 
ระเบิด และหินบินเป็นสาเหตุเนอื่งมากจาก 
ระยะเบอร์เด้นด้านบนของรบูางมากๆ และ 
อาจมีค่านอ้ยกว่าระยะเบอร์เด้นที่ออกแบบ 
ไว้ หรือนอ้ยกว่าค่าทเี่หมาะสม
BURDEN AND SPACING ระยะระหว่างรูและระยะระหว่างแถว 
ระหว่างระยะเบอร์เด้นและระยะสเปซซิ่ง 
กบัขนาดของรูเจาะเป็นพื้นฐานในการออกแบบแพ๊ทเทิ้น 
ระเบิดในงานเหมืองแร่แบบเปิดหนา้ดิน (Open Pit) โดยปรกติจะพิจารณาถึงความสามารถของระเบิดที่อัด 
ในรูที่จะระเบิด ที่จะสามารถทา ให้หินที่อยู่ด้านหน้ารูเจาะของแพ๊ทเทิ้นระเบิด(ตามความหนาของหินจากระยะ 
หินจากระยะเบอร์เด้น)แตกออกและเคลื่อนตัวได้ เป็นจุดเริ่มต้นของการออกแบบแพ๊ทเทิ้นระเบิด
BURDEN AND SPACING ระยะระหว่างรูและระยะระหว่างแถว 
ขั้นตอนการออกแบบระยะเบอร์เด้นและสเปซซิ่ง ทาได้ดังนี้ 
• กาหนดพาวเดอร์แฟกเตอร์ออกแบบ 
• เส้นผ่าศูนย์กลางรเูจาะระเบิด 
• คุณสมบัติของผาหินที่จะระเบิด ( และโดยเฉพาะคุณสมบัติดังนี้ส่วนที่แข็งที่สุดของหิน, 
ความแข็งของหินส่วนใหญ่ โดยดจูากขเี้จาะหรือดริวคัท Drill Cut ของรรูะเบิด) 
• ขนาดของหินที่ต้องการหลังระเบิด, ระยะที่ต้องการให้หินเคลื่อนตัว, การกองของหินที่แตก 
หลังระเบิด ที่ต้องการ 
• ลักษณะโครงสร้างของหินที่ทา การระเบิด
BLASTHOLE PATTERN รูปแบบการวางรูเจาะ 
• การออกแบบการวางรเูจาะจะขนึ้อยู่กับ ขนาดรเูจาะ, คุณสมบัติของหิน, คุณสมบัติของ 
วัตถุระเบิด, องศาของการแตก และระยะที่ตอ้งการ เช่นเดียวกับความสูงของหนา้ผา 
• เพื่อยืนยันโครงสร้างผลการระเบิดและแสดงผลจากประสบการณ์การทา งานโดยการแตก 
และการประสิทธิภาพโดยทัว่ไประหว่างการระเบิดแบบ ก้างปลา และแบบสี่หลี่ยม มีความ 
แตกต่างอย่างไร 
การเจาะแบบสลับฟันปลา จะมีพลังงานที่สมา่เสมอมากกว่าการเจาะแบบจตุรัส
SUBDRILL ระยะเจาะเผื่อ 
ประสิทธิภาพการทา งานของการตักจา เป็นจะตอ้งมีการ แตกตัวการกระจายตัวของ 
หินที่พื้นที่ดีเยี่ยม การเกิดรากหรือโท จะมผลมาจากการเจาะ Subdrill 
ระดับที่จะตัดลง 
หรือระดับที่ได้หลัง 
การระเบิด 
ระดับที่จะตัดลง 
หรือระดับที่ได้หลัง 
การระเบิดโดยเจาะ 
เผื่อ SUBDRILL
STEMMING LENGTH ระยะบรรจุหินอัดรูระเบิด 
การระเบิดต้องมีหินอัดรรูะเบิดเพื่อป้องกันพลังงานที่จะออกมาจากทางปากรูเจาะซึ่ง 
หากระยะอัดหินมีระยะน้อยจะเกิด 
• การแตกหักและการเคลื่อนที่ทงั้หมดเกิดขนึ้จากพลังงานยกตัวที่ลดลง(แก๊ซระเบิด 
จะสามารถออกสู่บรรยากาศได้อย่างรวดเร็วและง่ายดาย) 
• มีโอกาศสูงที่จะเกิด flyrock, surface overbreak, noise and airblast 
ระยะอัดรูเจาะที่น้อยและเหมาะสมเพื่อ 
• รูเจาะที่มีขนาดเล็ก 
• หินมีลักษณะแข็งและเป็นเนื้อเดียวกัน 
• วัสดุอัดรูระเบิดมีความต้านทานในการพุ่งออกสูง 
• วัตถุระเบิดมีพลังงานตา่ 
• หน้าผามีความสูงไม่มากนัก
STEMMING LENGTH ระยะบรรจุหินอัดรูระเบิด 
การแก้ปัญหาระยะหินอัดรูระเบิดมากเกินไปในหินแข็ง 
Pocket Charge-techniques 
สา หรับหินที่มีความแข็งมากแล 
ป้ องกัน flyrock, overbreak or 
excessive 
noise and airblast 
Standard Air - Deck techniques 
ใช้สา หรับระยะ Burden น้อยและพื้น 
ด้านบนมความแข็งแรงน้อย
STEMMING LENGTH ระยะบรรจุหินอัดรูระเบิด 
การแก้ปัญหาระยะหินอัดรูระเบิดมากเกินไปในหินแข็ง 
Water - deck techniques 
เพื่อลดต้นทุนค่าใช้จ่ายเหมืองส่วนใหญ่พยายามจะใช้ ANFO ซึ่งเป็นวัตถุระเบิดที่ค่อนขา้ง 
ถูกและให้พลังงานสูง ซึ่งทา โดยการใส่ Gas Bag ลงไปคัน่ช่วงที่มีนา้ในรูแล้วบรรจุวัตถุ 
ระเบิด ANFO ลงไป
STEMMING LENGTH ระยะบรรจุหินอัดรูระเบิด 
การแก้ปัญหาระยะหินอัดรูระเบิดมากเกินไปในหินแข็ง 
Stab Holes techniques 
เป็นการเจาะรูระหว่างระยะ Burden และ 
Spacing เพื่อป้องกันหินก้อนใหญ่หรือ 
Fly Rock จากการลดระยะ Stemming
PRIMER PLACEMENT การบรรจุวัตถุระเบิดชักนา 
จากการทดสอบโดยใช้รูเจาะขนาดเล็ก(‹100 mm.)ได้แสดงค่าความเคลียดสงูสดุใน 
หินเพิ่มขึ้น 37% เมื่อวัตถรุะเบิดชักนาถกูย้ายขึ้นมาไว้ตรงที่ระดับเดียวกับพื้น
STEMMING หินอัดรูระเบิด 
• โดยปกติ Stemming ที่สะดวกที่สุดคือ เศษเจาะปากรู แต่ไม่มีความเหมาะสมซ่งหิน 
Stemming ที่เหมาะสมนนั้ต้องเป็นวัสดุที่หยาบ มีความต้านทานการพุ่งได้ดีเพื่อ 
ความคุม Fly Rock,Air Blast และอื่นๆ ซึ่งโดยปกติขนาดของหิน Stemming ที่ใช้ควร 
มีขนาดไม่เกิน 10% ของขนาดรูเจาะ
BLAST EXAMPLE IN QUARRY ตัวอย่างการระเบิดหินในเหมืองหิน

More Related Content

What's hot

Drilling in Surface Mine.pdf
Drilling in Surface Mine.pdfDrilling in Surface Mine.pdf
Drilling in Surface Mine.pdf
BIT Sindri
 
Drilling and blasting powerpoint 2003
Drilling and blasting powerpoint 2003Drilling and blasting powerpoint 2003
Drilling and blasting powerpoint 2003
Yogesh Ghule
 
Applications of rock classifications
Applications of rock classifications Applications of rock classifications
Applications of rock classifications
Sourabh Jain
 
Blasting
BlastingBlasting
Blasting
Deepak Kumar
 
New burn cut blast design in drives enhances drilling blasting efficiency wit...
New burn cut blast design in drives enhances drilling blasting efficiency wit...New burn cut blast design in drives enhances drilling blasting efficiency wit...
New burn cut blast design in drives enhances drilling blasting efficiency wit...
partha sharma
 
Basics of drilling 3
Basics of drilling 3Basics of drilling 3
Basics of drilling 3
SATYANARAYANA I
 
Drilling and blasting
Drilling and blastingDrilling and blasting
Drilling and blasting
Jyoti Khatiwada
 
mining dilution and mineral losses
 mining dilution and mineral losses mining dilution and mineral losses
Subsidence
SubsidenceSubsidence
Subsidence
Arpit Baderiya
 
Controlled Blasting Techniques.pptx
Controlled Blasting Techniques.pptxControlled Blasting Techniques.pptx
Controlled Blasting Techniques.pptx
Venkat Ramana
 
Shaft sinking 2
Shaft  sinking 2Shaft  sinking 2
Shaft sinking 2
Er.Sunil Wasade
 
Stress types around excavation opening
Stress types around excavation openingStress types around excavation opening
Stress types around excavation opening
Jyoti Khatiwada
 
2.pressure arch theory (longwall) copy
2.pressure arch theory (longwall)  copy2.pressure arch theory (longwall)  copy
2.pressure arch theory (longwall) copy
Vinay Chary
 
Drilling and blasting
Drilling and blastingDrilling and blasting
Drilling and blasting
Parth Desani
 
Ground control in undergound mines
Ground control in undergound minesGround control in undergound mines
Ground control in undergound mines
Ulimella Siva Sankar
 
Explosives, Theory Of Breakage And Blasting Operations
Explosives, Theory Of Breakage And Blasting OperationsExplosives, Theory Of Breakage And Blasting Operations
Explosives, Theory Of Breakage And Blasting Operations
partha sharma
 
Drilling in mining
Drilling in miningDrilling in mining
Drilling in mining
Eder Reyes
 
Blast hole drill
Blast hole drillBlast hole drill
Blast hole drill
pavan kumar
 
Mechanics of blasting
Mechanics of blasting Mechanics of blasting
Mechanics of blasting
SudhanKumarSubedi
 
Cutting analysis (part 1)
Cutting analysis (part 1)Cutting analysis (part 1)
Cutting analysis (part 1)
Behrooz Esrafili-Dizaji
 

What's hot (20)

Drilling in Surface Mine.pdf
Drilling in Surface Mine.pdfDrilling in Surface Mine.pdf
Drilling in Surface Mine.pdf
 
Drilling and blasting powerpoint 2003
Drilling and blasting powerpoint 2003Drilling and blasting powerpoint 2003
Drilling and blasting powerpoint 2003
 
Applications of rock classifications
Applications of rock classifications Applications of rock classifications
Applications of rock classifications
 
Blasting
BlastingBlasting
Blasting
 
New burn cut blast design in drives enhances drilling blasting efficiency wit...
New burn cut blast design in drives enhances drilling blasting efficiency wit...New burn cut blast design in drives enhances drilling blasting efficiency wit...
New burn cut blast design in drives enhances drilling blasting efficiency wit...
 
Basics of drilling 3
Basics of drilling 3Basics of drilling 3
Basics of drilling 3
 
Drilling and blasting
Drilling and blastingDrilling and blasting
Drilling and blasting
 
mining dilution and mineral losses
 mining dilution and mineral losses mining dilution and mineral losses
mining dilution and mineral losses
 
Subsidence
SubsidenceSubsidence
Subsidence
 
Controlled Blasting Techniques.pptx
Controlled Blasting Techniques.pptxControlled Blasting Techniques.pptx
Controlled Blasting Techniques.pptx
 
Shaft sinking 2
Shaft  sinking 2Shaft  sinking 2
Shaft sinking 2
 
Stress types around excavation opening
Stress types around excavation openingStress types around excavation opening
Stress types around excavation opening
 
2.pressure arch theory (longwall) copy
2.pressure arch theory (longwall)  copy2.pressure arch theory (longwall)  copy
2.pressure arch theory (longwall) copy
 
Drilling and blasting
Drilling and blastingDrilling and blasting
Drilling and blasting
 
Ground control in undergound mines
Ground control in undergound minesGround control in undergound mines
Ground control in undergound mines
 
Explosives, Theory Of Breakage And Blasting Operations
Explosives, Theory Of Breakage And Blasting OperationsExplosives, Theory Of Breakage And Blasting Operations
Explosives, Theory Of Breakage And Blasting Operations
 
Drilling in mining
Drilling in miningDrilling in mining
Drilling in mining
 
Blast hole drill
Blast hole drillBlast hole drill
Blast hole drill
 
Mechanics of blasting
Mechanics of blasting Mechanics of blasting
Mechanics of blasting
 
Cutting analysis (part 1)
Cutting analysis (part 1)Cutting analysis (part 1)
Cutting analysis (part 1)
 

BASIC OF BLAST DESIGN I

  • 1. BASIC OF BLAST DESIGN I ความรู้เบื้องต้นในการออกแบบการระเบิด เรื่อง PHYSICAL BLAST DESIGN PARAMETRE ปัจจัยที่มีผลต่อการระเบิดที่ดี1 BY: SAKSALID CHANGTUM PROJECT MANAGER TKPV PHUKHAM GOLD-COPER OPERATION
  • 2. Introduction วิธีการเบื้องต้นในการขุดหินหรือแร่ที่คุ้มค่าทางเศรษฐกิจคือการใช้ระเบิด เพอื่ให้ได้ผลผลิตหินหรือ แร่ที่ แตกร่วนดีและกองของแร่หรือหินหลังระเบิดไม่กระจัดกระจายไปทั่วบริเวณที่จะทาการขุด และ ง่ายต่อการขน อย่างไรก็ตามบริเวณใกล้กับผนังของบ่อแร่ ค่าใช้จ่ายในการะเจาะระเบิดจะเพิ่มสูงขึ้น เนื่องมาจากข้อจา กัดที่จา เป็นต้องระเบิดโดยมีระยะห่างของรูระเบิดน้อยลงและอัดระเบิดด้วยความ ระมัดระวังมากขึ้น หินหรือแร่แตกดี การระเบิดที่ ดีดูไดจ้าก ขุดและขนส่งง่าย ผนังของเหมืองไม่เสียหาย เพื่อให้บรรลุผลลัพธ์ที่ดีที่สุดภายใต้เงื่อนไขทั้งสองนี้ มีความจา เป็นที่ต้องทา ความเข้าใจในค่าตัวแปร ต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการระเบิดที่จาเป็นต้องคานึงถึง ดังต่อไปนี้
  • 3. มีผลต่อการระเบิดที่ ดี เส้นผ่าศูนย์กลางรูเจาะ (D) BLASTHOLE DIAMETER ความสูงหน้างาน (H) BENCH HEIGHT ความเอียงรูเจาะ ANGLED BLASTHOLES ระยะระหว่างแถว (B) และ ระยะระหว่างรู (S) BURDEN AND SPACING BLASTHOLE รูปแบบการวางรูเจาะ PATTERN ระยะเจาะเผื่อ (J) SUBDRILL ระยะบรรจุหินอัดรูระเบิด(T) STEMMING LENGTH การบรรจุวัตถุระเบิดชักนา PRIMER PLACEMENT หินอัดรูระเบิด STEMMING พาว์เดอร์แฟคเตอร์ (PF) POWDER H J ปัจจัยที่ PHYSICAL BLAST DESIGN PARAMETRE S S B T B/2 FACTOR Berm D
  • 4. มีผลต่อการระเบิดที่ ดี เส้นผ่าศูนย์กลางรูเจาะ (D) BLASTHOLE DIAMETER ความสูงหน้างาน (H) BENCH HEIGHT ความเอียงรูเจาะ ANGLED BLASTHOLES ระยะระหว่างแถว (B) และ ระยะระหว่างรู (S) BURDEN AND SPACING BLASTHOLE รูปแบบการวางรูเจาะ PATTERN ระยะเจาะเผื่อ (J) SUBDRILL ระยะบรรจุหินอัดรูระเบิด STEMMING LENGTH การบรรจุวัตถุระเบิดชักนา PRIMER PLACEMENT หินอัดรูระเบิด STEMMING ปัจจัยที่ PHYSICAL BLAST DESIGN PARAMETRE พาว์เดอร์แฟคเตอร์ (PF) POWDER FACTOR
  • 5. ปัจจัยที่ มีผลต่อการระเบิดที่ ดี PHYSICAL BLAST DESIGN PARAMETRE H J S S S B ตัวอย่าง แพ๊ทเทิ้นระเบิดจริงหน้างาน T C D B
  • 6. POWDER FACTOR พาว์เดอร์แฟคเตอร์ (PF) - เพื่อให้การระเบิดสามารถตรวจสอบและควบคุมปริมาณการใช้ระเบิดได้อย่างมี ประสิทธิภาพ และง่ายต่อการคา นวนจึงได้มีการกา หนดค่าดัชนีที่ใช้เป็นตัวบ่งบอกถึง ปริมาณการใช้ระเบิด ในแพ๊ทเทิ้นระเบิดว่าใช้มากน้อยเพียงใด ดัชนีนี้ในทางวศิวกรรม เรียกว่า POWDER FACTOR พาว์เดอร์แฟคเตอร์ (PF) - การใช้วัตถุระเบิดมากเกินไปหรือพาวเดอร์แฟคเตอร์มากอาจทา ให้หินหรือแร่มี ขนาดเล็ก หรือเกิดฝุ่นมากเกินไป และยังเป็นสาเหตุทา ให้เกิดหินบินหรือFly Rock อีก ด้วย - การใช้วัตถุระเบิดน้อยเกินไปหรือพาวเดอร์แฟคเตอร์น้อย ทา ให้หินแตกเป็นก้อน ใหญ่จา นวนมาก ไม่สะดวกต่อการขุดและการตัก อาจมีความจา เป็นต้องระเบิดย่อยซึ่ง ต้องเสียค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้น - ค่าพาวเดอร์แฟคเตอร์นี้มีความแตกต่างตาม ความต้องการผลของการระเบิด ชนิด ของหินหรือแร่ที่จะทาการระเบิด ชนิดของวัตถุระเบิดที่ใช้รูปร่างของแพเทิ้น ขนาด เส้นผ่าศูนย์กลางรูเจาะ
  • 7. POWDER FACTOR พาว์เดอร์แฟคเตอร์ (PF) ค่าPOWDER FACTOR พาว์เดอร์แฟคเตอร์ (PF) หาได้จากน้า หนักระเบิดที่ใช้ ในการระเบิด (풎) หน่วยเป็นกิโลกรัม ต่อ ปริมาตรหิน (흂) ที่จะทา การระเบิดหน่วย เป็นลูกบาศก์เมตร (Bulk Cubic Meter) ดังนั้นสูตรการคา นวนหา พาว์เดอร์แฟคเตอร์ จึงเป็นดังข้างล่างนี้ PF = 풎 흂
  • 8. BLASTHOLE เส้นผ่าศูนย์กลางรูเจาะ ค่าใช้จ่ายโดยรวมของงานเหมืองแร่จะต่า ลงเมื่อใช้รูเจาะระเบิดขนาดใหญ่ แต่ค่าใช้จ่ายใน งานระเบิดจะเพิ่มมากขึ้นตามไปด้วย รูเจาะขนาดใหญ่จะเหมาะสมน้อยลงในการระเบิดหินที่แข็ง หรือในพื้นที่ที่หินมีรอยแตกแยก รวมทั้งพื้นที่ที่ต้องควบคุมการสั่นสะเทือนเป็นพิเศษ และในหินที่ เป็นก้อนๆปนอยู่กับดิน ซึ่งส่งผลให้ระยะห่างของรูระเบิดในแพ๊ทเทิ้นระเบิดต้องลดลง และ จา เป็นต้องใช้ขนาดรูเจาะที่เล็กลง รูเจาะขนาดเล็กกว่าให้ผลการระเบิดที่หินแตกด้านบนของรูระเบิด ได้ดีกว่ารูเจาะขนาดใหญ่ และยังทา ให้ระยะสตีมมิ่งที่ต้องการจากการคา นวณลดลง ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางรูเจาะที่เหมาะสมจะมีขนาดใหญ่ขึ้น สา หรับเบ้นส์ที่สูงขึ้น(ชั้นของ หินผาที่จะระเบิด) ปริมาณการขุดแร่ การขนส่งและการบดที่มีขนาดใหญ่ขึ้น D
  • 9. เส้นผ่าศูนย์กลางรูเจาะขนาดใหญ่ จะเหมาะสมน้อยลงขึ้นอยู่กับ • ในพื้นที่ระเบิดที่เป็นหินแข็ง, พื้นที่หินที่มีรอยแตกแยกของหิน • เมอื่สถานที่ที่ต้องการระเบิดมีความสา คัญมากที่ต้องมีการควบคุมการสั่นสะเทือนที่เกิดจากการ ระเบิด • ในเหมืองดินเปิดขนาดใหญ่ ค่าใช้จ่ายโดยรวมของการทา เหมืองโดยปรกติจะถูกทา ให้น้อยที่สุด โดยการเจาะหลุมระเบิดขนาดใหญ่ กับหลุมเจาะระเบิดขนาดใหญ่ ค่าใช้จ่ายในการเจาะหลุมระเบิด จะลดลง (ค่าใช้จ่ายในการเจาะหลุมระเบิดต่อปริมาตรการระเบิดเป็นลูกบาศก์เมตร หรือต่อ นา้หนักเป็นตันของหิน) • วัตถุระเบิดแรงสูงที่ใช้ และระบบการจุดชนวนระเบิด • คนงานสา หรบัการอัดระเบิดจนถึงการจุดระเบิด
  • 10. เส้นผ่าศูนย์กลางรูเจาะขนาดใหญ่ จะเหมาะสมน้อยลงขึ้นอยู่กับ • มูลค่ารวมของการดา เนินการเหมืองจะตา่กว่า หากใช้รเูจาะที่มีขนาดใหญ่ • แต่กับรเูจาะขนาดใหญ่ ค่าใช้จ่ายของวัตถุระเบิดจะสูงขนึ้ เนอื่งจากมีความต้องการพาว เดอร์แฟคเตอร์ที่สูงขนึ้เพื่อให้มีเปอร์เซ็นต์การแตกของหินที่ดีเทียบเท่ากับการใช้รเูจาะ ขนาดเล็ก ในการระเบิดหินที่มีความแข็ง หินที่มีลักษณะเป็นชนั้ๆเรียงตัวกัน รวมทงั้ พื้นที่ทหีิ่นยากต่อการแตก รเูจาะที่มีเส้นผ่าศนูย์กลางที่เล็กว่า มีความได้เปรียบคือ ทา ให้การกระจายของพลังงานจากการระเบิดผ่านไปตามเนอื้หินที่ระเบิดได้ดีกว่า เมอื่เพิ่ม ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางรเูจาะแต่พลังงานในการระเบิดยังเท่าเดิม(ถ้าใช้ค่าพาวเด่อร์แฟค เตอร์เท่าเดิม) รเูจาะขนาดใหญ่ในแพทเทิ้นระเบิดจะทา ให้ได้หินที่แตกเป็นก้อนใหญ่ขนึ้ หินหรือแร่แตกดี Good Fragmentation
  • 11. เส้นผ่าศูนย์กลางรูเจาะขนาดใหญ่ จะเหมาะสมน้อยลงขึ้นอยู่กับ • อย่างไรก็ตาม ในหินที่มีรอยแยก เป็นช่องว่างที่ใกล้ชิดกัน มีแนวโนม้ ที่การแตกของหินต้องถูกควบคุม ด้วยเหตุนี้ให้การเพิ่มขนาด เส้นผ่าศูนย์กลางรเูจาะ สามารถ อาศัยเพียงการระเบิดเล็กในรอย แยกเหล่านนั้ก็ทา ให้หินแตกได้แล้ว ภาพแสดงการกระจายของพลังงานระเบิดในรูเจาะขนาดใหญ่ ที่มีระยะ ระหว่างแถว (B) และ ระยะระหว่างรู(S) ที่มากกว่าในภาพด้านบน เทียบกับรูเจาะขนาดเล็กที่มีระยะระหว่างแถว (B) และ ระยะระหว่างรู (S) ที่น้อยกว่าในภาพด้านล่าง
  • 12. เส้นผ่าศูนย์กลางรูเจาะขนาดใหญ่ จะเหมาะสมน้อยลงขึ้นอยู่กับ • เมอื่ใช้พาวเดอร์เฟคเตอร์เท่ากัน รเูจาะระเบิดที่มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางรเูจาะขนาดเล็กยัง ช่วยให้ส่วนบนของรรูะเบิดมีการแตกของหินที่ดีขนึ้ เนอื่งมาจากระยะอัดระเบิดเพิ่มมากขนึ้ (ดไูด้จากรปูด้านล่าง ) รปูแสดงการ เปรียบเทียบเมอื่ใช้พาว เด่อร์แฟคเตอร์เท่ากัน ระหว่างรเูจาะเล็ก (ด้านขวา) กับรเูจาะ ใหญ(่ด้านซ้าย) จะเห็น ว่าระยะที่กลบหินซึ่งไม่ได้ อัดระเบิด ในรเูจาะขนาด ใหญ่จะมากกว่า เมื่อพาว เดอร์แฟคเตอร์เท่ากัน
  • 13. เส้นผ่าศูนย์กลางรูเจาะขนาดใหญ่ จะเหมาะสมน้อยลงขึ้นอยู่กับ • ที่พื้นที่ที่มีรเูจาะดงิ่มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางใหญ่ มีความเป็นไปได้มากขนึ้ที่จะมีระยะโทว เบอร์เด้นมากกว่ารเูจาะดงิ่มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางนอ้ย เนอื่งจากขนาดของระยะระหว่าง แถว (B) และ ระยะระหว่างรู(S) ในที่รแูถวหนา้ของแพ๊ทเทิ้นระเบิดมีค่ามากกว่า กรณีนเี้มอื่ระเบิดจะ เกิด โนนหินขนึ้ด้านหนา้แนวระเบิดที่ติดกับหนา้อิสระ ทา ให้เกิดปัญหาในการระเบิดชนั้ ต่อไปมีพื้นที่ไม่เรียบ ภาพแสดงการเกิดโนนหินที่ด้านหนา้แนวระเบิดที่ติดกับหนา้อิสระ เมอื่โทว์เบอร์เด้นมากเกินไปที่รแูถว หนา้ทา ให้หินไม่แตกและไม่เคลื่อนที่ออก บ่อยครงั้ที่รเูจาะระเบิดที่หินล้มเหลวในการทา ให้หินแตกและ เคลื่อนที่ในแถวหนา้ของแพทเทิ้นระเบิด ในที่นไี้ม่เกี่ยวขอ้งกับจา นวนรขูองแถวหนา้ของแพ๊ทเทิ้นระเบิด
  • 14. BENCH HEIGHT ความสูงหน้างาน หรือ เบ้นส์ไฮ๊ท์ • ความสูงของชนั้หนา้ผาที่จะระเบิดตัดลงหรือเรียกว่า เบ้นส์ไฮ๊ท์ ในสมัยก่อนที่รถเจาะยังไม่ มีประสิทธิภาพมากนัก การเลือกใช้ความสูงหนา้ผาที่มาก มีโอกาสที่จะเกิดความผิดพลาด ของแนวการเจาะได้ดังรปูด้านล่างนี้ ภาพแสดงความคลาดเคลื่อนของแนว การเจาะรรูะเบิดเมอื่ความสูงชนั้หน้าผา มากขนึ้ ซึ่งปัจจุบันมีปัญหานนี้อ้ยลง แต่ทุกวันนกี้ารเจาะระเบิดและการระเบิดไม่ได้มีผลมากมายนักกับการเลือกเบ้นส์ไฮ๊ท์ ความ สูงของชนั้หนา้ผาที่จะตัดลงในปัจจุบันนี้พิจารณาเพียงจากองค์ประกอบดังต่อไปนี้
  • 15. BENCH HEIGHT ความสูงหน้างาน หรือ เบ้นส์ไฮ๊ท์ • การเพิ่มความสูงของเบ้นส์ไฮ๊ท์นนั้จะทา ให้ค่าใช้จ่ายในการเจาะลดลง คือคา่ดัชนีการเจาะ หรือ ดริวแฟคเตอร์ มีค่าลดลง (หน่วยเป็น เมตร/ลูกบาศก์เมตร หรือ เมตร/ตัน) อย่างไรก็ดีค่าใช้จ่ายในการเจาะ ค่าใช้จ่ายส้นิเปลืองเนื่องจากกา้นเจาะ ดอกเจาะ รวมทงั้อปุกรณ์ส้นิเปลืองอื่นๆ และค่าใช้จ่ายในการใช้วัตถรุะเบิดแรงสงูและระบบ ค่าใช้จ่ายแรงงานที่ต้องใช้ในการอัดระเบิดไปจนถึงการจุดระเบิด และอายขุองเหมือง ในขณะที่ค่าใช้จ่ายของวัตถรุะเบิดแรงต่าหรือวัตถรุะเบิดหลักเช่นปุ๋ยหรอืเบ๊าส์จะ ความต้องการพาวเดอร์แฟคเตอร์ที่สงูขึ้นเพื่อทาให้หินแตกได้ดีเมื่อเทียบกับการ หมายเหต:ุดริวแฟคเตอร์ ในการพิจารณาค่าใช้จ่ายในการเจาะรรูะเบิดในทางช่างว่ามี เจาะมากหรือนอ้ยเพียงใด จะพิจารณาจากค่านี้เป็นคา่ปริมาณการเจาะรรูะเบิดเป็นเมตร ต่อปริมาตรของหินที่จะระเบิดเป็นลูกบาศก์เมตร หรือ ค่าปริมาณการเจาะรรูะเบิดเป็น เมตร ต่อนา้หนักของหินที่จะระเบิดเป็นตัน
  • 16. BENCH HEIGHT ความสูงหน้างาน หรือ เบ้นส์ไฮ๊ท์ • ค่าเส้นผ่าศูนย์กลางรเูจาะที่เหมาะสมจะเพิ่มสูงขนึ้ตามค่าของเบ้นส์ไฮ๊ท์ที่สูงขนึ้ ในตาราง ด้านล่าง แสดงถึงอิทธิพลทัว่ไปที่ เบ้นส์ไฮ๊ท์มีต่อค่าของเส้นผ่าศูนย์กลางรเูจาะที่เหมาะสม โดยทัว่ไปเมอื่เพิ่มขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางรเูจาะ จะเป็นเหตุให้ค่าใช้จ่ายในการเจาะรรูะเบิด ลดลง (เนอื่งจากเบ้นส์ไฮ๊ท์ที่ใช้ก็ควรจะเพิ่มขนึ้ด้วย เมอื่รเูจาะใหญ่ขนึ้ทา ให้ขยายแพ๊ทเทิ้นได้ ใหญ่ขนึ้นัน่คือ ค่าของระยะระหว่างแถว (B) และ ระยะระหว่างรู(S) มากขนึ้ ทา ให้ ปริมาตรของหินที่ระเบิดต่อรเูจาะมีค่ามากขนึ้) แสดงถึงอิทธิพลทัว่ไปที่ เบ้นส์ไฮ๊ท์ มีต่อค่าของเส้นผ่าศูนย์กลาง รเูจาะที่เหมาะสม ค่าตามตารางนี้ ต้องตรวจสอบกับกฎนวิ้มืออีก ครงั้ เพื่อให้ผลที่ดีที่สุด
  • 17. BENCH HEIGHT ความสูงหน้างาน หรือ เบ้นส์ไฮ๊ท์ • ถ้ารรูะเบิดที่เจาะอยู่ในแนวดงิ่หรือเป็นรดูงิ่ ที่รเูจาะแถวหนา้ของแพ๊ทเทิ้นระเบิด โทว์เบอร์ เด้นท์จะหนามากเกินไป เมอื่เส้นผ่าศูนย์กลางรเูจาะมีขนาดเล็กถูกเจาะในเบ้นส์ไฮ๊ท์ที่มีความ สูงมากๆ รรูะเบิดต้องเจาะเป็นมุมเอียงหรือเจาะรเูอียง อย่างนอ้ยในที่สุดในแถวหนา้ของ แพ๊ทเทิ้นระเบิด แม้แถวหลังจากนนั้ของแพ๊ทเทิ้นระเบิดจะเจาะเป็นรดูงิ่ก็ตาม • ความถูกต้องของการเจาะจะเป็นเรื่องที่ต้องระมัดระวังมากขนึ้เมอื่แพ๊ทเทิ้นระเบิดมีความ สูงของเบ๊นส์ไฮท์มากขนึ้ ANGLED BLASTHOLES ความเอียงรูเจาะ ในการระเบิดหินเพื่อการผลิตแร่ในงานเหมืองแร่ รรูะเบิดโดยปรกติจะเป็นรูดงิ่ ทงั้นี้ เนื่องมาจาก • การเจาะรเูอียงมีความยากมากกว่าการเจาะรดูงิ่ • รถเจาะบางร่นุไม่มีความสามารถในการเจาะรเูอียงได้ • ความละเอียดถูกต้องของการเจาะจะมากกว่าถ้าเจาะรูดงิ่
  • 18. ANGLED BLASTHOLES ความเอียงรูเจาะ • แต่รเูอียงจะให้การกระจายของพลังงานระเบิดในเนอื้ของหินที่ระเบิดที่ดีกว่าการเจาะรดูงิ่ รเูอียงยังมีประสิทธิภาพในการลดปัญหาการเกิดโนนหินและลดการแตกรา้วใน ระเบิด(ดจูากรปูด้านล่าง) รเูอียงยังช่วยให้หินแตกได้ดี และมีการเคลื่อนที่ของหินที่ ได้มากกว่า รเูอียงโดยปรกติ จะให้การ แตกของหินที่ระเบิดได้ดีกว่า เพราะมีประสิทธิภาพในการ กระจายพลังงานระเบิดที่ดีกว่า เนื่องมาจาก ปริมาตรของ หินตามช่วงที่อัดหินสตีมมิ่ง ลดลง (ซึ่งเป็ นส่วนที่ ที่ โดยปรกติจะเกิดหินก้อน ใหญ่)
  • 19. ANGLED BLASTHOLES ความเอียงรูเจาะ ระยะเบอร์เด้นที่มากเกินไปของรทูี่เจาะใน แนวดงิ่ทา ให้ระยะโทว์เบอร์เด้นหรือ เบอร์เด้นจริงด้านล่างของรมูีค่ามาก เกินไป อันตรายจากแรงอัดของอากาศจากการ ระเบิด และหินบินเป็นสาเหตุเนอื่งมากจาก ระยะเบอร์เด้นด้านบนของรบูางมากๆ และ อาจมีค่านอ้ยกว่าระยะเบอร์เด้นที่ออกแบบ ไว้ หรือนอ้ยกว่าค่าทเี่หมาะสม
  • 20. BURDEN AND SPACING ระยะระหว่างรูและระยะระหว่างแถว ระหว่างระยะเบอร์เด้นและระยะสเปซซิ่ง กบัขนาดของรูเจาะเป็นพื้นฐานในการออกแบบแพ๊ทเทิ้น ระเบิดในงานเหมืองแร่แบบเปิดหนา้ดิน (Open Pit) โดยปรกติจะพิจารณาถึงความสามารถของระเบิดที่อัด ในรูที่จะระเบิด ที่จะสามารถทา ให้หินที่อยู่ด้านหน้ารูเจาะของแพ๊ทเทิ้นระเบิด(ตามความหนาของหินจากระยะ หินจากระยะเบอร์เด้น)แตกออกและเคลื่อนตัวได้ เป็นจุดเริ่มต้นของการออกแบบแพ๊ทเทิ้นระเบิด
  • 21. BURDEN AND SPACING ระยะระหว่างรูและระยะระหว่างแถว ขั้นตอนการออกแบบระยะเบอร์เด้นและสเปซซิ่ง ทาได้ดังนี้ • กาหนดพาวเดอร์แฟกเตอร์ออกแบบ • เส้นผ่าศูนย์กลางรเูจาะระเบิด • คุณสมบัติของผาหินที่จะระเบิด ( และโดยเฉพาะคุณสมบัติดังนี้ส่วนที่แข็งที่สุดของหิน, ความแข็งของหินส่วนใหญ่ โดยดจูากขเี้จาะหรือดริวคัท Drill Cut ของรรูะเบิด) • ขนาดของหินที่ต้องการหลังระเบิด, ระยะที่ต้องการให้หินเคลื่อนตัว, การกองของหินที่แตก หลังระเบิด ที่ต้องการ • ลักษณะโครงสร้างของหินที่ทา การระเบิด
  • 22. BLASTHOLE PATTERN รูปแบบการวางรูเจาะ • การออกแบบการวางรเูจาะจะขนึ้อยู่กับ ขนาดรเูจาะ, คุณสมบัติของหิน, คุณสมบัติของ วัตถุระเบิด, องศาของการแตก และระยะที่ตอ้งการ เช่นเดียวกับความสูงของหนา้ผา • เพื่อยืนยันโครงสร้างผลการระเบิดและแสดงผลจากประสบการณ์การทา งานโดยการแตก และการประสิทธิภาพโดยทัว่ไประหว่างการระเบิดแบบ ก้างปลา และแบบสี่หลี่ยม มีความ แตกต่างอย่างไร การเจาะแบบสลับฟันปลา จะมีพลังงานที่สมา่เสมอมากกว่าการเจาะแบบจตุรัส
  • 23. SUBDRILL ระยะเจาะเผื่อ ประสิทธิภาพการทา งานของการตักจา เป็นจะตอ้งมีการ แตกตัวการกระจายตัวของ หินที่พื้นที่ดีเยี่ยม การเกิดรากหรือโท จะมผลมาจากการเจาะ Subdrill ระดับที่จะตัดลง หรือระดับที่ได้หลัง การระเบิด ระดับที่จะตัดลง หรือระดับที่ได้หลัง การระเบิดโดยเจาะ เผื่อ SUBDRILL
  • 24. STEMMING LENGTH ระยะบรรจุหินอัดรูระเบิด การระเบิดต้องมีหินอัดรรูะเบิดเพื่อป้องกันพลังงานที่จะออกมาจากทางปากรูเจาะซึ่ง หากระยะอัดหินมีระยะน้อยจะเกิด • การแตกหักและการเคลื่อนที่ทงั้หมดเกิดขนึ้จากพลังงานยกตัวที่ลดลง(แก๊ซระเบิด จะสามารถออกสู่บรรยากาศได้อย่างรวดเร็วและง่ายดาย) • มีโอกาศสูงที่จะเกิด flyrock, surface overbreak, noise and airblast ระยะอัดรูเจาะที่น้อยและเหมาะสมเพื่อ • รูเจาะที่มีขนาดเล็ก • หินมีลักษณะแข็งและเป็นเนื้อเดียวกัน • วัสดุอัดรูระเบิดมีความต้านทานในการพุ่งออกสูง • วัตถุระเบิดมีพลังงานตา่ • หน้าผามีความสูงไม่มากนัก
  • 25. STEMMING LENGTH ระยะบรรจุหินอัดรูระเบิด การแก้ปัญหาระยะหินอัดรูระเบิดมากเกินไปในหินแข็ง Pocket Charge-techniques สา หรับหินที่มีความแข็งมากแล ป้ องกัน flyrock, overbreak or excessive noise and airblast Standard Air - Deck techniques ใช้สา หรับระยะ Burden น้อยและพื้น ด้านบนมความแข็งแรงน้อย
  • 26. STEMMING LENGTH ระยะบรรจุหินอัดรูระเบิด การแก้ปัญหาระยะหินอัดรูระเบิดมากเกินไปในหินแข็ง Water - deck techniques เพื่อลดต้นทุนค่าใช้จ่ายเหมืองส่วนใหญ่พยายามจะใช้ ANFO ซึ่งเป็นวัตถุระเบิดที่ค่อนขา้ง ถูกและให้พลังงานสูง ซึ่งทา โดยการใส่ Gas Bag ลงไปคัน่ช่วงที่มีนา้ในรูแล้วบรรจุวัตถุ ระเบิด ANFO ลงไป
  • 27. STEMMING LENGTH ระยะบรรจุหินอัดรูระเบิด การแก้ปัญหาระยะหินอัดรูระเบิดมากเกินไปในหินแข็ง Stab Holes techniques เป็นการเจาะรูระหว่างระยะ Burden และ Spacing เพื่อป้องกันหินก้อนใหญ่หรือ Fly Rock จากการลดระยะ Stemming
  • 28. PRIMER PLACEMENT การบรรจุวัตถุระเบิดชักนา จากการทดสอบโดยใช้รูเจาะขนาดเล็ก(‹100 mm.)ได้แสดงค่าความเคลียดสงูสดุใน หินเพิ่มขึ้น 37% เมื่อวัตถรุะเบิดชักนาถกูย้ายขึ้นมาไว้ตรงที่ระดับเดียวกับพื้น
  • 29. STEMMING หินอัดรูระเบิด • โดยปกติ Stemming ที่สะดวกที่สุดคือ เศษเจาะปากรู แต่ไม่มีความเหมาะสมซ่งหิน Stemming ที่เหมาะสมนนั้ต้องเป็นวัสดุที่หยาบ มีความต้านทานการพุ่งได้ดีเพื่อ ความคุม Fly Rock,Air Blast และอื่นๆ ซึ่งโดยปกติขนาดของหิน Stemming ที่ใช้ควร มีขนาดไม่เกิน 10% ของขนาดรูเจาะ
  • 30. BLAST EXAMPLE IN QUARRY ตัวอย่างการระเบิดหินในเหมืองหิน