SlideShare a Scribd company logo
สรุปผลการตรวจสอบ
 คุณภาพข้อมูลการฝาก
ครรภ์ และการรับบริการ
     วางแผนครอบครัว
     จัง หวัด นครศรีธ รรมราช
ผลการตรวจสอบคุณภาพ

   ผลการตรวจสอบคุณภาพข้อมูลของจังหวัด
นครศรีธรรมราชประกอบด้วยโรงพยาบาลชุมชน
และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำาบล โดย
โปรแกรมทีใช้สำาหรับการบันทึกข้อมูลของโรง
         ่
พยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำาบลได้แก่ JHCIS และ
HOSxP โรงพยาบาลชุมชนใช้โปรแกรม HOSxP
ในการบันทึกข้อมูล
ปัญหาที่พบจากการจัดเก็บข้อมูล
 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำาบลบางแห่งให้
 บริการฝากครรภ์ แต่จะส่งผูป่วยไปตรวจเลือดที่
                          ้
 โรงพยาบาล และนำาผลการตรวจเลือดมาบันทึก
 โดยโรงพยาบาลจะไม่เก็บข้อมูลอื่น ๆเนื่องจากเป็น
 ประชากรนอกเขต จะบันทึกเฉพาะบริการการ
 ตรวจเลือดเท่านั้น
 บางสถานบริการบันทึกข้อมูลในทะเบียนผู้รับ
 บริการอนามัยมารดาซึ่งไม่ถูกบันทึกข้อมูลลงใน
 ฐาน ข้อมูลจึงไม่มีความครอบคลุมในการให้
 บริการ
ปัญหาที่พบจากการจัดเก็บข้อมูล
 บางสถานบริการอายุครรภ์ไม่สอดคล้องกับช่วง
 การดูแลการฝากครรภ์ (บันทึกข้อมูลอายุครรภ์กับ
 ช่วงอายุครรภ์ไม่ตรงกัน) โดยจะพบว่าเป็นปัญหา
 จากโปรแกรมของ HOS_xp
 บางสถานบริการทำาการบันทึกเฉพาะข้อมูลของ
 บุคคลในเขตเท่านั้น ไม่บนทึกข้อมูลของบุคคล
                        ั
 นอกเขต ทำาให้ขาดความครอบคลุมของการให้
 บริการในระดับของจังหวัด
ปัญหาที่พบจากการจัดเก็บข้อมูล
 บางสถานบริการใช้โปรแกรม     JHCIS V. 18 – 20 สิงหาคม
  2555 ซึ่งจะมีปัญหาเนื่องจากแฟ้มข้อมูล service มีข้อมูล
  แต่เมือตรวจสอบความเชื่อมโยงระหว่าง service และ
        ่
  diag พบว่าไม่มข้อมูล diag เลย คาดว่าน่าจะเป็นเพราะ
                 ี
  การปรับเปลี่ยนเวอร์ชั่นของโปรแกรมทีใช้ (เพื่อต้องการ
                                       ่
  ปรับปรุงรหัส ICD-10 V.5)
 บางสถานบริการไม่ได้เก็บข้อมูลความครอบคลุมของการ
  ได้รับบริการฝากครรภ์ เนืองจากหญิงตั้งครรภ์ไม่ได้มารับ
                              ่
  การตรวจครรภ์ทโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำาบลแต่ไป
                     ี่
  รับบริการที่อื่น เช่น คลินก โรงพยาบาลเอกชน โรง
                            ิ
  พยาบาลชุมชน/โรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลทัวไป    ่
  ทำาให้ข้อมูลที่ได้ขาดความครบถ้วนของคุณภาพการให้
ปัญหาที่พบจากการจัดเก็บข้อมูล
 บางสถานบริการส่วนใหญ่จะให้รหัสวินิจฉัยการ
 วางแผนครอบครัว และการฝากครรภ์ ไม่ถูกต้อง
 ตามคู่มือ ICD-10-TM โดยมีความเข้าใจคลาด
 เคลื่อนเกี่ยวกับรหัสที่ใช้ในการบันทึกข้อมูล
 โปรแกรมJHCIS มีการปรับ version บ่อยมาก
 สถานบริการปรับไม่ทัน ทำาให้มีความแตกต่างกัน
 ในแต่ละสถานบริการ และข้อมูลอาจผิดพลาดได้
 ในแฟ้ม FP ตามคำานิยามของแฟ้มผู้ชายสามารถ
 บันทึกข้อมูลได้ในกรณีที่รับบริการถุงยางอนามัย
 และทำาหมันชายได้
ข้อ เสนอแนะ
 กรณีบันทึกข้อมูลของการให้บริการสร้างเสริมสุข
 ภาพ ควบคุมป้องกันโรค ไม่บนทึกรหัสการวินิจฉัย
                          ั
 โรคได้หรือไม่
  เนื่องจากสามารถหารายละเอียดจากรายแฟ้มที่
 เกี่ยวข้องได้เลยโดยไม่ต้องนับจากการวินจฉัยโรค
                                       ิ
  ทางสำานักนโยบายและยุทธศาสตร์ขอรับข้อเสนอ
 แนะดังกล่าวไปประสานกับผูออกแบบระบบและ
                            ้
 ฐานข้อมูล พร้อมทั้งประสานกับเจ้าหน้าที่เทคนิค
 ว่าจะมีผลกระทบอะไรบ้างหรือไม่
 การที่จะให้โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำาบลมารับ
ข้อ เสนอแนะ
 ข้อมูลเกิด
          ตาย ที่ส่งมาให้จังหวัด ทำาอย่างไรให้
  สามารถเข้าดูในฐานได้เลย
  สำานักนโยบายและยุทธศาสตร์ขอประสานกับ
  หน่วยงานที่รับผิดชอบเกี่ยวกับเรื่องการเกิดและ
  การตายว่าจะทำาอย่างไรได้บ้างเพื่อจะได้ให้พื้นที่
  สามารถเข้าถึงฐานข้อมูลดังกล่าว และสามารถนำา
  มาใช้ปรับปรุงฐานข้อมูลในโปรแกรมพื้นฐานได้
  สะดวกขึ้นได้หรือไม่ โดยต้องพิจารณาจากกฏ
  หมายประกอบด้วย

More Related Content

Similar to Anc นครศรีธรรมราช

antidote y57
antidote y57antidote y57
แนวทางดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
แนวทางดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง แนวทางดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
แนวทางดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
Tuang Thidarat Apinya
 
57 03หลักการขึ้นทะเบียน ขจีรัตน์
57 03หลักการขึ้นทะเบียน ขจีรัตน์57 03หลักการขึ้นทะเบียน ขจีรัตน์
57 03หลักการขึ้นทะเบียน ขจีรัตน์หมอปอ ขจีรัตน์
 
EHRs & PHRs
EHRs & PHRsEHRs & PHRs
EHRs and PHRs (October 16, 2016)
EHRs and PHRs (October 16, 2016)EHRs and PHRs (October 16, 2016)
EHRs and PHRs (October 16, 2016)
Nawanan Theera-Ampornpunt
 
บริการปฐมภูมิ
บริการปฐมภูมิบริการปฐมภูมิ
บริการปฐมภูมิSunisa Sudsawang
 
ปลัดสธ. วางระบบDhs
ปลัดสธ. วางระบบDhsปลัดสธ. วางระบบDhs
ปลัดสธ. วางระบบDhs
Cddthai Thailand
 
Fee schdule by_seamless_for_dmis
Fee schdule by_seamless_for_dmisFee schdule by_seamless_for_dmis
Fee schdule by_seamless_for_dmis
Sakarin Habusaya
 
Unit5.ppt (read only)
Unit5.ppt (read only)Unit5.ppt (read only)
Unit5.ppt (read only)sirinyabh
 
การบันทึกข้อมูลการให้บริการงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค Hdc epi 2019
การบันทึกข้อมูลการให้บริการงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค Hdc epi 2019การบันทึกข้อมูลการให้บริการงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค Hdc epi 2019
การบันทึกข้อมูลการให้บริการงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค Hdc epi 2019
Sakarin Habusaya
 
Hand out service plan 4 มีนาคม 2559
Hand out   service plan 4 มีนาคม 2559 Hand out   service plan 4 มีนาคม 2559
Hand out service plan 4 มีนาคม 2559
Kamol Khositrangsikun
 
Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
Jaratpan Onghununtakul
 
NHSO annual report_2557
NHSO annual report_2557NHSO annual report_2557
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ รายงานประจำปี 2557
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ  รายงานประจำปี 2557สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ  รายงานประจำปี 2557
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ รายงานประจำปี 2557
Utai Sukviwatsirikul
 
4.ภาระงาน
4.ภาระงาน4.ภาระงาน
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาลระบบสารสนเทศโรงพยาบาล
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาลNawanan Theera-Ampornpunt
 

Similar to Anc นครศรีธรรมราช (20)

antidote y57
antidote y57antidote y57
antidote y57
 
แนวทางดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
แนวทางดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง แนวทางดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
แนวทางดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
 
57 03หลักการขึ้นทะเบียน ขจีรัตน์
57 03หลักการขึ้นทะเบียน ขจีรัตน์57 03หลักการขึ้นทะเบียน ขจีรัตน์
57 03หลักการขึ้นทะเบียน ขจีรัตน์
 
Thai2009 2
Thai2009 2Thai2009 2
Thai2009 2
 
EHRs & PHRs
EHRs & PHRsEHRs & PHRs
EHRs & PHRs
 
EHRs and PHRs (October 16, 2016)
EHRs and PHRs (October 16, 2016)EHRs and PHRs (October 16, 2016)
EHRs and PHRs (October 16, 2016)
 
001007082009
001007082009001007082009
001007082009
 
บริการปฐมภูมิ
บริการปฐมภูมิบริการปฐมภูมิ
บริการปฐมภูมิ
 
ปลัดสธ. วางระบบDhs
ปลัดสธ. วางระบบDhsปลัดสธ. วางระบบDhs
ปลัดสธ. วางระบบDhs
 
Unit5
Unit5Unit5
Unit5
 
Fee schdule by_seamless_for_dmis
Fee schdule by_seamless_for_dmisFee schdule by_seamless_for_dmis
Fee schdule by_seamless_for_dmis
 
Unit5.ppt (read only)
Unit5.ppt (read only)Unit5.ppt (read only)
Unit5.ppt (read only)
 
การบันทึกข้อมูลการให้บริการงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค Hdc epi 2019
การบันทึกข้อมูลการให้บริการงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค Hdc epi 2019การบันทึกข้อมูลการให้บริการงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค Hdc epi 2019
การบันทึกข้อมูลการให้บริการงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค Hdc epi 2019
 
Hand out service plan 4 มีนาคม 2559
Hand out   service plan 4 มีนาคม 2559 Hand out   service plan 4 มีนาคม 2559
Hand out service plan 4 มีนาคม 2559
 
Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
 
IT and Data Management in ER
IT and Data Management in ERIT and Data Management in ER
IT and Data Management in ER
 
NHSO annual report_2557
NHSO annual report_2557NHSO annual report_2557
NHSO annual report_2557
 
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ รายงานประจำปี 2557
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ  รายงานประจำปี 2557สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ  รายงานประจำปี 2557
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ รายงานประจำปี 2557
 
4.ภาระงาน
4.ภาระงาน4.ภาระงาน
4.ภาระงาน
 
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาลระบบสารสนเทศโรงพยาบาล
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล
 

Anc นครศรีธรรมราช

  • 2. ผลการตรวจสอบคุณภาพ ผลการตรวจสอบคุณภาพข้อมูลของจังหวัด นครศรีธรรมราชประกอบด้วยโรงพยาบาลชุมชน และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำาบล โดย โปรแกรมทีใช้สำาหรับการบันทึกข้อมูลของโรง ่ พยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำาบลได้แก่ JHCIS และ HOSxP โรงพยาบาลชุมชนใช้โปรแกรม HOSxP ในการบันทึกข้อมูล
  • 3. ปัญหาที่พบจากการจัดเก็บข้อมูล  โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำาบลบางแห่งให้ บริการฝากครรภ์ แต่จะส่งผูป่วยไปตรวจเลือดที่ ้ โรงพยาบาล และนำาผลการตรวจเลือดมาบันทึก โดยโรงพยาบาลจะไม่เก็บข้อมูลอื่น ๆเนื่องจากเป็น ประชากรนอกเขต จะบันทึกเฉพาะบริการการ ตรวจเลือดเท่านั้น  บางสถานบริการบันทึกข้อมูลในทะเบียนผู้รับ บริการอนามัยมารดาซึ่งไม่ถูกบันทึกข้อมูลลงใน ฐาน ข้อมูลจึงไม่มีความครอบคลุมในการให้ บริการ
  • 4. ปัญหาที่พบจากการจัดเก็บข้อมูล  บางสถานบริการอายุครรภ์ไม่สอดคล้องกับช่วง การดูแลการฝากครรภ์ (บันทึกข้อมูลอายุครรภ์กับ ช่วงอายุครรภ์ไม่ตรงกัน) โดยจะพบว่าเป็นปัญหา จากโปรแกรมของ HOS_xp  บางสถานบริการทำาการบันทึกเฉพาะข้อมูลของ บุคคลในเขตเท่านั้น ไม่บนทึกข้อมูลของบุคคล ั นอกเขต ทำาให้ขาดความครอบคลุมของการให้ บริการในระดับของจังหวัด
  • 5. ปัญหาที่พบจากการจัดเก็บข้อมูล  บางสถานบริการใช้โปรแกรม JHCIS V. 18 – 20 สิงหาคม 2555 ซึ่งจะมีปัญหาเนื่องจากแฟ้มข้อมูล service มีข้อมูล แต่เมือตรวจสอบความเชื่อมโยงระหว่าง service และ ่ diag พบว่าไม่มข้อมูล diag เลย คาดว่าน่าจะเป็นเพราะ ี การปรับเปลี่ยนเวอร์ชั่นของโปรแกรมทีใช้ (เพื่อต้องการ ่ ปรับปรุงรหัส ICD-10 V.5)  บางสถานบริการไม่ได้เก็บข้อมูลความครอบคลุมของการ ได้รับบริการฝากครรภ์ เนืองจากหญิงตั้งครรภ์ไม่ได้มารับ ่ การตรวจครรภ์ทโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำาบลแต่ไป ี่ รับบริการที่อื่น เช่น คลินก โรงพยาบาลเอกชน โรง ิ พยาบาลชุมชน/โรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลทัวไป ่ ทำาให้ข้อมูลที่ได้ขาดความครบถ้วนของคุณภาพการให้
  • 6. ปัญหาที่พบจากการจัดเก็บข้อมูล  บางสถานบริการส่วนใหญ่จะให้รหัสวินิจฉัยการ วางแผนครอบครัว และการฝากครรภ์ ไม่ถูกต้อง ตามคู่มือ ICD-10-TM โดยมีความเข้าใจคลาด เคลื่อนเกี่ยวกับรหัสที่ใช้ในการบันทึกข้อมูล  โปรแกรมJHCIS มีการปรับ version บ่อยมาก สถานบริการปรับไม่ทัน ทำาให้มีความแตกต่างกัน ในแต่ละสถานบริการ และข้อมูลอาจผิดพลาดได้  ในแฟ้ม FP ตามคำานิยามของแฟ้มผู้ชายสามารถ บันทึกข้อมูลได้ในกรณีที่รับบริการถุงยางอนามัย และทำาหมันชายได้
  • 7. ข้อ เสนอแนะ  กรณีบันทึกข้อมูลของการให้บริการสร้างเสริมสุข ภาพ ควบคุมป้องกันโรค ไม่บนทึกรหัสการวินิจฉัย ั โรคได้หรือไม่ เนื่องจากสามารถหารายละเอียดจากรายแฟ้มที่ เกี่ยวข้องได้เลยโดยไม่ต้องนับจากการวินจฉัยโรค ิ ทางสำานักนโยบายและยุทธศาสตร์ขอรับข้อเสนอ แนะดังกล่าวไปประสานกับผูออกแบบระบบและ ้ ฐานข้อมูล พร้อมทั้งประสานกับเจ้าหน้าที่เทคนิค ว่าจะมีผลกระทบอะไรบ้างหรือไม่  การที่จะให้โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำาบลมารับ
  • 8. ข้อ เสนอแนะ  ข้อมูลเกิด ตาย ที่ส่งมาให้จังหวัด ทำาอย่างไรให้ สามารถเข้าดูในฐานได้เลย สำานักนโยบายและยุทธศาสตร์ขอประสานกับ หน่วยงานที่รับผิดชอบเกี่ยวกับเรื่องการเกิดและ การตายว่าจะทำาอย่างไรได้บ้างเพื่อจะได้ให้พื้นที่ สามารถเข้าถึงฐานข้อมูลดังกล่าว และสามารถนำา มาใช้ปรับปรุงฐานข้อมูลในโปรแกรมพื้นฐานได้ สะดวกขึ้นได้หรือไม่ โดยต้องพิจารณาจากกฏ หมายประกอบด้วย