SlideShare a Scribd company logo
เศรษฐกิจพอเพียง ศาสตร์พระราชา
สู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน
จากฟากฟ้ า ลงภูผา ผ่านทุ่งนา สู่มหานที
พอเพียง มั่งคั่ง ยั่งยืน
 ประวัติส่วนตัว
สาคร สร้อยสังวาลย์
อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
156 หมู่ 5 ตาบลพลายชุมพล อาเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก 65000
 ประวัติการศึกษา
- ประถม ร.ร. เทศบาล1 โพศรี
- มัธยม ร.ร. อุดรพิทยานุกูล
- วท.บ.(เกษตรศาสตร์) สาขาวิชาเกษตรทั่วไป มหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ.2523
- วท.ม.(เกษตรศาสตร์) สาขาวิชาปฐพีวิทยา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ.2531
- Ph.D.(Soil Science), University of Newcastle Upon Tyne,
ประเทศอังกฤษ พ.ศ.2548
 ประสบการณ์การทางาน
- หัวหน้าโครงการฝึกอบรมวิชาชีพเกษตรกรรม วิทยาลัยเกษตรกรรมอุบลราชธานี
- หัวหน้าภาควิชาเกษตรศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ สถาบันราชภัฏสกลนคร
- คณบดีคณะเทคโนโลยีการเกษตรและอาหาร มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
- รองอธิการบดีฝ่ายบริหาร มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
ตาแหน่งหน้าที่สาคัญอื่นๆ
- ประธานเครือข่ายกสิกรรมธรรมชาติภาคเหนือ มูลนิธิกสิกรรมธรรมชาติ
- กรรมการบริหารสถาบันเศรษฐกิจพอเพียง มูลนิธิเศรษฐกิจพอเพียง
- ประธานที่ปรึกษาคณะกรรมการบริหารธนาคารต้นไม้
- ที่ปรึกษาคณะอนุกรรมาธิการวิทยาศาสตร์เพื่อสาธารณะ วุฒิสภา
- ที่ปรึกษากองอานวยการรักษาความมั่นคงภายใน (กอรมน.) ภาค 3
- คณะกรรมการขับเคลื่อนสืบสานศาสตร์พระราชา สภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ
- ประธานคณะทางานรัฐมนตรีช่วยกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ราชภัฏ “คนของพระราชา”
พรบ.มหาวิทยาลัยราชภัฏ 2547 มาตรา 8 ................................
(8) ศึกษา วิจัย ส่งเสริมและสืบสานโครงการอันเนื่องมาจากแนวพระราชดาริ
ในการ ปฏิบัติภารกิจของมหาวิทยาลัย เพื่อการพัฒนาท้องถิ่น
ทุนนิยม
แอดัม สมิท
อังกฤษ
“กำไรสูงสุด”
สังคมนิยม
คำร์ล มำร์กซ์
เยอรมนี
“กระจำยรำยได้เท่ำเทียม”
เศรษฐกิจพอเพียง
พระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยู่หัว ร.๙
ประเทศไทย
“ยิ่งให้ไป ยิ่งได้มำ”
(แบ่งปัน)
คาว่า “พอเพียง” ความพอเพียง ต้องมองอย่างน้อย 5 ด้าน
1.ปรัชญาของความพอเพียงให้ได้ว่าต่างจากปรัชญาที่โลกกาลังเป็นอย่างไร
“ ปรัชญาแห่งความพอเพียง ต้องสร้างให้มีความพอกิน พออยู่ พอใช้ พอเหลือก็ต้องรู้จักพอ และ
รู้จักแบ่งปัน คือ หัวใจของความพอเพียง”
2.ทฤษฎี คือ หลักการ ศาสตร์พระราชามี 40 กว่าทฤษฎี
3. วิธีปฏิบัติ ทาเป็นขั้นเป็นตอน “เดินทีละก้าว กินข้าวทีละคา ทาทีละอย่าง”
4.มีเทคนิค มีนวัตกรรม มีเคล็ดวิชาของความพอเพียง
5.วิธีบริหารภายใต้ความขาดแคลน หรือ แบบคนจน
 “ทฤษฎีที่ท่อง 3 ห่วง 2 เงื่อนไข อันนั้นเป็นปรัชญาที่เด็กท่องกัน แต่จะนาปรัชญามาสู่การปฏิบัติให้เกิดผล
ให้ชีวิตพอได้จริง ต้องทาให้ครบ 5 ข้อนี้ เปรียบเหมือนนิ้วมือ ถ้าครบองค์ประกอบทั้ง 5 นิ้ว มือจะมีพลัง
ความพอเพียงก็จะมีพลัง
 ทฤษฎีบันได ๙ ขั้นสู่ความพอเพีย
 ๔ ขั้นแรกคือขั้นพื้นฐาน ๔ พอ พออยู่ พอกิน พอใช้ พอมีอากาศหายใจร่มเย็นสบาย สภาพแวดล้อมน่า
อยู่ เป็นพื้นฐานปัจจัยในการดารงชีวิตอย่างมีคุณภาพ
 พอที่ ๕ คือการดารงอยู่ของธรรมชาติฝ่ายสูงของมนุษย์ด้วยการทา “บุญ” ความเจริญก้าวหน้าของ
พวกเราจึงไม่ได้วัดด้วย GDP ที่เป็นตัวเงิน แต่เป็น บุญ ที่ปฏิบัติต่อผู้มีพระคุณ เช่น พ่อแม่ ครูบา
อาจารย์ พระสงฆ์องคเจ้า รวมถึงพระเจ้าแผ่นดิน บรรพบุรุษทุกผู้ทุกนามที่ได้ร่วมสร้างแผ่นดินเกิดนี้มา
 พอในขั้นที่ ๖ คือทาน ความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ต่อคนเจ็บ คนป่วย คนพิการ เด็ก รวมทั้งธรรมชาติและ
สภาพแวดล้อม
 ในฐานะที่ประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรม มีศักยภาพในการผลิตอาหารอย่างพอเพียง หล่อเลี้ยง
คนของตนเอง เมื่อมีพอแล้ว การแบ่งปันไปยังประเทศอื่นที่ยังขาดแคลนด้วยการให้มิใช่การขาย จะยัง
ประโยชน์ให้เกิดมิตรประเทศมากมาย เหมือนเพื่อนบ้านที่เอื้อเฟื้อต่อกัน อยู่กันด้วย มิตรจิตมิตรใจ สิ่งหนึ่ง
ที่พระเจ้าอยู่หัวย้าตลอดเวลา คือ “ทานมีฤทธิ์” การให้จะสะท้อนสิ่งดีๆกลับมาให้กับ “ผู้ให้” เสมอ และ
การให้ยังก่อให้เกิด “วงจรดี” ที่ผู้ได้รับจะส่งต่อการให้ไปยังผู้อื่นอย่างไม่มีที่สิ้นสุด ซึ่งจะยังให้เกิดความ
สงบสุขร่มเย็น แทนการแย่งชิง
 พอในขั้นที่ ๗ คือ รู้จักเก็บ แปรรูป สะสมไว้ใช้ในยามจาเป็น เช่น การแปรรูปอาหาร การเก็บรักษา
สมุนไพรแห้งมาเป็นยา การรู้จักคิดค้นครื่องมือ อุปกรณ์ สร้างสรรค์เทคโนโลยีต่างๆ นี่คือ ความพอเพียง
ขั้นที่ ๗
 ในขั้นที่ ๘ “เมืองใดไม่มีพาณิชย์เลิศ เมืองนั้นย่อมเกิดขัดสน” เมื่อมีของเหลือกิน เหลือใช้ หลังจากที่
ทาบุญ แจกจ่ายเป็นทาน เก็บสะสมไว้ใช้ยามจาเป็นแล้วจึง “ขาย” การค้า การพาณิชย์ การบัญชี เป็นส่วน
สาคัญของเศรษฐกิจพอเพียง เพียงแต่ไม่ใช่ขั้นแรก ประเทศจาเป็นต้องมีการค้า เราสนับสนุนให้มีการค้า
แต่ถ้าพื้นฐาน ๗ ขั้นยังไม่แข็งแรง การมุ่งแต่การค้าก็เป็นความประมาท ถ้าเรามีอยู่ มีกิน มีใช้ เป็นคนมี
น้าใจต่อญาติพี่น้อง ทาบุญทาทาน ไม่เห็นแก่ตัว แม้ไปทาการค้าแล้วเจ๊งกลับมา ญาติพี่น้อง เพื่อนฝูงก็
โอบอุ้ม ยังมีของกินของใช้เหลือเฟือ ทาการค้าขาดทุนมาก็ไม่เดือดร้อนเพราะฐานมั่นคง มีภูมิคุ้มกัน นี่คือ
ความหมายของความเจริญจนขั้นทาการค้าได้
 ขั้นที่ ๙ สร้างและพัฒนาเครือข่าย คือ กองกาลังเกษตรโยธิน คือ หมู่คนที่กาลังดาเนินชีวิตไปตาม
บันได สู่ความพอเพียง มนุษย์เป็นสัตว์สังคม สิ่งที่เชื่อว่าถูกต้อง เมือปฏิบัติมาก ๆ เป็นหมู่เป็นกลุ่มจะ
เป็นพลัง ผลักดันให้คนอื่นเอาอย่าง ปัจจุบันในเครือข่ายกสิกรรมธรรมชาติ เรามีสังคมในรูปแบบที่กล่าว
มาตามระดับขั้นต่างๆ กระจายอยู่ทั่วประเทศในรูปแบบศูนย์เรียนรู้กว่า ๕๐ ศูนย์ เป็นชุมชนในระดับ ๑๐
ครอบครัว แต่เราอยากเห็นการรวมกันสัก ๑,๐๐๐ ครอบครัว เป็นตาบลที่ดาเนินชีวิตตามปรัชญาเศรษ
กิจพอเพียงตามแบบเครือข่ายพวกเรา ความพยายามนี้กาลังก่อรูปเป็นร่างที่จังหวัดชุมพร และ
นครนายก เราต้องการสร้างสังคม สังคมดีไม่มีขายอยากได้ต้องช่วยกันสร้าง และเป็นเครื่องยืนยันว่า
“ที่ว่าเศรษกิจพอเพียงต้องไปอยู่หลังเขา ไปอยู่ที่ท้องไร่ท้องนานั้นไม่จริง ปรัชญานี้ท่านไม่ได้ให้ไว้เพื่อ
การนั้น แท้ที่จริงท่านพระราชทานไว้สาหรับการสร้างสังคมใหม่ด้วยซ้าไป”
กลไกการขับเคลื่อนสืบสานศาสตร์พระราชา 3 ระดับ 5 กลไก 7 ภาคส่วน
“3 ระดับ”
1.ระดับชาติ ต้องมีทีมรับผิดชอบเป็นเรื่องเป็นราว ทาต่อเนื่อง เพราะการทาต่อเนื่องเป็นเรื่อง
สาคัญมาก เปลี่ยนรัฐบาล แต่แผนนี้ต้องไม่เปลี่ยน
2.ระดับจังหวัด โดยต้องมีทั้งภาครัฐและภาคประชาชนเข้ามาร่วมกันทา อย่าเอาเฉพาะภาครัฐ
3.ระดับพื้นที่จริง คือ มี 2-3 ครอบครัว หรือเป็นชุมชนก็ได้ โดยเป็นตัวอย่างของความสาเร็จ
หรือมีตัวอย่างความไม่สาเร็จด้วยก็ได้ เพราะมีประโยชน์ทั้งคู่”

 5 กลไก”“ให้ทั้ง 3 ระดับ ทา 5 กลไก คือ
1.มีกลไกการประสานงาน อย่างต่างคนต่างทา ถ้าต่างคนต่างทา ไม่นานก็หมด เพราะรุ่นนี้ตายก็
จบ
2.แต่ละหน่วยงาน ต้องมีแผนยุทศาสตร์ของตัวเอง 10 หน่วย มี 10 แผนยุทศาสตร์ จากนั้นจึง
ค่อยบูรณาการแผน แล้วค่อยลงมือปฏิบัติ ต้องมีกลไกในการบูรณาการแผน
3.ต้องมีกลไกการจัดการความรู้ ทาแล้วเรื่องนี้สาเร็จหรือไม่สาเร็จ ก็ต้องบันทึกเรื่องราวลงให้
สังคมรู้
4.ให้มีกลไกสร้างนวัตกรรมขึ้นมาแล้วสืบสานไว้
5.เอาประสบการณ์ทั้งหมดที่ทาสื่อสารสู่สังคม สังคมจะได้ไปร่วมมือกัน ทุกภาคส่วนจะได้ช่วยกัน
 “7 ภาคส่วน”
1.ภาคประชาชน 2.ศาสนา 3.วิชาการ 3. สื่อมวลชน 5.ประชาสังคม 6.ภาครัฐ 7.เอกชน
“ทั้ง 7 ส่วนรวมกัน หรือแม้ไม่ครบ มีแค่ 5 ส่วน ก็ยังดีกว่าไม่ทาอะไร คนมาสามัคคีกัน เวลาเอามื้อสามัคคี
ทุกคนมาช่วยกันหมด มันสร้างได้ พลังสามัคคีอย่างนี้ ทั้ง 7 กลไก หรือไม่ครบก็ไม่เป็นไร ก็จะทาให้เรื่องนี้
สืบทอดต่อเนื่อง
ดร.สาคร สร้อยสังวาลย์
อาจารย์รัฏฐชัย สายรวมญาติ
คณะเทคโนโลยีการเกษตรและอาหาร
มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม จ.พิษณุโลก
แนวทางการจัดการน้าอย่างยั่งยืน
ลุ่มน้าแม่น้าวังทอง
แนวทางในการประยุกต์ใช้
หลักการ “ประชาธิปไตย(อานาจเป็นของปวงชน)”
กับการจัดการน้าอย่างยั่งยืน ดังนี้
Subsoil drain
Rain storage
Farm pond
The monkey cheeks
Check dam
Dam
Aquaculture
ลุ่มน้าวังทอง
พื้นที่ 1,900 ตร.กม.
(1,200,000 ไร่)
อ.วังทอง จ.พิษณุโลก
อ.เขาค้อ จ.เพชรบูรณ์
บัญชีน้า
ΔS = ΣI - ΣO
โดยที่ ΔS = การเปลี่ยนแปลงปริมาณ
ΣI = ผลรวมปริมาณน้าเข้า
ΣO = ผลรวมปริมาณน้าออก
ปริมาณน้าเข้า (เฉพาะกรณีที่มีน้าฝนเพียงอย่างเดียว)
ปริมาณน้าฝนเฉลี่ย 1,300 มม./ปี
คิดเป็นปริมาณน้าเข้า 2,470 ล้าน ลบ.ม./ปี
บัญชีน้า (กรณีทั่วไป)
ปริมาณน้าออก
การระเหย และการซึมลงดิน (60%ของน้าเข้า) 1,500 ล้าน ลบ.ม./ปี
การทานา (10% ของพื้นที่) 360 ล้าน ลบ.ม./ปี
คิดเป็นปริมาณน้าออก 1,860 ล้าน ลบ.ม./ปี
ปริมาณน้าที่เปลี่ยนแปลง
ปริมาณน้าเข้า – ปริมาณน้าออก = 2,470 – 1,860 ล้าน ลบ.ม./ปี
ปริมาณน้าที่เปลี่ยนแปลง = 610 ล้าน ลบ.ม./ปี
บัญชีน้า (กรณีทั่วไป)
ปริมาณน้าไหลลงสู่ลุ่มน้าตอนล่าง
610 ล้าน ลบ.ม./ปี
เมื่อมีการจัดการน้าอย่างยั่งยืน
1. SUBSOIL DRAIN
เพิ่มระดับน้าใต้ดิน ลดปริมาณการระเหย
ป่า 3 อย่างประโยชน์ 4 อย่าง
หญ้าแฝก
2. RAIN STORAGE
กักเก็บน้าฝน หรือน้าสะอาด สาหรับอุปโภคบริโภคในครัวเรือน
ปริมาณ 120 ลิตร/คน/วัน (เทศบาลตาบล)
3. FARM POND
หลักเกษตรทฤษฎีใหม่
ขุดสระน้า 30% ของพื้นที่เกษตรกรรม
4. THE MONKEY CHEEKS
พื้นที่แก้มลิง
บึงราชนกพื้นที่ 7.5 ล้าน ตร.ม. (4,600 ไร่)
5. CHECK DAM
ชะลอน้า สร้างความชุ่มชื้น
เพิ่มการซึมลงสู่ชั้นใต้ดิน
6. DAM
เมื่อต้องการปริมาณกักเก็บที่สูงขึ้น
บริหารจัดการน้า สาหรับพื้นที่ลุ่มน้าตอนล่าง
7. AQUACULTURE
สร้างงาน สร้างรายได้ ในพื้นที่แก้มลิง หรือพื้นที่น้าขัง
ดูแล และรักษาคุณภาพแหล่งน้า
ปริมาณน้าเข้า (เฉพาะกรณีที่มีน้าฝนเพียงอย่างเดียว)
ปริมาณน้าฝนเฉลี่ย 1,300 มม./ปี
คิดเป็นปริมาณน้าเข้า 2,470 ล้าน ลบ.ม./ปี
บัญชีน้า (กรณีจัดการน้าอย่างยั่งยืน)
บัญชีน้า (กรณีจัดการน้าอย่างยั่งยืน)
ปริมาณน้าออก
อุปโภคบริโภค (120,000 คน) 5 ล้าน ลบ.ม./ปี
การระเหย และการซึมลงดิน (60%ของน้าเข้า) 1,500 ล้าน ลบ.ม./ปี
สระน้า (30% ของพื้นที่เกษตร) 570 ล้าน ลบ.ม./ปี
การทานา (10% ของพื้นที่) 360 ล้าน ลบ.ม./ปี
แก้มลิง 7 ล้าน ลบ.ม./ปี
คิดเป็นปริมาณน้าออก 2,442 ล้าน ลบ.ม./ปี
ปริมาณน้าที่เปลี่ยนแปลง
ปริมาณน้าเข้า – ปริมาณน้าออก = 2,470 – 2,442 ล้าน ลบ.ม./ปี
ปริมาณน้าที่เปลี่ยนแปลง = 28 ล้าน ลบ.ม./ปี
บัญชีน้า (กรณีจัดการน้าอย่างยั่งยืน)
ปริมาณน้าไหลลงสู่ลุ่มน้าตอนล่าง
28 ล้าน ลบ.ม./ปี
ประโยชน์
 ทานา
ไหลลงสู่ลุ่มน้าตอนล่าง
 610 ล้าน ลบ.ม./ปี
 บริหารจัดการต่อ
 สร้างเขื่อน
ประโยชน์
 อุปโภคบริโภค
 ทาการเกษตร ประมง
 ทานา
 แหล่งน้าสารอง
 ป้ องกันอุทกภัย
ไหลลงสู่ลุ่มน้าตอนล่าง
 28 ล้าน ลบ.ม./ปี
กรณีทั่วไป กรณีจัดการน้าอย่างยั่งยืน
โมเดลพื้นที่ลุ่มน้าแม่น้าวังทอง
ตามแนวทางการจัดการน้าอย่างยั่งยืน
โคกหนอง นา โมเดล
ขอบคุณครับ
Q &A

More Related Content

Recently uploaded

4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (10)

4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 

Featured

Skeleton Culture Code
Skeleton Culture CodeSkeleton Culture Code
Skeleton Culture Code
Skeleton Technologies
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
Neil Kimberley
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
contently
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
Albert Qian
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Kurio // The Social Media Age(ncy)
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Search Engine Journal
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
SpeakerHub
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next
Tessa Mero
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Lily Ray
 
How to have difficult conversations
How to have difficult conversations How to have difficult conversations
How to have difficult conversations
Rajiv Jayarajah, MAppComm, ACC
 
Introduction to Data Science
Introduction to Data ScienceIntroduction to Data Science
Introduction to Data Science
Christy Abraham Joy
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best Practices
Vit Horky
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project management
MindGenius
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
RachelPearson36
 
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Applitools
 
12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work
GetSmarter
 
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike RoutesMore than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
Project for Public Spaces & National Center for Biking and Walking
 
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
DevGAMM Conference
 

Featured (20)

Skeleton Culture Code
Skeleton Culture CodeSkeleton Culture Code
Skeleton Culture Code
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
 
How to have difficult conversations
How to have difficult conversations How to have difficult conversations
How to have difficult conversations
 
Introduction to Data Science
Introduction to Data ScienceIntroduction to Data Science
Introduction to Data Science
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best Practices
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project management
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
 
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
 
12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work
 
ChatGPT webinar slides
ChatGPT webinar slidesChatGPT webinar slides
ChatGPT webinar slides
 
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike RoutesMore than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
 
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
 

A2

  • 1. เศรษฐกิจพอเพียง ศาสตร์พระราชา สู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน จากฟากฟ้ า ลงภูผา ผ่านทุ่งนา สู่มหานที พอเพียง มั่งคั่ง ยั่งยืน
  • 2.  ประวัติส่วนตัว สาคร สร้อยสังวาลย์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม 156 หมู่ 5 ตาบลพลายชุมพล อาเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก 65000  ประวัติการศึกษา - ประถม ร.ร. เทศบาล1 โพศรี - มัธยม ร.ร. อุดรพิทยานุกูล - วท.บ.(เกษตรศาสตร์) สาขาวิชาเกษตรทั่วไป มหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ.2523 - วท.ม.(เกษตรศาสตร์) สาขาวิชาปฐพีวิทยา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ.2531 - Ph.D.(Soil Science), University of Newcastle Upon Tyne, ประเทศอังกฤษ พ.ศ.2548
  • 3.  ประสบการณ์การทางาน - หัวหน้าโครงการฝึกอบรมวิชาชีพเกษตรกรรม วิทยาลัยเกษตรกรรมอุบลราชธานี - หัวหน้าภาควิชาเกษตรศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ สถาบันราชภัฏสกลนคร - คณบดีคณะเทคโนโลยีการเกษตรและอาหาร มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม - รองอธิการบดีฝ่ายบริหาร มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม ตาแหน่งหน้าที่สาคัญอื่นๆ - ประธานเครือข่ายกสิกรรมธรรมชาติภาคเหนือ มูลนิธิกสิกรรมธรรมชาติ - กรรมการบริหารสถาบันเศรษฐกิจพอเพียง มูลนิธิเศรษฐกิจพอเพียง - ประธานที่ปรึกษาคณะกรรมการบริหารธนาคารต้นไม้ - ที่ปรึกษาคณะอนุกรรมาธิการวิทยาศาสตร์เพื่อสาธารณะ วุฒิสภา - ที่ปรึกษากองอานวยการรักษาความมั่นคงภายใน (กอรมน.) ภาค 3 - คณะกรรมการขับเคลื่อนสืบสานศาสตร์พระราชา สภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ - ประธานคณะทางานรัฐมนตรีช่วยกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
  • 4. ราชภัฏ “คนของพระราชา” พรบ.มหาวิทยาลัยราชภัฏ 2547 มาตรา 8 ................................ (8) ศึกษา วิจัย ส่งเสริมและสืบสานโครงการอันเนื่องมาจากแนวพระราชดาริ ในการ ปฏิบัติภารกิจของมหาวิทยาลัย เพื่อการพัฒนาท้องถิ่น
  • 6. คาว่า “พอเพียง” ความพอเพียง ต้องมองอย่างน้อย 5 ด้าน 1.ปรัชญาของความพอเพียงให้ได้ว่าต่างจากปรัชญาที่โลกกาลังเป็นอย่างไร “ ปรัชญาแห่งความพอเพียง ต้องสร้างให้มีความพอกิน พออยู่ พอใช้ พอเหลือก็ต้องรู้จักพอ และ รู้จักแบ่งปัน คือ หัวใจของความพอเพียง” 2.ทฤษฎี คือ หลักการ ศาสตร์พระราชามี 40 กว่าทฤษฎี 3. วิธีปฏิบัติ ทาเป็นขั้นเป็นตอน “เดินทีละก้าว กินข้าวทีละคา ทาทีละอย่าง” 4.มีเทคนิค มีนวัตกรรม มีเคล็ดวิชาของความพอเพียง 5.วิธีบริหารภายใต้ความขาดแคลน หรือ แบบคนจน  “ทฤษฎีที่ท่อง 3 ห่วง 2 เงื่อนไข อันนั้นเป็นปรัชญาที่เด็กท่องกัน แต่จะนาปรัชญามาสู่การปฏิบัติให้เกิดผล ให้ชีวิตพอได้จริง ต้องทาให้ครบ 5 ข้อนี้ เปรียบเหมือนนิ้วมือ ถ้าครบองค์ประกอบทั้ง 5 นิ้ว มือจะมีพลัง ความพอเพียงก็จะมีพลัง
  • 7.
  • 8.
  • 9.  ทฤษฎีบันได ๙ ขั้นสู่ความพอเพีย  ๔ ขั้นแรกคือขั้นพื้นฐาน ๔ พอ พออยู่ พอกิน พอใช้ พอมีอากาศหายใจร่มเย็นสบาย สภาพแวดล้อมน่า อยู่ เป็นพื้นฐานปัจจัยในการดารงชีวิตอย่างมีคุณภาพ  พอที่ ๕ คือการดารงอยู่ของธรรมชาติฝ่ายสูงของมนุษย์ด้วยการทา “บุญ” ความเจริญก้าวหน้าของ พวกเราจึงไม่ได้วัดด้วย GDP ที่เป็นตัวเงิน แต่เป็น บุญ ที่ปฏิบัติต่อผู้มีพระคุณ เช่น พ่อแม่ ครูบา อาจารย์ พระสงฆ์องคเจ้า รวมถึงพระเจ้าแผ่นดิน บรรพบุรุษทุกผู้ทุกนามที่ได้ร่วมสร้างแผ่นดินเกิดนี้มา  พอในขั้นที่ ๖ คือทาน ความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ต่อคนเจ็บ คนป่วย คนพิการ เด็ก รวมทั้งธรรมชาติและ สภาพแวดล้อม  ในฐานะที่ประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรม มีศักยภาพในการผลิตอาหารอย่างพอเพียง หล่อเลี้ยง คนของตนเอง เมื่อมีพอแล้ว การแบ่งปันไปยังประเทศอื่นที่ยังขาดแคลนด้วยการให้มิใช่การขาย จะยัง ประโยชน์ให้เกิดมิตรประเทศมากมาย เหมือนเพื่อนบ้านที่เอื้อเฟื้อต่อกัน อยู่กันด้วย มิตรจิตมิตรใจ สิ่งหนึ่ง ที่พระเจ้าอยู่หัวย้าตลอดเวลา คือ “ทานมีฤทธิ์” การให้จะสะท้อนสิ่งดีๆกลับมาให้กับ “ผู้ให้” เสมอ และ การให้ยังก่อให้เกิด “วงจรดี” ที่ผู้ได้รับจะส่งต่อการให้ไปยังผู้อื่นอย่างไม่มีที่สิ้นสุด ซึ่งจะยังให้เกิดความ สงบสุขร่มเย็น แทนการแย่งชิง
  • 10.  พอในขั้นที่ ๗ คือ รู้จักเก็บ แปรรูป สะสมไว้ใช้ในยามจาเป็น เช่น การแปรรูปอาหาร การเก็บรักษา สมุนไพรแห้งมาเป็นยา การรู้จักคิดค้นครื่องมือ อุปกรณ์ สร้างสรรค์เทคโนโลยีต่างๆ นี่คือ ความพอเพียง ขั้นที่ ๗  ในขั้นที่ ๘ “เมืองใดไม่มีพาณิชย์เลิศ เมืองนั้นย่อมเกิดขัดสน” เมื่อมีของเหลือกิน เหลือใช้ หลังจากที่ ทาบุญ แจกจ่ายเป็นทาน เก็บสะสมไว้ใช้ยามจาเป็นแล้วจึง “ขาย” การค้า การพาณิชย์ การบัญชี เป็นส่วน สาคัญของเศรษฐกิจพอเพียง เพียงแต่ไม่ใช่ขั้นแรก ประเทศจาเป็นต้องมีการค้า เราสนับสนุนให้มีการค้า แต่ถ้าพื้นฐาน ๗ ขั้นยังไม่แข็งแรง การมุ่งแต่การค้าก็เป็นความประมาท ถ้าเรามีอยู่ มีกิน มีใช้ เป็นคนมี น้าใจต่อญาติพี่น้อง ทาบุญทาทาน ไม่เห็นแก่ตัว แม้ไปทาการค้าแล้วเจ๊งกลับมา ญาติพี่น้อง เพื่อนฝูงก็ โอบอุ้ม ยังมีของกินของใช้เหลือเฟือ ทาการค้าขาดทุนมาก็ไม่เดือดร้อนเพราะฐานมั่นคง มีภูมิคุ้มกัน นี่คือ ความหมายของความเจริญจนขั้นทาการค้าได้
  • 11.  ขั้นที่ ๙ สร้างและพัฒนาเครือข่าย คือ กองกาลังเกษตรโยธิน คือ หมู่คนที่กาลังดาเนินชีวิตไปตาม บันได สู่ความพอเพียง มนุษย์เป็นสัตว์สังคม สิ่งที่เชื่อว่าถูกต้อง เมือปฏิบัติมาก ๆ เป็นหมู่เป็นกลุ่มจะ เป็นพลัง ผลักดันให้คนอื่นเอาอย่าง ปัจจุบันในเครือข่ายกสิกรรมธรรมชาติ เรามีสังคมในรูปแบบที่กล่าว มาตามระดับขั้นต่างๆ กระจายอยู่ทั่วประเทศในรูปแบบศูนย์เรียนรู้กว่า ๕๐ ศูนย์ เป็นชุมชนในระดับ ๑๐ ครอบครัว แต่เราอยากเห็นการรวมกันสัก ๑,๐๐๐ ครอบครัว เป็นตาบลที่ดาเนินชีวิตตามปรัชญาเศรษ กิจพอเพียงตามแบบเครือข่ายพวกเรา ความพยายามนี้กาลังก่อรูปเป็นร่างที่จังหวัดชุมพร และ นครนายก เราต้องการสร้างสังคม สังคมดีไม่มีขายอยากได้ต้องช่วยกันสร้าง และเป็นเครื่องยืนยันว่า “ที่ว่าเศรษกิจพอเพียงต้องไปอยู่หลังเขา ไปอยู่ที่ท้องไร่ท้องนานั้นไม่จริง ปรัชญานี้ท่านไม่ได้ให้ไว้เพื่อ การนั้น แท้ที่จริงท่านพระราชทานไว้สาหรับการสร้างสังคมใหม่ด้วยซ้าไป”
  • 12. กลไกการขับเคลื่อนสืบสานศาสตร์พระราชา 3 ระดับ 5 กลไก 7 ภาคส่วน “3 ระดับ” 1.ระดับชาติ ต้องมีทีมรับผิดชอบเป็นเรื่องเป็นราว ทาต่อเนื่อง เพราะการทาต่อเนื่องเป็นเรื่อง สาคัญมาก เปลี่ยนรัฐบาล แต่แผนนี้ต้องไม่เปลี่ยน 2.ระดับจังหวัด โดยต้องมีทั้งภาครัฐและภาคประชาชนเข้ามาร่วมกันทา อย่าเอาเฉพาะภาครัฐ 3.ระดับพื้นที่จริง คือ มี 2-3 ครอบครัว หรือเป็นชุมชนก็ได้ โดยเป็นตัวอย่างของความสาเร็จ หรือมีตัวอย่างความไม่สาเร็จด้วยก็ได้ เพราะมีประโยชน์ทั้งคู่” 
  • 13.  5 กลไก”“ให้ทั้ง 3 ระดับ ทา 5 กลไก คือ 1.มีกลไกการประสานงาน อย่างต่างคนต่างทา ถ้าต่างคนต่างทา ไม่นานก็หมด เพราะรุ่นนี้ตายก็ จบ 2.แต่ละหน่วยงาน ต้องมีแผนยุทศาสตร์ของตัวเอง 10 หน่วย มี 10 แผนยุทศาสตร์ จากนั้นจึง ค่อยบูรณาการแผน แล้วค่อยลงมือปฏิบัติ ต้องมีกลไกในการบูรณาการแผน 3.ต้องมีกลไกการจัดการความรู้ ทาแล้วเรื่องนี้สาเร็จหรือไม่สาเร็จ ก็ต้องบันทึกเรื่องราวลงให้ สังคมรู้ 4.ให้มีกลไกสร้างนวัตกรรมขึ้นมาแล้วสืบสานไว้ 5.เอาประสบการณ์ทั้งหมดที่ทาสื่อสารสู่สังคม สังคมจะได้ไปร่วมมือกัน ทุกภาคส่วนจะได้ช่วยกัน  “7 ภาคส่วน” 1.ภาคประชาชน 2.ศาสนา 3.วิชาการ 3. สื่อมวลชน 5.ประชาสังคม 6.ภาครัฐ 7.เอกชน “ทั้ง 7 ส่วนรวมกัน หรือแม้ไม่ครบ มีแค่ 5 ส่วน ก็ยังดีกว่าไม่ทาอะไร คนมาสามัคคีกัน เวลาเอามื้อสามัคคี ทุกคนมาช่วยกันหมด มันสร้างได้ พลังสามัคคีอย่างนี้ ทั้ง 7 กลไก หรือไม่ครบก็ไม่เป็นไร ก็จะทาให้เรื่องนี้ สืบทอดต่อเนื่อง
  • 16. ลุ่มน้าวังทอง พื้นที่ 1,900 ตร.กม. (1,200,000 ไร่) อ.วังทอง จ.พิษณุโลก อ.เขาค้อ จ.เพชรบูรณ์
  • 17. บัญชีน้า ΔS = ΣI - ΣO โดยที่ ΔS = การเปลี่ยนแปลงปริมาณ ΣI = ผลรวมปริมาณน้าเข้า ΣO = ผลรวมปริมาณน้าออก
  • 18. ปริมาณน้าเข้า (เฉพาะกรณีที่มีน้าฝนเพียงอย่างเดียว) ปริมาณน้าฝนเฉลี่ย 1,300 มม./ปี คิดเป็นปริมาณน้าเข้า 2,470 ล้าน ลบ.ม./ปี บัญชีน้า (กรณีทั่วไป) ปริมาณน้าออก การระเหย และการซึมลงดิน (60%ของน้าเข้า) 1,500 ล้าน ลบ.ม./ปี การทานา (10% ของพื้นที่) 360 ล้าน ลบ.ม./ปี คิดเป็นปริมาณน้าออก 1,860 ล้าน ลบ.ม./ปี
  • 19. ปริมาณน้าที่เปลี่ยนแปลง ปริมาณน้าเข้า – ปริมาณน้าออก = 2,470 – 1,860 ล้าน ลบ.ม./ปี ปริมาณน้าที่เปลี่ยนแปลง = 610 ล้าน ลบ.ม./ปี บัญชีน้า (กรณีทั่วไป) ปริมาณน้าไหลลงสู่ลุ่มน้าตอนล่าง 610 ล้าน ลบ.ม./ปี
  • 21. 1. SUBSOIL DRAIN เพิ่มระดับน้าใต้ดิน ลดปริมาณการระเหย ป่า 3 อย่างประโยชน์ 4 อย่าง หญ้าแฝก
  • 22. 2. RAIN STORAGE กักเก็บน้าฝน หรือน้าสะอาด สาหรับอุปโภคบริโภคในครัวเรือน ปริมาณ 120 ลิตร/คน/วัน (เทศบาลตาบล)
  • 24. 4. THE MONKEY CHEEKS พื้นที่แก้มลิง บึงราชนกพื้นที่ 7.5 ล้าน ตร.ม. (4,600 ไร่)
  • 25. 5. CHECK DAM ชะลอน้า สร้างความชุ่มชื้น เพิ่มการซึมลงสู่ชั้นใต้ดิน
  • 27. 7. AQUACULTURE สร้างงาน สร้างรายได้ ในพื้นที่แก้มลิง หรือพื้นที่น้าขัง ดูแล และรักษาคุณภาพแหล่งน้า
  • 28. ปริมาณน้าเข้า (เฉพาะกรณีที่มีน้าฝนเพียงอย่างเดียว) ปริมาณน้าฝนเฉลี่ย 1,300 มม./ปี คิดเป็นปริมาณน้าเข้า 2,470 ล้าน ลบ.ม./ปี บัญชีน้า (กรณีจัดการน้าอย่างยั่งยืน)
  • 29. บัญชีน้า (กรณีจัดการน้าอย่างยั่งยืน) ปริมาณน้าออก อุปโภคบริโภค (120,000 คน) 5 ล้าน ลบ.ม./ปี การระเหย และการซึมลงดิน (60%ของน้าเข้า) 1,500 ล้าน ลบ.ม./ปี สระน้า (30% ของพื้นที่เกษตร) 570 ล้าน ลบ.ม./ปี การทานา (10% ของพื้นที่) 360 ล้าน ลบ.ม./ปี แก้มลิง 7 ล้าน ลบ.ม./ปี คิดเป็นปริมาณน้าออก 2,442 ล้าน ลบ.ม./ปี
  • 30. ปริมาณน้าที่เปลี่ยนแปลง ปริมาณน้าเข้า – ปริมาณน้าออก = 2,470 – 2,442 ล้าน ลบ.ม./ปี ปริมาณน้าที่เปลี่ยนแปลง = 28 ล้าน ลบ.ม./ปี บัญชีน้า (กรณีจัดการน้าอย่างยั่งยืน) ปริมาณน้าไหลลงสู่ลุ่มน้าตอนล่าง 28 ล้าน ลบ.ม./ปี
  • 31. ประโยชน์  ทานา ไหลลงสู่ลุ่มน้าตอนล่าง  610 ล้าน ลบ.ม./ปี  บริหารจัดการต่อ  สร้างเขื่อน ประโยชน์  อุปโภคบริโภค  ทาการเกษตร ประมง  ทานา  แหล่งน้าสารอง  ป้ องกันอุทกภัย ไหลลงสู่ลุ่มน้าตอนล่าง  28 ล้าน ลบ.ม./ปี กรณีทั่วไป กรณีจัดการน้าอย่างยั่งยืน
  • 34.
  • 35.
  • 36.
  • 37.
  • 38.
  • 39.
  • 40.