SlideShare a Scribd company logo
สัญญาอนุญาตให ้ใช ้โปรแกรม
พีระ ลิ่วลม เรียบเรียง
ตีความเนื้อหา  สัญญาอนุญาตให ้
ใช ้โปรแกรม
• สัญญา + อนุญาตให้ใช้ + โปรแกรม
• สัญญา – มีนัยว่ามีกฎหมายรองรับ ซึ่งต ้องระบุ
รายละเอียดเป็นองค์ประกอบของสัญญาในเรื่อง
ทางกฎหมายเหล่านั้น
• อนุญาตให้ใช้ – มีนัยของ “การเป็นเจ ้าของตาม
กฎหมาย” ซึ่งสามารถให ้สิทธิการใช ้งานกับผู้อื่นได ้
“ตามกฎหมายกาหนด”
– คาถามก็คือ ใคร? ให ้ใช ้อะไร? ให ้ผู้ใดใช ้? ด ้วยเงื่อนไข
ใด?
• โปรแกรม – ต ้องมีความชัดเจน หรือ “นิยามตาม
กฎหมาย”
เนื้อหา
• ตลาดซอฟต์แวร์
• ความเป็นเจ ้าของตามพรบ.ลิขสิทธิ์และพรบ.
สิทธิบัตร
• โปรแกรมและดิจิตอลคอนเทนต์
• การใช ้และละเมิดโปรแกรม
• สัญญาและองค์ประกอบของสัญญา
• สัญญาอนุญาตให ้ใช ้โปรแกรมประเภทต่างๆ
• ตัวอย่างสัญญาอนุญาตให ้ใช ้โปรแกรม
• ขยายความสัญญาอนุญาตให ้ใช ้“ดิจิตอลคอน
เทนต์”
• ตัวอย่างสัญญาอนุญาตให ้ใช ้ดิจิตอลคอนเทนต์
ตลาดโปรแกรมและดิจิทัลคอนเทนต์
ในไทยช่วงโควิด
• https://www.krungsri.com/th/research/industry/i
ndustry-outlook/Services/digital-software/IO/io-
digital-software-21
• ช่วงปี 2564-2566 รายได้ของธุรกิจบริการดิจิทัล
และซอฟต์แวร ์ในภาพรวมมีแนวโน้มเติบโต
เพิ่มขึ้นในอัตราเฉลี่ย 10.5% ต่อปี ตามทิศทาง
ของภาคธุรกิจที่เน้น
• การใช ้กลยุทธ์ Digital transformation เพื่อสนอง
ความต ้องการของผู้บริโภคแบบเฉพาะเจาะจง
• วิถีการใช ้ชีวิตในรูปแบบใหม่ (New normal) ที่คาด
ว่าจะต ้องพึ่งพาการทาธุรกรรมต่างๆ ผ่านช่องทาง
ออนไลน์มากขึ้น
Digitalization เนื่องจาก COVID-19
โครงสร ้างธุรกิจซอฟต์แวร์และดิจิทัล
คอนเทนต์ในไทย
ช่วงก่อนและคาบเกี่ยวกับโควิด-19
• ไทยมีมูลค่ารวมกัน 3.0 แสนล ้านบาทต่อปี ในช่วงปี
2560-2562
1. ธุรกิจบริการดิจิทัลมีสัดส่วนรายได ้สูงสุดเกือบ
ครึ่งหนึ่ง (โดยเฉลี่ย 49.8%)
2. รองลงไปเป็นธุรกิจซอฟต์แวร์และบริการ
ซอฟต์แวร์ (สัดส่วน 40.8%)
3. ดิจิทัลคอนเทนต์ (สัดส่วน 9.4%)
• ผู้ประกอบการส่วนใหญ่เป็นบริษัทคนไทยสัดส่วน
ถึง 95%
• โครงสร ้างตลาดโดยรวมของธุรกิจบริการดิจิทัล
ธุรกิจที่ขยายตัว
1. บริการดิจิทัล การพัฒนาแพลตฟอร์มรูปแบบใหม่ๆ
รองรับธุรกรรมออนไลน์ที่จะขยายตัวมากขึ้น ภายใต ้
โครงข่าย 5G ที่จะครอบคลุมพื้นที่ในวงกว ้าง โดยธุรกิจ
E-transaction, E-retail และ E-content จะเติบโตโดด
เด่นในทุกหมวดสินค ้าและบริการในชีวิตประจาวัน ส่วน
เทคโนโลยีที่เกี่ยวกับการเงิน (FinTech) จะยังคง
ขยายตัวต่อเนื่องตามความนิยมของ E-wallet ซึ่งเข ้ามา
แทนเงินสดมากขึ้น แต่จะมีแรงกดดันด ้านการแข่งขันจาก
ผู้ประกอบการที่มีจานวนมาก
2. ซอฟต์แวร ์และบริการซอฟต์แวร ์การลงทุนเพื่อรองรับ
การปรับโครงสร ้างองค์กรของภาคธุรกิจ โดยเฉพาะธุรกิจ
ซอฟต์แวร์ตามวัตถุประสงค์ของผู้ใช ้(Customized
software) และธุรกิจบริการด ้านซอฟต์แวร์บนระบบ
Cloud ผ่าน Internet (Software as a Service: SaaS)
เพื่อรองรับโครงการใหม่ๆ ในการนามาพัฒนาองค์กร
3. ดิจิทัลคอนเทนต์รายได ้ที่เติบโตจะมาจากธุรกิจเกมส์
ออนไลน์เป็นหลัก ตามความนิยมที่ยังมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น
กลุ่มบริการดิจิทัล
• E-content บริการข ้อมูลต่างๆ ผ่านออนไลน์ ได ้แก่ ข่าวออนไลน์ การ
ซื้อขาย E-book, E-information ตัวอย่างผู้ให ้บริการในธุรกิจนี้ที่มี
ปริมาณ Traffic สูงในไทย เช่น Ookbee, Wongnai, Pantip.com เป็น
ต ้น
• E-transaction ธุรกรรมผ่านออนไลน์ โดยมีรายได ้จากค่าธรรมเนียม
เช่น บริการจองห ้องพัก บริการโลจิสติกส์ เป็นต ้น ตัวอย่างผู้ให ้บริการ
ที่มีปริมาณการใช ้งานเป็นจานวนมากในไทย เช่น Agoda (จอง
ห ้องพัก) Kerry Express (บริการส่งสินค ้า) เป็นต ้น
• E-retail ร ้านค ้าซื้อขายผ่านออนไลน์ รวมถึงแพลตฟอร์มตัวกลางที่มี
บทบาทในการขายของผ่านออนไลน์ เช่น Lazada, Shopee, Central
JD Commerce เป็นต ้น
• E-entertain บริการด ้านบันเทิงผ่านออนไลน์ประเภท TV เพลง และ
ภาพยนตร์ออนไลน์ ส่วนใหญ่เป็นแพลตฟอร์มให ้บริการของ
ผู้ประกอบการรายใหญ่ค่ายต่างชาติ เช่น Netflix หรือ Iflix (ภาพยนตร์)
Joox (เพลง) เป็นต ้น
• FinTech บริการเทคโนโลยีทางการเงินผ่านออนไลน์ หรือใช ้
เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อดาเนินกิจกรรมทางการเงิน เช่น InsurTech
Startup, กลุ่มบริการ E-wallet, Payment gateway, Bitcoin รวมถึงผู้
SI: System Integrator
SaaS: Software as a Service
https://www.mreport.co.th/news/industry-
movement/320-Worldwide-IT-Spending-Forecast-2022
โอกาสของดิจิทัลไทยแลนด์หลังโค
วิด 19
• https://today.techtalkthai.com/archives/6932 , 26 สิงหาคม
2563
• การปรับเปลี่ยนธุรกิจสู่ดิจิทัลของเอสเอ็มอีในไทย
จะเพิ่มมูลค่า 35,000 ถึง 41,000 ล้านดอลลาร ์
ให ้กับจีดีพีของไทย ภายในปี 2567
• ภาคธุรกิจเอสเอ็มอีคิดเป็นสัดส่วน 85.5 เปอร์เซ็นต์
ของแรงงานทั้งหมดในไทย และสร ้างมูลค่าให ้จีดีพี
ถึง 43% ด ้วยเหตุนี้ เอสเอ็มอีจึงมีบทบาทสาคัญ
ต่อการฟื้นฟูและพัฒนาเศรษฐกิจให ้เติบโตหลัง
วิกฤตโควิด
• 73 เปอร์เซ็นต์ของเอสเอ็มอีในไทยมีแผนที่จะ
ปรับเปลี่ยนการดาเนินงานสู่ดิจิทัล เพื่อสามารถ
ตลาดซอฟต์แวร์และดิจิทัล 2566-68
• https://www.krungsri.com/th/research/industry/industry-
outlook/services/digital-software/io/io-digital-software-2023-2025
• จะเติบโตต่อเนื่องในอัตราเฉลี่ย 19.0-20.0% (เทียบกับ
10.5% ปี 64)
– บริการดิจิทัล รายได ้มีแนวโน้มเติบโตเฉลี่ย 22.0-23.0%
– ซอฟต์แวร์และบริการซอฟต์แวร์ รายได ้มีแนวโน้มขยายตัว 11.0-
12.0%
– ดิจิทัลคอนเทนต์: รายได ้มีแนวโน้มเติบโตดีขึ้น 13.0-14.0%
• มูลค่ารวมกันโดยเฉลี่ยประมาณ 4.4 แสนล ้านบาทต่อปี
ในช่วงปี 2562-2564 โดยกลุ่มธุรกิจบริการดิจิทัลมีสัดส่วน
รายได ้สูงสุดกว่าครึ่งหนึ่งของรายได ้รวมในธุรกิจนี้ (โดย
เฉลี่ย 60%) รองลงไปเป็นธุรกิจซอฟต์แวร์และบริการ
ซอฟต์แวร์ (สัดส่วน 30%) และดิจิทัลคอนเทนต์ (สัดส่วน
10%)
อะไรที่ควรมีในสัญญาอนุญาตให ้
ใช ้?
บริการดิจิทัล, ซอฟต์แวร์, ดิจิทัล
คอนเทนต์
เป็นทรัพย์สินทางปัญญา
ซื้อขายกันด ้วย “สัญญาอนุญาตให ้
ใช ้”
สิ่งที่ควรมีในสัญญาอนุญาตให ้ใช ้
• ความเป็นเจ ้าของ.. ตามพรบ.ใด
• สิทธิของเจ ้าของ
• ลักษณะการใช ้สิทธิและการละเมิด
• การบังคับใช ้ด ้วย “นิติกรรม” ตามประมวลแพ่งฯ
ความเป็นเจ ้าของตามพรบ.ลิขสิทธิ์
พ.ศ.2537
• มาตรา 8 โดยย่อคือ ให ้ผู้สร ้างสรรค์เป็นเจ ้าของ
ลิขสิทธิ์
• มาตรา 4 ผู้สร ้างสรรค์ หมายความว่าผู้ทาหรือผู้
ก่อให ้เกิดงานสร ้างสรรค์อย่างใดอย่างหนึ่งที่
เป็นงานอันมีลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัตินี้
• มาตรา 9 ได้ลิขสิทธิ์ในฐานะลูกจ้าง (ไม่มี
หนังสือตกลงกันไว้เป็ นอื่น+ไม่ใช่หน่วยงาน
รัฐ)
• มาตรา 10 ได้ลิขสิทธิ์ในฐานะผู้ว่าจ้าง
• มาตรา 11 ได ้ลิขสิทธิ์โดยการดัดแปลงงานของ
นิยาม “โปรแกรม” ในพรบ.ลิขสิทธิ์
• มาตรา 4 บทนิยาม
– “วรรณกรรม” หมายความว่างานนิพนธ์ที่ทาขึ้นทุก
ชนิด เช่น หนังสือ จุลสาร สิ่งเขียน สิ่งพิมพ์ ปาฐกถา
เทศนา คาปราศรัย สุนทรพจน์ และให ้หมายความ
ร่วมถึงโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด ้วย
– “โปรแกรมคอมพิวเตอร์” หมายความว่า คาสั่ง
ชุดคาสั่ง หรือสิ่งอื่นใดที่นาไปใช ้กับเครื่อง
คอมพิวเตอร์ เพื่อให ้เครื่องคอมพิวเตอร์ทางานหรือ
เพื่อให ้ได ้รับผลอย่างหนึ่งอย่างใด ทั้งนี้ไม่ว่าจะเป็น
ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ลักษณะใด
ความเป็นเจ ้าของตามพรบ.สิทธิบัตร
พ.ศ.2522
• มาตรา 10 ผู้ประดิษฐ์คือผู้มีสิทธิขอรับสิทธิบัตร
• มาตรา 11 สิทธิขอรับสิทธิบัตรของนายจ ้าง (มี
สัญญาจ ้างที่มีวัตุถประสงค์ให ้ทาการประดิษฐ์)
• มาตรา 12 บาเหน็จพิเศษของลูกจ ้าง (ประดิษฐ์
ตามสัญญาจ ้าง ก็มีสิทธิได ้รับประโยชน์จาก
สิ่งประดิษฐ์ โดยยื่นต่ออธิบดีกรมทรัพย์สินทาง
ปัญญา)
• มาตรา 3 “การประดิษฐ์” หมายความว่า การ
คิดค ้นหรือคิดทาขึ้น อันเป็นผลให ้ได ้ผลิตภัณฑ์
หรือกรรมวิธีใดขึ้นใหม่ หรือการกระทาใดใด ที่
ทาให ้ดีขึ้นซึ่งผลิตภัณฑ์หรือกรรมวิธี
ทบทวนความแตกต่างระหว่าง
ลิขสิทธิ์ กับ สิทธิบัตร
• ดร.สุทธิพล ทวีชัยการ อธิบายในบรรยายปี
พ.ศ.2553 ไว ้ดังนี้
• ลิขสิทธิ์ไม่ได ้คุ้มครองเรื่องความคิดหรือ
แนวความคิด ไม่ว่าจะเป็นพล็อตเรื่องหรือ
แนวคิดจากงานอื่นมา หรือภาพที่เราไปดูมาแต่
ไม่ได ้ลอก แล ้วมาจินตนาการแล ้ววาด ภาพอาจ
เหมือนกันโดยบังเอิญ กฎหมายลิขสิทธิ์คุ้มครอง
ต่างกับสิทธิบัตรที่ต ้องเป็นงานใหม่ ที่ไม่ปรากฏ
มาก่อน
กรณีศึกษา “ละครน้าเน่า”
• พล็อตเรื่องที่คล ้ายๆกันที่ นางเอกจริงๆรวย แต่มี
การพรากจากพ่อแล ้วเอาพินัยกรรมไปซ่อนไว ้ใน
รูป นางเอกก็ปลอมตัวเป็นผู้ชายซึ่งตรงนี้ก็เป็น
เรื่องแนวคิดคล ้ายๆกัน การแสดงออกซึ่ง
ความคิดคล ้ายกัน บางเรื่องมีหมาเข ้าเป็นสื่อมี
การเติมแต่ง สไตล์คล ้ายๆกันแต่มีรายละเอียด
ไม่เหมือนกัน เพราะฉะนั้นองค์ประกอบประการ
แรกต ้องมีการแสดงออกซึ่งความคิดประการที่
สองต ้องมีการสร ้างสรรค์โดยตนเอง ไม่ได ้
หมายความว่าต ้องใหม่ขนาดไม่เหมือนใครเลย
กรณีศึกษา “พจนานุกรม”
• คนเอาพจนานุกรมไปลอกเรียนไปพิมพ์ จาเลย
ต่อสู้ว่า พจนานุกรมไม่ใช่งานใหม่ เป็นการเอา
ศัพท์มาเรียงเฉยๆ คราวนี้ศาลก็วางหลักว่า การ
ที่จะเป็นผู้สร ้างสรรค์ ความสาคัญไม่ได ้อยู่ที่ว่า
งานนั้นใหม่หรือไม่ แต่อยู่ที่ว่าคนผู้นั้นได ้
ก่อให ้เกิดงานโดยความวิริยะหรือไม่ และมีต ้น
กาเนิดโดยบุคคลผู้นั้น แม ้การจัดทาเป็นวิธีเดียว
แต่โบราณ โจทก์ก็เป็นได ้หากการจัดทา
พจนานุกรมเป็นการวิริยะอุตสาหะ โดยการ
แสดงออกโดยความคิดริเริ่มจากโจทก์เอง เป็น
กรณีศึกษา “หนังโป๊ ”
• ต ้องยึดกฎหมายประเทศไทย
• ตีความเป็น “สิ่งสร ้างสรรค์” หรือไม่?  ไม่ใช่
เพราะ “ผิดกฎหมาย”
• มีการแสดงการร่วมเพศ เป็นภาพลามก งานจึง
มิใช่สิ่งสร ้างสรรค์ จึงไม่ใช่เจ ้าของลิขสิทธิ์
• ยกฟ้อง คือแนวทางพิพากษาคดีในประเทศ
ไทย
ลักษณะสิทธิการใช ้ตามพรบ.
ลิขสิทธิ์
• มาตรา 15 สิทธิแต่ผู้เดียวของเจ ้าของลิขสิทธิ์
– ทาซ้าหรือดัดแปลง
– เผยแพร่ต่อสาธารณชน
– ให ้เช่าต ้นฉบับหรือสาเนางานโปรแกรม,
โสตทัศนวัสดุ, ภาพยนตร์, และสิ่งบันทึกเสียง
– อนุญาตให ้ผู้อื่นใช ้สิทธิข ้างต ้น โดยจะกาหนด
เงื่อนไขอย่างใดหรือไม่ก็ได ้แต่เงื่อนไขดังกล่าวจะ
กาหนดในลักษณะที่เป็นการจากัดการแข่งขันโดย
ไม่เป็นธรรมไม่ได ้
• มาตรา 16 การอนุญาตให ้ใช ้สิทธิ
• มาตรา 17 การโอนลิขสิทธิ์ (ทั้งตลอดอายุ
ลิขสิทธิ์ และกาหนดเวลา, ถ ้าไม่กาหนดเวลาให ้
การละเมิดตามพรบ.ลิขสิทธิ์
• มาตรา 27 การละเมิดลิขสิทธิ์ เมื่อไม่ได ้รับการ
อนุญาต ประกอบด ้วย การทาซ้าหรือดัดแปลง,
เผยแพร่ต่อสาธารณชน
• มาตรา 28 ทาซ้าหรือดัดแปลง, เผยแพร่ต่อ
สาธารณชน, ให ้เช่าต ้นฉบับหรือสาเนางาน
ดังกล่าว กรณีโสตทัศนวัสดุ ภาพยนตร์ หรือสิ่ง
บันทึกเสียง
• มาตรา 30 ทาซ้าหรือดัดแปลง, เผยแพร่ต่อ
สาธารณชน, ให ้เช่าต ้นฉบับหรือสาเนางาน
ดังกล่าว กรณีโปรแกรมคอมพิวเตอร์
• มาตรา 31 แสวงหากาไร โดยการขาย (มีไว ้เพื่อ
ขายเสนอขาย เสนอให ้เช่า ให ้เช่าซื้อ หรือเสนอ
ลักษณะสิทธิการใช ้ตามพรบ.
สิทธิบัตร
• มาตรา 36 สิทธิของผู้ทรงสิทธิบัตร
– สิทธิในการผลิต ใช ้ขาย มีไว ้เพื่อขาย เสนอขาย หรือ
นาเข ้ามาในราชอนาณาจักรซึ่งผลิตภัณฑ์ตามสิทธิบัตร
– สิทธิในการใช ้กรรมวิธีตามสิทธิบัตร
• มาตรา 38 การอนุญาตและโอนสิทธิ ให ้บุคคลใดใช ้
สิทธิตามสิทธิบัตร
• มาตรา 48 ค่าตอบแทนในการขอใช ้สิทธิ
• มาตรา 49 การเสนอค่าตอบแทนและเงื่อนไขในการ
ขอใช ้สิทธิ
• มาตรา 50 อธิบดีเป็นคนกาหนดค่าตอบแทนและ
เงื่อนไข กรณีผู้ขอใช ้กับผู้ทรงสิทธิบัตรไม่สามารถ
ตกลงกันได ้ภายในระยะเวลาที่กาหนด
การละเมิดตามพรบ.สิทธิบัตร
• มาตรา 85 การละเมิดสิทธิของผู้ทรงสิทธิ
–บุคคลใดกระทาอย่างใดอย่างหนึ่งตามมาตรา
36 หรือ 63 โดยไม่ได ้รับอนุญาตจากผู้ทรง
สิทธิบัตร ต ้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสองปี
หรือปรับไม่เกินสี่แสนบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ
การบังคับใช ้ตามกฎหมาย
• เป็นการซื้อ-ขาย, ให ้เช่า สิทธิและทรัพย์สินตาม
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์(ร่างปี
พ.ศ.2451 มีขึ้นบังคับใช ้เมื่อปี พ.ศ.2468, ตรวจ
ชาระเมื่อ พ.ศ.2535)
• การบังคับด ้วย “นิติกรรม”
• การบังคับด ้วย “สัญญา”
• บางครั้งเรียกรวมๆ ว่า “นิติกรรมสัญญา” ทั้งนี้
เนื่องจาก สิ่งที่เป็นนิติกรรมอาจไม่เป็นสัญญาก็
ได ้แต่หากเป็นสัญญาจะต ้องเป็นนิติกรรมตาม
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
ความเป็นนิติกรรม
• มาตรา 149 นิติกรรมหมายความว่า การใดใด
อันทาลงโดยชอบด้วยกฎหมายและด้วยใจ
สมัคร มุ่งโดยตรงต่อการผูกนิติสัมพันธ ์ขึ้น
ระหว่างบุคคล เพื่อจะก่อ เปลี่ยนแปลง โอน
สงวน หรือระงับซึ่งสิทธิ
• มีสองประเภทคือ
– นิติกรรมฝ่ ายเดียว ประกาศเจตนารมณ์ฝ่ ายเดียวก็มี
ผล เช่น พินัยกรรม, สัญญาว่าจะให ้
– นิติกรรมหลายฝ่ าย
องค์ประกอบของนิติกรรม
• 1.ต้องมีการแสดงเจตนาของบุคคล
• 2.ต ้องเป็นการชอบด ้วยกฎหมาย
• 3.กระทาด ้วยความสมัครใจ
• 4.มุ่งให ้เกิดผลทางกฎหมาย
• 5.เพื่อก่อให้เกิดความเคลื่อนไหวในสิทธิ
1.การแสดงเจตนา
• หรือการกระทาใดใดให ้ปรากฏออกมาให ้เข ้าใจ
ได ้ถึงเจตนาภายในบุคคล
• การแสดงเจตนาอันแจ ้งชัด
– ลายลักษณ์อักษร
– วาจา, ท่าทาง
• การแสดงเจตนาโดยปริยาย
– ลูกหยิบเกมส์ออกมาจากร ้าน พ่อทราบจึงมาจ่ายเงิน
เป็นการรับรองซื้อขาย
– ใช ้สินค ้าที่ไม่ได ้สั่งจากบริษัทที่ส่งมา ถือเป็นการ
รับคาเสนอขาย
• การแสดงเจตนาโดยการนิ่ง (โดยปกติไม่ถือเป็น
5.เพื่อก่อให ้เกิดการเคลื่อนไหวใน
สิทธิ
• ก่อสิทธิ เช่น สัญญาซื้อขาย, สัตยาบัน,
พินัยกรรม ฯลฯ
• เปลี่ยนแปลงสิทธิ เช่น ติดหนี้เป็นเงิน ใช ้คืนเป็น
ข ้าว
• การโอนสิทธิ เช่น เจ ้าหนี้ ก. โอนให ้สิทธิ ข.
ทวงหนี้จาก นาย ค. เป็นต ้น
• การสงวนสิทธิ คือการกระทาเพื่อรักษาสิทธิที่ตน
มี เช่น หนังสือยืนยันสภาพการมีหนี้จริงของ
ลูกหนี้
• การระงับสิทธิ คือการทาให ้สิทธิที่มีอยู่หมดสิ้น
โมฆะกรรม
• หมายถึงนิติกรรมนั้นเสียเปล่ามาแต่ต ้น ไม่มีผล
บังคับตามกฎหมาย ไม่มีการเคลื่อนไหวสิทธิแต่
อย่างใด ถือเสมือนว่าไม่มีการทานิติกรรมนั้นแต่
อ่างใด จะฟ้องร ้องบังคับกันไม่ได ้จะให ้สัตยาบัน
ก็ไม่ได ้
• ตัวอย่าง เช่น การสมรสซ ้อน
• สัตยาบัน มีเพื่อให ้นิติกรรมที่เป็นโมฆียกรรม
สมบูรณ์ (กล่าวภายหลัง)
โมฆียะ
• บกพร่องจากผู้ไร ้ความสามารถ
• ความบกพร่องของเจตนา เช่น บุคคลไม่มี
คุณสมบัติที่ต ้องการ , รถยนต์มีประวัติการถูกชน,
ทาสัญญาเพราะถูกข่มขู่ เป็นต ้น
• ทางเลือกประกอบด ้วย
– บอกล ้างนิติกรรมให ้โมฆะตั้งแต่ต ้น
– ทาสัตยาบันเพื่อให ้นิติกรรมมีผลตั้งแต่ต ้น
นิยามสัญญา
• สัญญาคืออะไร? ประมวลกฎหมายแพ่งและ
พาณิชย์ บรรพ 2 ลักษณะ 2 ว่าด ้วยสัญญา มิได ้ให ้
คาจากัดความของสัญญาว่าคืออะไร แต่
พจนานุกรมให ้คาจากัดความไว ้ว่า “สัญญาคือความ
ตกลงระหว่างบุคคลสองฝ่ ายหรือหลายฝ่ ายว่าจะ
กระทาการหรือละเว ้นการอย่างใดอย่างหนึ่ง”
• ดังนั้น เมื่อได ้ศึกษาถึงบทบัญญัติในลักษณะ
สัญญาโดยตลอดแล ้วจึงทาให ้เข ้าใจได ้ว่า สัญญา
คือ นิติกรรมสองฝ่ าย ซึ่งนิติกรรมสองฝ่ ายก็คือนิติ
กรรมซึ่งมีผู้แสดงเจตนาฝ่ ายหนึ่งและผู้รับการแสดง
เจตนาอีกฝ่ ายหนึ่ง หากมีเพียงผู้แสดงเจตนาแต่
องค์ประกอบของสัญญา
1. ต ้องมีคู่สัญญา โดยมีฝ่ ายหนึ่งเป็นผู้ยื่นคาเสนอ
และอีกฝ่ ายหนึ่งยื่นคาสนองตอบรับ
2. ต ้องมีการแสดงเจตนาที่สอดคล ้องกัน
3. ต ้องมีวัตถุประสงค์ของสัญญา
4. ต ้องมีแบบ หรือวิธีในการแสดงเจตนา อาจเป็น
ลายลักษณ์อักษร หรือทาตามแบบสัญญาที่
กาหนดไว ้ตามกฎหมาย
• คาเสนอ คือการแสดงเจตนาอันเป็นความ
ประสงค์ของตนไปยังบุคคลภายนอกอีกฝ่ ายเพื่อ
ขอให ้เขาเข ้าทาสัญญาด ้วย หรือเป็นคาขอให ้
ทาสัญญานั่นเอง คาเสนอขึงเป็นนิติกรรมฝ่ าย
เดียว ต ้องมีผู้รับการแสดงเจตนา จึงจะเป็น
สัญญา
• คาสนอง เป็นการแสดงเจตนาตอบรับของบุคคล
ผู้ได ้รับคาเสนอภายในระยะเวลาที่กาหนด เพื่อ
สนองรับคาเสนอ อันเป็นสัญญาเกิดขึ้นทันที
(เช่น การคลิกตอบรับคาเสนอเพื่อดาวน์โหลด
Shrink Wrap License
• ตัวอย่างสัญญาที่เกิดจากนิติกรรมที่เป็นการ
แสดงเจตนา
• ตัวอย่าง
พรบ.ว่าด ้วยธุรกรรมทาง
อิเล็กทรอนิกส์ (ฉบับที่ 3)
การแบ่งประเภทของสัญญามี 5 วิธี
1. สัญญาซึ่งมีผลผูกพันเฉพาะคู่สัญญากับสัญญา
เพื่อประโยชน์ของบุคคลภายนอก
2. สัญญาต่างตอบแทนกับสัญญาไม่ต่างตอบ
แทน
3. สัญญามีค่าตอบแทนและไม่มีค่าตอบแทน
4. สัญญาประธานกับสัญญาอุปกรณ์ (เช่น สัญญา
กู้ยืม กับ สัญญาค้าประกัน)
5. สัญญาเอกเทศสัญญากับสัญญาไม่มีชื่อ
บรรพ3: เอกเทศสัญญา
ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
• ซื้อขาย (sale)
ขายตามคาพรรณา (sale by
description)
ขายตามตัวอย่าง (sale by sample)
ขายทอดตลาด (sale by auction)
ขายเผื่อชอบ (sale on approval)
ขายฝาก (sale with right of
redemption)
• แลกเปลี่ยน (exchange)
• ให ้(gift)
ให ้โดยเสน่หา (gratuitous
ให ้โดยพินัยกรรม (gift by will)
gift)
• เช่าทรัพย์ (hire of property)
• เช่าซื้อ (hire-purchase)
• จ ้างแรงงาน (hire of service)
• จ ้างทาของ (hire of work)
• รับขน (carriage)
• ยืม (loan)
ยืมใช ้คงรูป (loan for use)
ยืมใช ้สิ้นเปลือง (loan for
consumption)
• กู้ยืม (loan of money)
• ฝากทรัพย์ (deposit)
เจ ้าสานักโรงแรม (innkeeper)
บรรพ3: เอกเทศสัญญา
ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
• ค้าประกัน (suretyship)
• จานอง (mortgage)
• จานา (pledge)
• เก็บของในคลังสินค ้า
(warehousing)
• ตัวแทน (agency)
• นายหน้า (brokerage)
• ประนีประนอมยอมความ
(compromise)
• การพนัน (gambling)
• ขันต่อ (betting)
• สลากกินแบ่ง (lottery)
• บัญชีเดินสะพัด (current
account)
• ประกันภัย (insurance)
ประกันชีวิต (life insurance)
ประกันวินาศภัย (casualty
insurance)
• ตั๋วเงิน (bill)
ตั๋วแลกเงิน (bill of exchange)
ตั๋วสัญญาใช ้เงิน (promissory
note)
เช็ค (cheque)
• หุ้นส่วน (partnership)
• บริษัท (company)
• สมาคม (association)
กรณีศึกษา:ภาพวาด
• เรื่องจ ้างทาของ จ ้างแรงงานก็มี 2189-
2190/2548 เป็นเรื่องการวาดภาพนก ต ้องวาด
ไม่รู้กี่ชนิด วาดภาพพันกว่าภาพระยะเวลานาน
พอจ ้างแล ้วสักพัก ต่อมาก็คนที่วาดภาพก็
ลาออก วันดีคืนดีก็เห็นว่าคนที่จ ้างวาดเอาภาพ
ไปเผยแพร่ เรื่องนี้ก็มองว่าเป็นจ ้างแรงงานหรือ
จ ้างทาของ ตัวจาเลยที่เป็นบริษัทนายจ ้างให ้
วาดรูปแล ้วก็คิดว่าเป็นเจ ้าของลิขสิทธิ์ โดยศาล
มองว่าสภาพการทางานดังกล่าวก็ยากกาหนด
จานวนงานตั้งแต่แรก ก็ต ้องมีการประสานงาน
กรณีศึกษา: พนักงานเขียนโปรแกรม
ให ้บริษัท
• การแปลความมาตรา 9 โจทก์จาเลยเป็นลูกจ ้าง
นายจ ้าง สร ้างสรรค์โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เรื่องของ
ตัวโปรแกรมเกี่ยวกับระบบบัญชี ตัวลูกจ ้าง นายจ ้าง
ก็ใช ้โปรแกรมก็ไม่มีปัญหา ก็ลาออกจากงานไป ก็
มาฟ้องกับศาล ก็อ ้างตาม พรบ. ที่เป็นผลจากการ
พัฒนาของโจทก์ ถ ้าไม่ได ้ก็ให ้ชดใช ้ค่าเสียหาย ถ ้า
เป็นกรณีมาตรา 9 มีกรณีจ ้างงานกัน นายจ ้าง
ลิขสิทธิ์เป็นของลูกจ ้างจริง แต่ตามวัตถุประสงค์
เมื่อลูกจ ้างลาออกไป โดยกฎหมายไม่ได ้เขียนไว ้
คือจ ้างแรงงานมาจ ้างเพื่อพัฒนาโปรแกรม
• ตัวนายจ ้างก็น่าจะมีสิทธิ เวลาที่ตัวโจทก์ฟ้องไม่ได ้
กรณีศึกษา:จ ้างทาภาพคัทเอาท์
• เรื่องฏีกาพิธีคล ้องช ้างเป็นฏีกาปี 43 เขาจ ้างให ้พิธี
คล ้องช ้างพอไปจ ้างแล ้วไม่มีภาพให ้ดูบอกเพียงไอ
เดีย ก็ไปหาภาพมา ทาภาพคัทเอาท์ พิธีคล ้องช ้าง
ปัจจุบันไม่มีแล ้ว ซึ่งก็ไปหาข ้อมูลมา พอไปนัดแล ้ว
ก็มีการ ติภาพ ก็มีการพูดกันเรื่องราคา ก็ปรากฎว่า
ตัวผู้รับจ ้างคิดป้ายละห ้าหมื่นบาท สี่ป้ายก็สองแสน
บาท แต่ผู้ว่าจ ้างก็เอาไปแล ้วก็เอาภาพไปแล ้วก็เอา
มาคืนบอกว่าไม่ไหว
• ปรากฎว่าหลายวันต่อมาผู้รับจ ้างคือคนที่วาดภาพก็
ไปเจอรูปนั้น ขยายใหญ่เป็นคัทเอ๊าท์ ก็นาคดีไป
ฟ้องต่อศาลทรัพย์สินทางปัญญา เรื่องนี้
• ต ้องดูมาตรา 9 หรือ มาตรา 10 ก็ต ้องไปดู เรื่องนี้
วัตถุประสงค์ของสัญญาอนุญาตให ้
ใช ้โปรแกรม
1. โปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อการจาหน่ายและ
แสวงหากาไร
1.1 โปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อการจาหน่าย
(Commercial Software)
1.2 โปรแกรมคอมพิวเตอร์แบบทดลองใช ้(Shareware
Software หรือ Trailware)
2. โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ให ้ใช ้โดยไม่แสวงหา
กาไร
2.1 โปรแกรมคอมพิวเตอร์แบบใช ้ได ้ฟรี (Freeware
Software)
2.2 โปรแกรมคอมพิวเตอร์สาธารณะ (Public Domain
Software)
1.1 โปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อการ
จาหน่าย (Commercial Software)
• โปรแกรมคอมพิวเตอร์ประเภทนี้เป็นโปรแกรมที่
ถูกออกแบบและพัฒนาขึ้นมาเพื่อจาหน่ายและ
หากาไร เป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่ที่มี
ในท ้องตลาด
• ผู้ซื้อได ้สิทธิในการใช ้เท่านั้น โดยเจ ้าของ
ลิขสิทธิ์จะกาหนดเงื่อนไขหรือข ้อจากัดการใช ้
แตกต่างกันไป ดังนั้น ผู้ใช ้จึงต ้องอ่านสัญญา
อนุญาต (License Agreement)อย่างละเอียดก่อน
ใช ้เสมอ
• เจ ้าของลิขสิทธิ์บางรายอาจจะอนุญาตผู้ใช ้เช่น
สถาบันการศึกษาให ้ใช ้โปรแกรมคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างสัญญาโปรแกรม
คอมพิวเตอร์เพื่อการจาหน่าย
• ดูไฟล์ตัวอย่าง
1.2 โปรแกรมคอมพิวเตอร์แบบทดลอง
ใช ้
(Shareware Software หรือ Trailware)
• เจ ้าของลิขสิทธิ์โปรแกรมคอมพิวเตอร์ประเภทนี้ อนุญาตให ้
ผู้ใช ้ทดลองใช ้ได ้ก่อนตัดสินใจซื้อ โดยกาหนดระยะเวลาของ
การทดลองใช ้ไว ้อันเป็นมาตรการทางการตลาดอย่างหนึ่ง
ทั้งนี้ ไม่อนุญาตให ้ผู้ทดลองใช ้นาไปจาหน่าย หรือแสวงหา
ประโยชน์ทางการค ้าหรือหากาไร
• ผู้ใช ้สามารถดาวน์โหลดโปรแกรมคอมพิวเตอร์ประเภทนี้ได ้
จากอินเทอร์เน็ต หรือทาซ้าจากแผ่นโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ของบุคคลอื่นได ้และเมื่อตัดสินใจซื้อ ผู้ซื้อได ้รับสิทธิในการ
ใช ้เท่านั้น โดยผู้ซื้ออาจจะได ้รับการบริการด ้านเทคนิคหลัง
การขาย รวมถึงอาจได ้รับเอกสารเกี่ยวกับโปรแกรม
คอมพิวเตอร์เพิ่มเติมและอาจมีการอัพเกรด (upgrade)
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ให ้ภายหลังด ้วย
•
• กรณีการทดลองใช ้อย่างต่อเนื่อง กล่าวคือ กรณีที่ครบ
กาหนดระยะเวลาทดลองใช ้แล ้ว ผู้ใช ้ดาวน์โหลดโปรแกรม
คอมพิวเตอร์ใหม่อีกครั้งเพื่อทดลองใช ้ต่อไปเรื่อยๆ โดยไม่
1.2 โปรแกรมคอมพิวเตอร์แบบทดลอง
ใช ้ (ต่อ)
(Shareware Software หรือ Trailware)
• ลักษณะของสัญญาอนุญาตให ้ใช ้โปรแกรม
คอมพิวเตอร์ในกลุ่มนี้ (แต่ไม่ได ้เป็นข ้อกาหนดตาม
กฎหมาย) โดยทั่วไปมีดังนี้
– ผู้ใช ้อาจไม่สามารถทาซ้าโปรแกรมคอมพิวเตอร์ได ้
ยกเว ้นกรณีการทาสาเนาเพื่อเก็บไว ้ใช ้ประโยชน์ในการ
บารุงรักษาหรือป้องกันการสูญหาย และจะใช ้สาเนาที่ทา
สารอง(backup copy) ไว ้ได ้เฉพาะเมื่อโปรแกรม
คอมพิวเตอร์ต ้นฉบับสูญหาย หรือเสียหายจนไม่สามารถ
ใช ้งานได ้เท่านั้น
– ผู้ใช ้ไม่สามารถพัฒนาต่อยอดโปรแกรมคอมพิวเตอร์ได ้
เว ้นแต่ได ้รับอนุญาตจากเจ ้าของลิขสิทธิ์
– ผู้ใช ้ไม่สามารถจาหน่ายหรือโอนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ที่ซื้อมาได ้เว ้นแต่ได ้รับอนุญาตจากเจ ้าของลิขสิทธิ์
ตัวอย่างสัญญาให ้ทดลองใช ้
โปรแกรม
• ดูในไฟล์ตัวอย่าง
2.1 โปรแกรมคอมพิวเตอร์
(Freeware Software)-มีลิขสิทธิ์, อนาคต
อาจไม่ฟรี
• - โปรแกรมคอมพิวเตอร์ประเภทนี้มีลิขสิทธิ์ โดยเจ ้าของลิขสิทธิ์
จะเป็นผู้กาหนดเงื่อนไขการอนุญาตให ้ใช ้ลิขสิทธิ์โดยไม่ต้องขอ
อนุญาต ซึ่งจะมีข ้อจากัดการใช ้น้อยกว่าโปรแกรมคอมพิวเตอร์
เพื่อการจาหน่าย และโปรแกรมคอมพิวเตอร์แบบทดลองใช ้เช่น
อาจกาหนดเงื่อนไขให ้ผู้ใช ้สามารถทาซ้าได ้ฟรี แต่ห ้ามจาหน่าย
หรืออาจอนุญาตให ้บุคคลทั่วไปใช ้ได ้ยกเว ้นหน่วยราชการ เป็นต ้น
• - อาจมีการส่งมอบซอร์สโค ้ดพรัอมกับโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ผู้ใช ้
สามารถดัดแปลงหรือทาวิศวกรรมย ้อนกลับได ้
• - เจ ้าของลิขสิทธิ์มีสิทธิที่จะ เปลี่ยนแปลงเงื่อนไขการใช ้
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ประเภทนี้ที่ได ้พัฒนาออกมาใหม่ให ้เป็น
โปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อการจาหน่ายได ้
2.2 โปรแกรมคอมพิวเตอร์สาธารณะ
(Public Domain Software)-ทิ้ง/ไม่มี
ลิขสิทธิ์
• - โปรแกรมคอมพิวเตอร์ประเภทนี้เป็นโปรแกรม
คอมพิวเตอร์ที่ สาธารณชนสามารถใช ้ได ้โดย
ไม่มีข ้อจากัด เช่น โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่
ผู้พัฒนาสละลิขสิทธิ์แล ้วหรือโปรแกรม
คอมพิวเตอร์ที่หมดอายุการคุ้มครองลิขสิทธิ์แล ้ว
เป็นต ้น
• - อาจไม่มีการส่งมอบซอร์สโค ้ดพรัอมกับ
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ แต่ผู้ใช ้สามารถดัดแปลง
หรือทาวิศวกรรมย ้อนกลับได ้
• - สามารถพัฒนาต่อยอดโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ได ้โดยไม่ต ้องขออนุญาต และไม่มีเงื่อนไขใน
2.3 โปรแกรมคอมพิวเตอร์แบบรหัสเปิด
(Open-source Software)-มีลิขสิทธิ์/ให ้
เสรีภาพ
– โปรแกรมคอมพิวเตอร์ประเภทนี้มักพัฒนาขึ้นโดย
กลุ่มผู้พัฒนา (Community) มากกว่าผู้พัฒนาเพียง
คนเดียว ผู้พัฒนาจะแจกจ่ายรหัสต ้นฉบับหรือซอร์
สโค ้ด (Source Code) ไปพร ้อมกับโปรแกรม
คอมพิวเตอร์ภายใต ้เงื่อนไขของสัญญาอนุญาต
(โดยไม่ต้องขออนุญาตใช้งาน) เช่น GNU/GPL
(GNU General Public License) หรือ BSD License
(Berkeley Software Distribution License) เป็นต ้น
ส่วนใหญ่แล ้วโปรแกรมคอมพิวเตอร์แบบรหัสเปิดมัก
ให ้ดาวน์โหลดได ้ฟรีทางอินเตอร์เน็ต หรืออาจคิด
ราคาจาหน่ายแผ่นโปรแกรมคอมพิวเตอร์กรณีการ
ซื้อจากผู้จัดจาหน่ายทั่วไป ซึ่งราคาจาหน่ายนี้รวมถึง
2.3 โปรแกรมคอมพิวเตอร์แบบรหัสเปิด
(ต่อ)
(Open-source Software)
– โปรแกรมคอมพิวเตอร์ประเภทนี้จะมีซอร์สโค ้ดให ้
เสมอ ผู้ใช ้สามารถดัดแปลงหรือทาวิศวกรรม
ย ้อนกลับได ้
– สามารถพัฒนาต่อยอดโปรแกรมคอมพิวเตอร์ได ้โดย
ไม่ต ้องขออนุญาต แต่เมื่อพัฒนาต่อยอดแล ้ว จะต ้อง
ระบุที่มาของโปรแกรมคอมพิวเตอรฺ์เดิมที่ได ้ถูก
พัฒนาต่อยอดขึ้นเพื่อที่ผู้ใช ้คนหลังสามารถทราบ
ที่มาของโปรแกรมคอมพิวเตอร์นั้น และพัฒนา
โปรแกรมคอมพิวเตอร์นั้นต่อไปได ้
– เมื่อพัฒนาต่อยอดโปรแกรมคอมพิวเตอร์ประเภทนี้
แล ้ว ผู้พัฒนาอาจมีสิทธิจาหน่ายโปรแกรม
คอมพิวเตอร์ได ้ในลักษณะของคอมพิวเตอร์เพื่อการ
พาณิชย์ (Commercial Software)
• ลักษณะของสัญญาอนุญาตให ้ใช ้โปรแกรม
คอมพิวเตอร์ในกลุ่ม 2 โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่
ให ้ใช ้โดยไม่แสวงหากาไร โดยทั่วไปมีดังนี้
– สามารถดัดแปลงโปรแกรมคอมพิวเตอร์ได ้
– สามารถทาสาเนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ได ้ทั้งการ
ทาเพื่อเก็บไว ้ใช ้ประโยชน์ ในการบารุงรักษาหรือ
ป้องกันการสูญหาย และการแจกจ่าย
• ข ้อแตกต่าง
– มีลิขสิทธิ์หรือไม่มีลิขสิทธิ์
– ลิขสิทธิ์ให ้ใช ้ฟรี กาหนดเงื่อนไขใช ้งาน หรือ ให ้ใช ้
เสรี
ซอฟต์แวร์เสรี
• สามารถพัฒนาต่อยอดโปรแกรมคอมพิวเตอร์ได ้
โดยไม่ต ้องขออนุญาต เจ ้าของลิขสิทธิ์ แต่
ทั้งนี้ผู้พัฒนาต่อยอดจะต ้องยินยอมให ้โปรแกรม
คอมพิวเตอร์ที่พัฒนาต่อยอดขึ้นนั้นเป็น
โปรแกรมคอมพิวเตอร์แบบใช ้ได ้เสรีเช่นกัน
กล่าวคือ ไม่สามารถอ ้างลิขสิทธิ์ในโปรแกรม
คอมพิวเตอร์ที่พัฒนาต่อยอดขึ้นมาหรือนาไป
จาหน่ายในลักษณะที่เป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์
เพื่อ การจาหน่ายหรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์
แบบทดลองใช ้ได ้ อย่างไรก็ดี
จุดเริ่มต ้นกลุ่มซอฟต์แวร์เสรี
CopyLeft
• เริ่มจากการที่ ริชาร์ด สตอลแมน ได ้พัฒนาโปรแกรม
คอมพิวเตอร์ ตัวแปลคาสั่งภาษา Lisp ขึ้นมา ต่อมาบริษัท
ที่ชื่อว่า Symbolics ได ้ขอใช ้งานตัวแปลคาสั่งนี้ สตอล
แมนตกลงอนุญาตให ้บริษัทดังกล่าวใช ้งาน โดยมอบเป็น
สาธารณสมบัติ (public domain) คือไม่สงวนสิทธิ์ใด ๆ
เลย ในเวลาต่อมา บริษัท Symbolics ได ้แก ้ไขปรับปรุง
ความสามารถของตัวแปลคาสั่งภาษา Lisp ให ้ดีขึ้น แต่
เมื่อสตอลแมนแสดงความต ้องการที่จะเข ้าถึงส่วนที่แก ้ไข
ปรับปรุงเพิ่มเติมเหล่านั้น ก็ได ้รับการปฏิเสธจากบริษัท
• ด ้วยเหตุนี้ ในปี ค.ศ. 1984 สตอลแมนจึงได ้เริ่มแผนการ
ต่อต ้านและกาจัดพฤติกรรมและวัฒนธรรมของการหวง
แหนซอฟต์แวร์ไว ้(proprietary software) เหล่านี้ โดย
เขาได ้เรียกพฤติกรรมเหล่านี้ว่าการกักตุนซอฟต์แวร์
(software hoarding)
• เนื่องจากสตอลแมนเห็นว่าในระยะสั้น มันคงจะ
เป็นไปไม่ได ้ที่จะกาจัดกฎหมายลิขสิทธิ์ใน
ปัจจุบัน รวมถึงสิ่งที่เขามองว่าเป็นสิ่งผิดปกติให ้
หมดไปอย่างถาวร เขาจึงเลือกที่จะใช ้กลไกของ
กฎหมายที่มีอยู่มาเป็นเครื่องมือเพื่อบรรลุสิ่งที่
เขาต ้องการ เขาได ้สร ้างสัญญาอนุญาตให ้ใช ้
สิทธิ์ในแบบของเขาขึ้นมาเอง โดยสัญญา
อนุญาตที่เขาสร ้างขึ้นมาถือเป็นสัญญาอนุญาต
แบบ copyleft ตัวแรก คือ Emacs General
Public License ซึ่งต่อมาสัญญาอนุญาตนี้ก็ได ้รับ
การพัฒนาปรับปรุงจนกระทั่งกลายเป็น GNU
General Public License (GPL) ซึ่งเป็นสัญญา
ความหมายของ CopyLeft
• กอปปีเลฟต์ (อังกฤษ: Copyleft) หมายถึงกลุ่มของสัญญา
อนุญาตของสิ่งต่าง ๆ รวมทั้ง ซอฟต์แวร์ เอกสาร เพลง งาน
ศิลปะ โดยอ ้างอิงกฎหมายลิขสิทธิ์เป็นแนวเปรียบเทียบ ใน
การจากัดสิทธิในการคัดลอกงานและเผยแพร่งาน โดยสัญญา
อนุญาตกลุ่ม copyleft มอบเสรีภาพให ้ทุกคนสามารถคัดลอก
ดัดแปลง ปรับปรุง และจาหน่ายงานได ้โดยมีเงื่อนไขว่าต ้อง
ยังคงรักษาเสรีภาพเดียวกันนี้ในงานที่ดัดแปลงแก ้ไขมาจาก
งานดังกล่าว
• อาจจะมองได ้ว่าลักษณะพิเศษของ copyleft คือการที่เจ ้าของ
ลิขสิทธิ์ยอมสละสิทธิบางอย่าง (ที่ได ้รับการคุ้มครอง) ภายใต ้
กฎหมายลิขสิทธิ์แต่ไม่ทั้งหมด แทนที่เจ ้าของลิขสิทธิ์จะ
ปล่อยงานของเขาออกมาภายในพื้นที่สาธารณะโดยสมบูรณ์
(นั่นคือไม่สงวนสิทธิ์ใด ๆ) copyleft จะให ้เจ ้าของสามารถ
กาหนดข ้อจากัดหรือเงื่อนไขทางด ้านลิขสิทธิ์บางประการ
สาหรับผู้ที่ต ้องการมีส่วนร่วมในงานอันมีลิขสิทธิ์นี้ โดยถ ้าผู้นั้น
สัญลักษณ์ของ CopyLeft
• สัญลักษณ์ของ copyleft เป็นตัวอักษร c หันหลัง
กลับ (ɔ) โดยไม่ได ้มีความหมายอะไรเป็นพิเศษ
นอกจากการตรงกันข ้ามกับ copyright โดยล ้อ
กับอีกความหมายหนึ่งของคาว่า right ที่แปลว่า
ขวา
มูลนิธิซอฟต์แวร์เสรี
• มูลนิธิซอฟต์แวร์เสรี (อังกฤษ: Free Software
Foundation, ชื่อย่อ: FSF) เป็นองค์กรไม่แสวงหากาไรที่
ก่อตั้งโดย ริชาร์ด สตอลล์แมน เมื่อวันที่ 4 ตุลาคม พ.ศ.
2528 (ค.ศ. 1985) เพื่อสนับสนุนแนวทางซอฟต์แวร์เสรี
มีจุดประสงค์ต ้องการให ้สามารถเผยแพร่และแก ้ไข
ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ได ้โดยปราศจากข ้อจากัดใดๆ
มูลนิธินี้จดทะเบียนในรัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐอเมริกา
• ตั้งแต่เริ่มก่อตั้งจนถึงราวกลางคริสต์ทศวรรษที่ 1990 ทุน
ส่วนใหญ่ของมูลนิธินาไปใช ้จากนักพัฒนามาเขียน
ซอฟต์แวร์เสรีสาหรับโครงการกนู แต่นับจากกลางคริสต์
ทศวรรษที่ 1990 เป็นต ้นมา พนักงานและอาสาสมัครของ
มูลนิธิส่วนใหญ่ทางานด ้านกฎหมาย และปัญหาทาง
ตัวอย่าง Open Software และสัญญา
• สัญญาอนุญาตของสถาบันภาษาศาสตร์สากล
ซัมเมอร์ ว่าด ้วยแบบอักษรเสรี
• สัญญาอนุญาตของสถาบันภาษาศาสตร์สากล
ซัมเมอร์ ว่าด ้วยแบบอักษรเสรี (อังกฤษ: SIL Open
Font License) เป็นสัญญาอนุญาตให ้ใช ้ซอฟต์แวร์
ได ้โดยเสรี จัดร่างโดยสถาบันภาษาศาสตร์สากล
ซัมเมอร์ (อังกฤษ: SIL International) สาหรับไว ้ให ้ผู้
ถือลิขสิทธิ์ในแบบอักษรใด ๆ ใช ้ประกาศความ
อนุญาตของตนให ้ผู้อื่นสามารถใช ้แบบอักษรนั้นได ้
โดยเสรีภายในเงื่อนไขที่กาหนดไว ้ในสัญญา
อนุญาตนั้น สัญญาอนุญาตนี้นับเข ้าพวกเป็นสัญญา
อนุญาตแบบเสรีฉบับหนึ่งของมูลนิธิซอฟต์แวร์เสรี
ความเป็นมาและองค์ประกอบของ
GNU, GPL
• สัญญาอนุญาตสาธารณะทั่วไปของกนู หรือ กนู
จีพีแอล หรือ จีพีแอล (GNU General Public
License, GNU GPL, GPL) เป็นสัญญาอนุญาต
สาหรับซอฟต์แวร์เสรี ที่ได ้รับความนิยมสูงที่สุด
ในปัจจุบัน ฉบับแรกสุดเขียนโดย ริชาร์ด
สตอลล์แมน เริ่มต ้นใช ้กับโครงการกนู ในปี พ.ศ.
2534 (ค.ศ. 1991). สัญญาอนุญาตจีพีแอลใน
ปัจจุบันเป็นรุ่นที่ 3 นอกจากนี้มี สัญญาอนุญาต
สาธารณะทั่วไปแบบผ่อนปรนของกนู หรือ แอล
จีพีแอล (GNU Lesser General Public License,
ความเป็นมาและองค์ประกอบของ
GNU, GPL
• ลักษณะของสัญญาอนุญาตจีพีแอลมีลักษณะ "เสรี"
(free) ที่หมายถึงเสรีภาพสาหรับผู้ใช ้ซอฟต์แวร์สี่
ประการดังนี้
• เสรีภาพในการใช ้งาน ไม่ว่าใช ้สาหรับจุดประสงค์ใด
• เสรีภาพในการศึกษาการทางานของโปรแกรม และ
แก ้ไขโค ้ด การเข ้าถึงซอร์สโค ้ดจาเป็นสาหรับ
เสรีภาพข ้อนี้ (โอเพนซอร์ซ)
• เสรีภาพในการจาหน่ายแจกจ่ายโปรแกรม
• เสรีภาพในการปรับปรุงและเปิดให ้บุคคลทั่วไปใช ้
และพัฒนาต่อไป การเข ้าถึงซอร์สโค ้ดจาเป็น
สาหรับเสรีภาพข ้อนี้โดยมีเพียงเงื่อนไขว่า การ
นาไปใช ้หรือนาไปพัฒนาต่อ จาเป็นต ้องใช ้สัญญา
ความเป็นมาและองค์ประกอบของ
GNU, GPL
• สัญญาอนุญาตจีพีแอลเป็นสัญญาอนุญาตที่มี
การใช ้มากที่สุดในซอฟต์แวร์เสรีและซอฟต์แวร์
โอเพนซอร์ซ โดยมีการใช ้สัญญาอนุญาตจีพี
แอล 75% จาก 23,479 ซอฟต์แวร์ที่พัฒนาใน
Freshmeat เมื่อเมษายน พ.ศ. 2547 และ
ประมาณ 68% ของซอฟต์แวร์ที่พัฒนาใน
SourceForge
• ตัวอย่างซอฟต์แวร์ที่ใช ้สัญญาอนุญาตจีพีแอล
ได ้แก่ มีเดียวิกิ ไฟร์ฟอกซ์ และ phpBB
วิธีใช ้GNU
• ทาให ้โปรแกรมนั้นเป็นซอฟต์แวร์เสรีซึ่งทุก ๆ คนสามารถ
จาหน่ายจ่ายแจกและดัดแปลงแก ้ไขได ้ตามข ้อกาหนดใน
สัญญา
• วิธีการคือติดคาบอกกล่าวข ้างล่างนี้ไปกับโปรแกรมนั้น ทางที่
ปลอดภัยที่สุดคือใส่คาบอกกล่าวนี้ไว ้ในตอนต ้นของแต่ละ
source file เพื่อเป็นการแสดงถึงความปราศจากการรับประกัน
อย่างได ้ผลที่สุด และแต่ละไฟล์ควรจะมีข ้อความ "copyright"
อย่างน้อยหนึ่งบรรทัดพร ้อมทั้งบ่งชี้ว่าจะหาคาบอกกล่าว
ลิขสิทธิ์อย่างเต็มรูปแบบได ้ที่ไหน.
• This program is free software; you can redistribute it and/or
• modify it under the terms of the GNU General Public
License
• as published by the Free Software Foundation; either
version 2
• of the License, or (at your option) any later version.
วิธีใช ้GNU (ต่อ)
• This program is distributed in the hope that it will be useful,
but WITHOUT ANY WARRANTY; without even the implied
warranty ofMERCHANTABILITY or FITNESS FOR A
PARTICULAR PURPOSE. See theGNU General Public License
for more details.
• You should have received a copy of the GNU General Public
License along with this program; if not, write to the Free
Software Foundation, Inc., 59 Temple Place - Suite 330,
Boston, MA 02111-1307, USA.
• จากนั้นตามด้วยข้อมูลเพื่อการติดต่อถึงคุณทาง email และ
จดหมาย.
• ในกรณีที่โปรแกรมทางานเชิงโต้ตอบ ทาให้โปรแกรมแสดง
คาบอกกล่าวแบบข้างนี้เมื่อเริ่มต้นทางานในภาวะเชิง
โต้ตอบ:
สัญญาอนุญาตบีเอสดี
• เบิร์กลีย์ซอฟต์แวร์ดิสทริบิวชั่น (อังกฤษ: Berkeley Software
Distribution -BSD ; Berkeley Unix) เป็นระบบปฏิบัติการยูนิกซ์
ที่พัฒนาและเผยแพร่โดย มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์
เริ่มต ้นในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 70 ชื่อบีเอสดียังคงมีอยู่ใน
ระบบปฏิบัติการรุ่นใหม่ ๆ ซึ่งสืบทอดมาจากดิสทริบิวชั่นนี้ เช่น
FreeBSD, NetBSD, และ OpenBSD เป็นต ้น
• บีเอสดีจัดว่าเป็นยูนิกซ์ที่ใช ้กันแพร่หลายสาหรับคอมพิวเตอร์
ระดับเวิร์คสเตชันในยุคนั้น ทั้งนี้อาจเป็นเพราะสัญญาอนุญาต
ใช ้งานของบีเอสดีนั้นไม่ยุ่งยาก ทาให ้บริษัทอื่น ๆ นา
เทคโนโลยีไปพัฒนาในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 80 จนสร ้าง
ความคุ้นเคยในวงกว ้าง ถึงแม ้ว่าในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 90 บี
เอสดีจะถูกแทนที่ด ้วย System V รีลีส 4.x และ OSF/1 แต่ใน
ระยะหลังนี้มีการปรับปรุงและพัฒนาระบบปฏิบัติการโดยใช ้
โอเพ่นซอร์สโค ้ดของบีเอสดีเป็นแกนหลัก
ตัวอย่างสัญญาอนุญาตให ้ใช ้ดิจิตอล
คอนเทนต์
• ให ้ดูไฟล์ตัวอย่างเกี่ยวกับดนตรี, งานเขียนเพื่อ
บันทึกในสื่ออิเล็กทรอนิกส์
The End.

More Related Content

Similar to สัญญาอนุญาตให้ใช้โปรแกรม66.pptx

Rights-based Internet Governance: การอภิบาลอินเทอร์เน็ตโดยคิดจากสิทธิเป็นที่ตั้ง
Rights-based Internet Governance: การอภิบาลอินเทอร์เน็ตโดยคิดจากสิทธิเป็นที่ตั้งRights-based Internet Governance: การอภิบาลอินเทอร์เน็ตโดยคิดจากสิทธิเป็นที่ตั้ง
Rights-based Internet Governance: การอภิบาลอินเทอร์เน็ตโดยคิดจากสิทธิเป็นที่ตั้ง
Arthit Suriyawongkul
 
Digital Textbooks & Technology for Education
Digital Textbooks & Technology for EducationDigital Textbooks & Technology for Education
Digital Textbooks & Technology for Education
Boonlert Aroonpiboon
 
กฎหมายคอมพิวเตอร์1
กฎหมายคอมพิวเตอร์1กฎหมายคอมพิวเตอร์1
กฎหมายคอมพิวเตอร์1
anusorn kraiwatnussorn
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖Phonpat Songsomphao
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖
Phonpat Songsomphao
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖Phonpat Songsomphao
 
Digital Content and Website Standard
Digital Content and Website StandardDigital Content and Website Standard
Digital Content and Website StandardBoonlert Aroonpiboon
 
จรรยาบรรณการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศๅ
จรรยาบรรณการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศๅจรรยาบรรณการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศๅ
จรรยาบรรณการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศๅ
Watinee Poksup
 
Website for public_relations
Website for public_relationsWebsite for public_relations
Website for public_relationsajpeerawich
 
บทความ The evolution of AI
บทความ The evolution of AIบทความ The evolution of AI
บทความ The evolution of AI
IMC Institute
 
ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ssuseraa96d2
 
Copyright : Digital Media
Copyright : Digital MediaCopyright : Digital Media
Copyright : Digital Media
Boonlert Aroonpiboon
 
ความปลอดภัยและจริยธรรมทางด้านคอมพิวเตอร์
ความปลอดภัยและจริยธรรมทางด้านคอมพิวเตอร์ความปลอดภัยและจริยธรรมทางด้านคอมพิวเตอร์
ความปลอดภัยและจริยธรรมทางด้านคอมพิวเตอร์
ssuseraa96d2
 
Digital Standard & Web Policy
Digital Standard & Web PolicyDigital Standard & Web Policy
Digital Standard & Web Policy
Boonlert Aroonpiboon
 
Presentation ecd press conference 15 aug 2012_th
Presentation ecd press conference 15 aug 2012_thPresentation ecd press conference 15 aug 2012_th
Presentation ecd press conference 15 aug 2012_thit24hrs
 
แนวคิดและสาระสำคัญของร่างกฎหมายในชุดเศรษฐกิจดิจิทัล
แนวคิดและสาระสำคัญของร่างกฎหมายในชุดเศรษฐกิจดิจิทัลแนวคิดและสาระสำคัญของร่างกฎหมายในชุดเศรษฐกิจดิจิทัล
แนวคิดและสาระสำคัญของร่างกฎหมายในชุดเศรษฐกิจดิจิทัล
Isriya Paireepairit
 
เรื่อง อินเทอร์เน็ต
เรื่อง อินเทอร์เน็ตเรื่อง อินเทอร์เน็ต
เรื่อง อินเทอร์เน็ตstampqn
 
Interview Dip.go.th นิตยสารอุตสาหกรรมสาร
Interview Dip.go.th นิตยสารอุตสาหกรรมสารInterview Dip.go.th นิตยสารอุตสาหกรรมสาร
Interview Dip.go.th นิตยสารอุตสาหกรรมสาร
Pawoot (Pom) Pongvitayapanu
 
A12: Ramchamhang University | Law and Technology (5 Aug 2019)
A12: Ramchamhang University | Law and Technology (5 Aug 2019)A12: Ramchamhang University | Law and Technology (5 Aug 2019)
A12: Ramchamhang University | Law and Technology (5 Aug 2019)
Kullarat Phongsathaporn
 
Draft1_ICT2020_for_PublicHearing_Aug2010
Draft1_ICT2020_for_PublicHearing_Aug2010Draft1_ICT2020_for_PublicHearing_Aug2010
Draft1_ICT2020_for_PublicHearing_Aug2010ICT2020
 

Similar to สัญญาอนุญาตให้ใช้โปรแกรม66.pptx (20)

Rights-based Internet Governance: การอภิบาลอินเทอร์เน็ตโดยคิดจากสิทธิเป็นที่ตั้ง
Rights-based Internet Governance: การอภิบาลอินเทอร์เน็ตโดยคิดจากสิทธิเป็นที่ตั้งRights-based Internet Governance: การอภิบาลอินเทอร์เน็ตโดยคิดจากสิทธิเป็นที่ตั้ง
Rights-based Internet Governance: การอภิบาลอินเทอร์เน็ตโดยคิดจากสิทธิเป็นที่ตั้ง
 
Digital Textbooks & Technology for Education
Digital Textbooks & Technology for EducationDigital Textbooks & Technology for Education
Digital Textbooks & Technology for Education
 
กฎหมายคอมพิวเตอร์1
กฎหมายคอมพิวเตอร์1กฎหมายคอมพิวเตอร์1
กฎหมายคอมพิวเตอร์1
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖
 
Digital Content and Website Standard
Digital Content and Website StandardDigital Content and Website Standard
Digital Content and Website Standard
 
จรรยาบรรณการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศๅ
จรรยาบรรณการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศๅจรรยาบรรณการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศๅ
จรรยาบรรณการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศๅ
 
Website for public_relations
Website for public_relationsWebsite for public_relations
Website for public_relations
 
บทความ The evolution of AI
บทความ The evolution of AIบทความ The evolution of AI
บทความ The evolution of AI
 
ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
 
Copyright : Digital Media
Copyright : Digital MediaCopyright : Digital Media
Copyright : Digital Media
 
ความปลอดภัยและจริยธรรมทางด้านคอมพิวเตอร์
ความปลอดภัยและจริยธรรมทางด้านคอมพิวเตอร์ความปลอดภัยและจริยธรรมทางด้านคอมพิวเตอร์
ความปลอดภัยและจริยธรรมทางด้านคอมพิวเตอร์
 
Digital Standard & Web Policy
Digital Standard & Web PolicyDigital Standard & Web Policy
Digital Standard & Web Policy
 
Presentation ecd press conference 15 aug 2012_th
Presentation ecd press conference 15 aug 2012_thPresentation ecd press conference 15 aug 2012_th
Presentation ecd press conference 15 aug 2012_th
 
แนวคิดและสาระสำคัญของร่างกฎหมายในชุดเศรษฐกิจดิจิทัล
แนวคิดและสาระสำคัญของร่างกฎหมายในชุดเศรษฐกิจดิจิทัลแนวคิดและสาระสำคัญของร่างกฎหมายในชุดเศรษฐกิจดิจิทัล
แนวคิดและสาระสำคัญของร่างกฎหมายในชุดเศรษฐกิจดิจิทัล
 
เรื่อง อินเทอร์เน็ต
เรื่อง อินเทอร์เน็ตเรื่อง อินเทอร์เน็ต
เรื่อง อินเทอร์เน็ต
 
Interview Dip.go.th นิตยสารอุตสาหกรรมสาร
Interview Dip.go.th นิตยสารอุตสาหกรรมสารInterview Dip.go.th นิตยสารอุตสาหกรรมสาร
Interview Dip.go.th นิตยสารอุตสาหกรรมสาร
 
A12: Ramchamhang University | Law and Technology (5 Aug 2019)
A12: Ramchamhang University | Law and Technology (5 Aug 2019)A12: Ramchamhang University | Law and Technology (5 Aug 2019)
A12: Ramchamhang University | Law and Technology (5 Aug 2019)
 
Draft1_ICT2020_for_PublicHearing_Aug2010
Draft1_ICT2020_for_PublicHearing_Aug2010Draft1_ICT2020_for_PublicHearing_Aug2010
Draft1_ICT2020_for_PublicHearing_Aug2010
 

สัญญาอนุญาตให้ใช้โปรแกรม66.pptx

  • 2. ตีความเนื้อหา  สัญญาอนุญาตให ้ ใช ้โปรแกรม • สัญญา + อนุญาตให้ใช้ + โปรแกรม • สัญญา – มีนัยว่ามีกฎหมายรองรับ ซึ่งต ้องระบุ รายละเอียดเป็นองค์ประกอบของสัญญาในเรื่อง ทางกฎหมายเหล่านั้น • อนุญาตให้ใช้ – มีนัยของ “การเป็นเจ ้าของตาม กฎหมาย” ซึ่งสามารถให ้สิทธิการใช ้งานกับผู้อื่นได ้ “ตามกฎหมายกาหนด” – คาถามก็คือ ใคร? ให ้ใช ้อะไร? ให ้ผู้ใดใช ้? ด ้วยเงื่อนไข ใด? • โปรแกรม – ต ้องมีความชัดเจน หรือ “นิยามตาม กฎหมาย”
  • 3. เนื้อหา • ตลาดซอฟต์แวร์ • ความเป็นเจ ้าของตามพรบ.ลิขสิทธิ์และพรบ. สิทธิบัตร • โปรแกรมและดิจิตอลคอนเทนต์ • การใช ้และละเมิดโปรแกรม • สัญญาและองค์ประกอบของสัญญา • สัญญาอนุญาตให ้ใช ้โปรแกรมประเภทต่างๆ • ตัวอย่างสัญญาอนุญาตให ้ใช ้โปรแกรม • ขยายความสัญญาอนุญาตให ้ใช ้“ดิจิตอลคอน เทนต์” • ตัวอย่างสัญญาอนุญาตให ้ใช ้ดิจิตอลคอนเทนต์
  • 4. ตลาดโปรแกรมและดิจิทัลคอนเทนต์ ในไทยช่วงโควิด • https://www.krungsri.com/th/research/industry/i ndustry-outlook/Services/digital-software/IO/io- digital-software-21 • ช่วงปี 2564-2566 รายได้ของธุรกิจบริการดิจิทัล และซอฟต์แวร ์ในภาพรวมมีแนวโน้มเติบโต เพิ่มขึ้นในอัตราเฉลี่ย 10.5% ต่อปี ตามทิศทาง ของภาคธุรกิจที่เน้น • การใช ้กลยุทธ์ Digital transformation เพื่อสนอง ความต ้องการของผู้บริโภคแบบเฉพาะเจาะจง • วิถีการใช ้ชีวิตในรูปแบบใหม่ (New normal) ที่คาด ว่าจะต ้องพึ่งพาการทาธุรกรรมต่างๆ ผ่านช่องทาง ออนไลน์มากขึ้น
  • 5.
  • 7. โครงสร ้างธุรกิจซอฟต์แวร์และดิจิทัล คอนเทนต์ในไทย ช่วงก่อนและคาบเกี่ยวกับโควิด-19 • ไทยมีมูลค่ารวมกัน 3.0 แสนล ้านบาทต่อปี ในช่วงปี 2560-2562 1. ธุรกิจบริการดิจิทัลมีสัดส่วนรายได ้สูงสุดเกือบ ครึ่งหนึ่ง (โดยเฉลี่ย 49.8%) 2. รองลงไปเป็นธุรกิจซอฟต์แวร์และบริการ ซอฟต์แวร์ (สัดส่วน 40.8%) 3. ดิจิทัลคอนเทนต์ (สัดส่วน 9.4%) • ผู้ประกอบการส่วนใหญ่เป็นบริษัทคนไทยสัดส่วน ถึง 95% • โครงสร ้างตลาดโดยรวมของธุรกิจบริการดิจิทัล
  • 8. ธุรกิจที่ขยายตัว 1. บริการดิจิทัล การพัฒนาแพลตฟอร์มรูปแบบใหม่ๆ รองรับธุรกรรมออนไลน์ที่จะขยายตัวมากขึ้น ภายใต ้ โครงข่าย 5G ที่จะครอบคลุมพื้นที่ในวงกว ้าง โดยธุรกิจ E-transaction, E-retail และ E-content จะเติบโตโดด เด่นในทุกหมวดสินค ้าและบริการในชีวิตประจาวัน ส่วน เทคโนโลยีที่เกี่ยวกับการเงิน (FinTech) จะยังคง ขยายตัวต่อเนื่องตามความนิยมของ E-wallet ซึ่งเข ้ามา แทนเงินสดมากขึ้น แต่จะมีแรงกดดันด ้านการแข่งขันจาก ผู้ประกอบการที่มีจานวนมาก 2. ซอฟต์แวร ์และบริการซอฟต์แวร ์การลงทุนเพื่อรองรับ การปรับโครงสร ้างองค์กรของภาคธุรกิจ โดยเฉพาะธุรกิจ ซอฟต์แวร์ตามวัตถุประสงค์ของผู้ใช ้(Customized software) และธุรกิจบริการด ้านซอฟต์แวร์บนระบบ Cloud ผ่าน Internet (Software as a Service: SaaS) เพื่อรองรับโครงการใหม่ๆ ในการนามาพัฒนาองค์กร 3. ดิจิทัลคอนเทนต์รายได ้ที่เติบโตจะมาจากธุรกิจเกมส์ ออนไลน์เป็นหลัก ตามความนิยมที่ยังมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น
  • 9. กลุ่มบริการดิจิทัล • E-content บริการข ้อมูลต่างๆ ผ่านออนไลน์ ได ้แก่ ข่าวออนไลน์ การ ซื้อขาย E-book, E-information ตัวอย่างผู้ให ้บริการในธุรกิจนี้ที่มี ปริมาณ Traffic สูงในไทย เช่น Ookbee, Wongnai, Pantip.com เป็น ต ้น • E-transaction ธุรกรรมผ่านออนไลน์ โดยมีรายได ้จากค่าธรรมเนียม เช่น บริการจองห ้องพัก บริการโลจิสติกส์ เป็นต ้น ตัวอย่างผู้ให ้บริการ ที่มีปริมาณการใช ้งานเป็นจานวนมากในไทย เช่น Agoda (จอง ห ้องพัก) Kerry Express (บริการส่งสินค ้า) เป็นต ้น • E-retail ร ้านค ้าซื้อขายผ่านออนไลน์ รวมถึงแพลตฟอร์มตัวกลางที่มี บทบาทในการขายของผ่านออนไลน์ เช่น Lazada, Shopee, Central JD Commerce เป็นต ้น • E-entertain บริการด ้านบันเทิงผ่านออนไลน์ประเภท TV เพลง และ ภาพยนตร์ออนไลน์ ส่วนใหญ่เป็นแพลตฟอร์มให ้บริการของ ผู้ประกอบการรายใหญ่ค่ายต่างชาติ เช่น Netflix หรือ Iflix (ภาพยนตร์) Joox (เพลง) เป็นต ้น • FinTech บริการเทคโนโลยีทางการเงินผ่านออนไลน์ หรือใช ้ เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อดาเนินกิจกรรมทางการเงิน เช่น InsurTech Startup, กลุ่มบริการ E-wallet, Payment gateway, Bitcoin รวมถึงผู้
  • 10.
  • 11. SI: System Integrator SaaS: Software as a Service
  • 12.
  • 14. โอกาสของดิจิทัลไทยแลนด์หลังโค วิด 19 • https://today.techtalkthai.com/archives/6932 , 26 สิงหาคม 2563 • การปรับเปลี่ยนธุรกิจสู่ดิจิทัลของเอสเอ็มอีในไทย จะเพิ่มมูลค่า 35,000 ถึง 41,000 ล้านดอลลาร ์ ให ้กับจีดีพีของไทย ภายในปี 2567 • ภาคธุรกิจเอสเอ็มอีคิดเป็นสัดส่วน 85.5 เปอร์เซ็นต์ ของแรงงานทั้งหมดในไทย และสร ้างมูลค่าให ้จีดีพี ถึง 43% ด ้วยเหตุนี้ เอสเอ็มอีจึงมีบทบาทสาคัญ ต่อการฟื้นฟูและพัฒนาเศรษฐกิจให ้เติบโตหลัง วิกฤตโควิด • 73 เปอร์เซ็นต์ของเอสเอ็มอีในไทยมีแผนที่จะ ปรับเปลี่ยนการดาเนินงานสู่ดิจิทัล เพื่อสามารถ
  • 15. ตลาดซอฟต์แวร์และดิจิทัล 2566-68 • https://www.krungsri.com/th/research/industry/industry- outlook/services/digital-software/io/io-digital-software-2023-2025 • จะเติบโตต่อเนื่องในอัตราเฉลี่ย 19.0-20.0% (เทียบกับ 10.5% ปี 64) – บริการดิจิทัล รายได ้มีแนวโน้มเติบโตเฉลี่ย 22.0-23.0% – ซอฟต์แวร์และบริการซอฟต์แวร์ รายได ้มีแนวโน้มขยายตัว 11.0- 12.0% – ดิจิทัลคอนเทนต์: รายได ้มีแนวโน้มเติบโตดีขึ้น 13.0-14.0% • มูลค่ารวมกันโดยเฉลี่ยประมาณ 4.4 แสนล ้านบาทต่อปี ในช่วงปี 2562-2564 โดยกลุ่มธุรกิจบริการดิจิทัลมีสัดส่วน รายได ้สูงสุดกว่าครึ่งหนึ่งของรายได ้รวมในธุรกิจนี้ (โดย เฉลี่ย 60%) รองลงไปเป็นธุรกิจซอฟต์แวร์และบริการ ซอฟต์แวร์ (สัดส่วน 30%) และดิจิทัลคอนเทนต์ (สัดส่วน 10%)
  • 16.
  • 17.
  • 18.
  • 19.
  • 20. อะไรที่ควรมีในสัญญาอนุญาตให ้ ใช ้? บริการดิจิทัล, ซอฟต์แวร์, ดิจิทัล คอนเทนต์ เป็นทรัพย์สินทางปัญญา ซื้อขายกันด ้วย “สัญญาอนุญาตให ้ ใช ้”
  • 21. สิ่งที่ควรมีในสัญญาอนุญาตให ้ใช ้ • ความเป็นเจ ้าของ.. ตามพรบ.ใด • สิทธิของเจ ้าของ • ลักษณะการใช ้สิทธิและการละเมิด • การบังคับใช ้ด ้วย “นิติกรรม” ตามประมวลแพ่งฯ
  • 22. ความเป็นเจ ้าของตามพรบ.ลิขสิทธิ์ พ.ศ.2537 • มาตรา 8 โดยย่อคือ ให ้ผู้สร ้างสรรค์เป็นเจ ้าของ ลิขสิทธิ์ • มาตรา 4 ผู้สร ้างสรรค์ หมายความว่าผู้ทาหรือผู้ ก่อให ้เกิดงานสร ้างสรรค์อย่างใดอย่างหนึ่งที่ เป็นงานอันมีลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัตินี้ • มาตรา 9 ได้ลิขสิทธิ์ในฐานะลูกจ้าง (ไม่มี หนังสือตกลงกันไว้เป็ นอื่น+ไม่ใช่หน่วยงาน รัฐ) • มาตรา 10 ได้ลิขสิทธิ์ในฐานะผู้ว่าจ้าง • มาตรา 11 ได ้ลิขสิทธิ์โดยการดัดแปลงงานของ
  • 23. นิยาม “โปรแกรม” ในพรบ.ลิขสิทธิ์ • มาตรา 4 บทนิยาม – “วรรณกรรม” หมายความว่างานนิพนธ์ที่ทาขึ้นทุก ชนิด เช่น หนังสือ จุลสาร สิ่งเขียน สิ่งพิมพ์ ปาฐกถา เทศนา คาปราศรัย สุนทรพจน์ และให ้หมายความ ร่วมถึงโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด ้วย – “โปรแกรมคอมพิวเตอร์” หมายความว่า คาสั่ง ชุดคาสั่ง หรือสิ่งอื่นใดที่นาไปใช ้กับเครื่อง คอมพิวเตอร์ เพื่อให ้เครื่องคอมพิวเตอร์ทางานหรือ เพื่อให ้ได ้รับผลอย่างหนึ่งอย่างใด ทั้งนี้ไม่ว่าจะเป็น ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ลักษณะใด
  • 24. ความเป็นเจ ้าของตามพรบ.สิทธิบัตร พ.ศ.2522 • มาตรา 10 ผู้ประดิษฐ์คือผู้มีสิทธิขอรับสิทธิบัตร • มาตรา 11 สิทธิขอรับสิทธิบัตรของนายจ ้าง (มี สัญญาจ ้างที่มีวัตุถประสงค์ให ้ทาการประดิษฐ์) • มาตรา 12 บาเหน็จพิเศษของลูกจ ้าง (ประดิษฐ์ ตามสัญญาจ ้าง ก็มีสิทธิได ้รับประโยชน์จาก สิ่งประดิษฐ์ โดยยื่นต่ออธิบดีกรมทรัพย์สินทาง ปัญญา) • มาตรา 3 “การประดิษฐ์” หมายความว่า การ คิดค ้นหรือคิดทาขึ้น อันเป็นผลให ้ได ้ผลิตภัณฑ์ หรือกรรมวิธีใดขึ้นใหม่ หรือการกระทาใดใด ที่ ทาให ้ดีขึ้นซึ่งผลิตภัณฑ์หรือกรรมวิธี
  • 25. ทบทวนความแตกต่างระหว่าง ลิขสิทธิ์ กับ สิทธิบัตร • ดร.สุทธิพล ทวีชัยการ อธิบายในบรรยายปี พ.ศ.2553 ไว ้ดังนี้ • ลิขสิทธิ์ไม่ได ้คุ้มครองเรื่องความคิดหรือ แนวความคิด ไม่ว่าจะเป็นพล็อตเรื่องหรือ แนวคิดจากงานอื่นมา หรือภาพที่เราไปดูมาแต่ ไม่ได ้ลอก แล ้วมาจินตนาการแล ้ววาด ภาพอาจ เหมือนกันโดยบังเอิญ กฎหมายลิขสิทธิ์คุ้มครอง ต่างกับสิทธิบัตรที่ต ้องเป็นงานใหม่ ที่ไม่ปรากฏ มาก่อน
  • 26. กรณีศึกษา “ละครน้าเน่า” • พล็อตเรื่องที่คล ้ายๆกันที่ นางเอกจริงๆรวย แต่มี การพรากจากพ่อแล ้วเอาพินัยกรรมไปซ่อนไว ้ใน รูป นางเอกก็ปลอมตัวเป็นผู้ชายซึ่งตรงนี้ก็เป็น เรื่องแนวคิดคล ้ายๆกัน การแสดงออกซึ่ง ความคิดคล ้ายกัน บางเรื่องมีหมาเข ้าเป็นสื่อมี การเติมแต่ง สไตล์คล ้ายๆกันแต่มีรายละเอียด ไม่เหมือนกัน เพราะฉะนั้นองค์ประกอบประการ แรกต ้องมีการแสดงออกซึ่งความคิดประการที่ สองต ้องมีการสร ้างสรรค์โดยตนเอง ไม่ได ้ หมายความว่าต ้องใหม่ขนาดไม่เหมือนใครเลย
  • 27. กรณีศึกษา “พจนานุกรม” • คนเอาพจนานุกรมไปลอกเรียนไปพิมพ์ จาเลย ต่อสู้ว่า พจนานุกรมไม่ใช่งานใหม่ เป็นการเอา ศัพท์มาเรียงเฉยๆ คราวนี้ศาลก็วางหลักว่า การ ที่จะเป็นผู้สร ้างสรรค์ ความสาคัญไม่ได ้อยู่ที่ว่า งานนั้นใหม่หรือไม่ แต่อยู่ที่ว่าคนผู้นั้นได ้ ก่อให ้เกิดงานโดยความวิริยะหรือไม่ และมีต ้น กาเนิดโดยบุคคลผู้นั้น แม ้การจัดทาเป็นวิธีเดียว แต่โบราณ โจทก์ก็เป็นได ้หากการจัดทา พจนานุกรมเป็นการวิริยะอุตสาหะ โดยการ แสดงออกโดยความคิดริเริ่มจากโจทก์เอง เป็น
  • 28. กรณีศึกษา “หนังโป๊ ” • ต ้องยึดกฎหมายประเทศไทย • ตีความเป็น “สิ่งสร ้างสรรค์” หรือไม่?  ไม่ใช่ เพราะ “ผิดกฎหมาย” • มีการแสดงการร่วมเพศ เป็นภาพลามก งานจึง มิใช่สิ่งสร ้างสรรค์ จึงไม่ใช่เจ ้าของลิขสิทธิ์ • ยกฟ้อง คือแนวทางพิพากษาคดีในประเทศ ไทย
  • 29. ลักษณะสิทธิการใช ้ตามพรบ. ลิขสิทธิ์ • มาตรา 15 สิทธิแต่ผู้เดียวของเจ ้าของลิขสิทธิ์ – ทาซ้าหรือดัดแปลง – เผยแพร่ต่อสาธารณชน – ให ้เช่าต ้นฉบับหรือสาเนางานโปรแกรม, โสตทัศนวัสดุ, ภาพยนตร์, และสิ่งบันทึกเสียง – อนุญาตให ้ผู้อื่นใช ้สิทธิข ้างต ้น โดยจะกาหนด เงื่อนไขอย่างใดหรือไม่ก็ได ้แต่เงื่อนไขดังกล่าวจะ กาหนดในลักษณะที่เป็นการจากัดการแข่งขันโดย ไม่เป็นธรรมไม่ได ้ • มาตรา 16 การอนุญาตให ้ใช ้สิทธิ • มาตรา 17 การโอนลิขสิทธิ์ (ทั้งตลอดอายุ ลิขสิทธิ์ และกาหนดเวลา, ถ ้าไม่กาหนดเวลาให ้
  • 30. การละเมิดตามพรบ.ลิขสิทธิ์ • มาตรา 27 การละเมิดลิขสิทธิ์ เมื่อไม่ได ้รับการ อนุญาต ประกอบด ้วย การทาซ้าหรือดัดแปลง, เผยแพร่ต่อสาธารณชน • มาตรา 28 ทาซ้าหรือดัดแปลง, เผยแพร่ต่อ สาธารณชน, ให ้เช่าต ้นฉบับหรือสาเนางาน ดังกล่าว กรณีโสตทัศนวัสดุ ภาพยนตร์ หรือสิ่ง บันทึกเสียง • มาตรา 30 ทาซ้าหรือดัดแปลง, เผยแพร่ต่อ สาธารณชน, ให ้เช่าต ้นฉบับหรือสาเนางาน ดังกล่าว กรณีโปรแกรมคอมพิวเตอร์ • มาตรา 31 แสวงหากาไร โดยการขาย (มีไว ้เพื่อ ขายเสนอขาย เสนอให ้เช่า ให ้เช่าซื้อ หรือเสนอ
  • 31. ลักษณะสิทธิการใช ้ตามพรบ. สิทธิบัตร • มาตรา 36 สิทธิของผู้ทรงสิทธิบัตร – สิทธิในการผลิต ใช ้ขาย มีไว ้เพื่อขาย เสนอขาย หรือ นาเข ้ามาในราชอนาณาจักรซึ่งผลิตภัณฑ์ตามสิทธิบัตร – สิทธิในการใช ้กรรมวิธีตามสิทธิบัตร • มาตรา 38 การอนุญาตและโอนสิทธิ ให ้บุคคลใดใช ้ สิทธิตามสิทธิบัตร • มาตรา 48 ค่าตอบแทนในการขอใช ้สิทธิ • มาตรา 49 การเสนอค่าตอบแทนและเงื่อนไขในการ ขอใช ้สิทธิ • มาตรา 50 อธิบดีเป็นคนกาหนดค่าตอบแทนและ เงื่อนไข กรณีผู้ขอใช ้กับผู้ทรงสิทธิบัตรไม่สามารถ ตกลงกันได ้ภายในระยะเวลาที่กาหนด
  • 32. การละเมิดตามพรบ.สิทธิบัตร • มาตรา 85 การละเมิดสิทธิของผู้ทรงสิทธิ –บุคคลใดกระทาอย่างใดอย่างหนึ่งตามมาตรา 36 หรือ 63 โดยไม่ได ้รับอนุญาตจากผู้ทรง สิทธิบัตร ต ้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสองปี หรือปรับไม่เกินสี่แสนบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ
  • 33. การบังคับใช ้ตามกฎหมาย • เป็นการซื้อ-ขาย, ให ้เช่า สิทธิและทรัพย์สินตาม ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์(ร่างปี พ.ศ.2451 มีขึ้นบังคับใช ้เมื่อปี พ.ศ.2468, ตรวจ ชาระเมื่อ พ.ศ.2535) • การบังคับด ้วย “นิติกรรม” • การบังคับด ้วย “สัญญา” • บางครั้งเรียกรวมๆ ว่า “นิติกรรมสัญญา” ทั้งนี้ เนื่องจาก สิ่งที่เป็นนิติกรรมอาจไม่เป็นสัญญาก็ ได ้แต่หากเป็นสัญญาจะต ้องเป็นนิติกรรมตาม ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
  • 34. ความเป็นนิติกรรม • มาตรา 149 นิติกรรมหมายความว่า การใดใด อันทาลงโดยชอบด้วยกฎหมายและด้วยใจ สมัคร มุ่งโดยตรงต่อการผูกนิติสัมพันธ ์ขึ้น ระหว่างบุคคล เพื่อจะก่อ เปลี่ยนแปลง โอน สงวน หรือระงับซึ่งสิทธิ • มีสองประเภทคือ – นิติกรรมฝ่ ายเดียว ประกาศเจตนารมณ์ฝ่ ายเดียวก็มี ผล เช่น พินัยกรรม, สัญญาว่าจะให ้ – นิติกรรมหลายฝ่ าย
  • 35. องค์ประกอบของนิติกรรม • 1.ต้องมีการแสดงเจตนาของบุคคล • 2.ต ้องเป็นการชอบด ้วยกฎหมาย • 3.กระทาด ้วยความสมัครใจ • 4.มุ่งให ้เกิดผลทางกฎหมาย • 5.เพื่อก่อให้เกิดความเคลื่อนไหวในสิทธิ
  • 36. 1.การแสดงเจตนา • หรือการกระทาใดใดให ้ปรากฏออกมาให ้เข ้าใจ ได ้ถึงเจตนาภายในบุคคล • การแสดงเจตนาอันแจ ้งชัด – ลายลักษณ์อักษร – วาจา, ท่าทาง • การแสดงเจตนาโดยปริยาย – ลูกหยิบเกมส์ออกมาจากร ้าน พ่อทราบจึงมาจ่ายเงิน เป็นการรับรองซื้อขาย – ใช ้สินค ้าที่ไม่ได ้สั่งจากบริษัทที่ส่งมา ถือเป็นการ รับคาเสนอขาย • การแสดงเจตนาโดยการนิ่ง (โดยปกติไม่ถือเป็น
  • 37. 5.เพื่อก่อให ้เกิดการเคลื่อนไหวใน สิทธิ • ก่อสิทธิ เช่น สัญญาซื้อขาย, สัตยาบัน, พินัยกรรม ฯลฯ • เปลี่ยนแปลงสิทธิ เช่น ติดหนี้เป็นเงิน ใช ้คืนเป็น ข ้าว • การโอนสิทธิ เช่น เจ ้าหนี้ ก. โอนให ้สิทธิ ข. ทวงหนี้จาก นาย ค. เป็นต ้น • การสงวนสิทธิ คือการกระทาเพื่อรักษาสิทธิที่ตน มี เช่น หนังสือยืนยันสภาพการมีหนี้จริงของ ลูกหนี้ • การระงับสิทธิ คือการทาให ้สิทธิที่มีอยู่หมดสิ้น
  • 38. โมฆะกรรม • หมายถึงนิติกรรมนั้นเสียเปล่ามาแต่ต ้น ไม่มีผล บังคับตามกฎหมาย ไม่มีการเคลื่อนไหวสิทธิแต่ อย่างใด ถือเสมือนว่าไม่มีการทานิติกรรมนั้นแต่ อ่างใด จะฟ้องร ้องบังคับกันไม่ได ้จะให ้สัตยาบัน ก็ไม่ได ้ • ตัวอย่าง เช่น การสมรสซ ้อน • สัตยาบัน มีเพื่อให ้นิติกรรมที่เป็นโมฆียกรรม สมบูรณ์ (กล่าวภายหลัง)
  • 39.
  • 40. โมฆียะ • บกพร่องจากผู้ไร ้ความสามารถ • ความบกพร่องของเจตนา เช่น บุคคลไม่มี คุณสมบัติที่ต ้องการ , รถยนต์มีประวัติการถูกชน, ทาสัญญาเพราะถูกข่มขู่ เป็นต ้น • ทางเลือกประกอบด ้วย – บอกล ้างนิติกรรมให ้โมฆะตั้งแต่ต ้น – ทาสัตยาบันเพื่อให ้นิติกรรมมีผลตั้งแต่ต ้น
  • 41. นิยามสัญญา • สัญญาคืออะไร? ประมวลกฎหมายแพ่งและ พาณิชย์ บรรพ 2 ลักษณะ 2 ว่าด ้วยสัญญา มิได ้ให ้ คาจากัดความของสัญญาว่าคืออะไร แต่ พจนานุกรมให ้คาจากัดความไว ้ว่า “สัญญาคือความ ตกลงระหว่างบุคคลสองฝ่ ายหรือหลายฝ่ ายว่าจะ กระทาการหรือละเว ้นการอย่างใดอย่างหนึ่ง” • ดังนั้น เมื่อได ้ศึกษาถึงบทบัญญัติในลักษณะ สัญญาโดยตลอดแล ้วจึงทาให ้เข ้าใจได ้ว่า สัญญา คือ นิติกรรมสองฝ่ าย ซึ่งนิติกรรมสองฝ่ ายก็คือนิติ กรรมซึ่งมีผู้แสดงเจตนาฝ่ ายหนึ่งและผู้รับการแสดง เจตนาอีกฝ่ ายหนึ่ง หากมีเพียงผู้แสดงเจตนาแต่
  • 42. องค์ประกอบของสัญญา 1. ต ้องมีคู่สัญญา โดยมีฝ่ ายหนึ่งเป็นผู้ยื่นคาเสนอ และอีกฝ่ ายหนึ่งยื่นคาสนองตอบรับ 2. ต ้องมีการแสดงเจตนาที่สอดคล ้องกัน 3. ต ้องมีวัตถุประสงค์ของสัญญา 4. ต ้องมีแบบ หรือวิธีในการแสดงเจตนา อาจเป็น ลายลักษณ์อักษร หรือทาตามแบบสัญญาที่ กาหนดไว ้ตามกฎหมาย
  • 43. • คาเสนอ คือการแสดงเจตนาอันเป็นความ ประสงค์ของตนไปยังบุคคลภายนอกอีกฝ่ ายเพื่อ ขอให ้เขาเข ้าทาสัญญาด ้วย หรือเป็นคาขอให ้ ทาสัญญานั่นเอง คาเสนอขึงเป็นนิติกรรมฝ่ าย เดียว ต ้องมีผู้รับการแสดงเจตนา จึงจะเป็น สัญญา • คาสนอง เป็นการแสดงเจตนาตอบรับของบุคคล ผู้ได ้รับคาเสนอภายในระยะเวลาที่กาหนด เพื่อ สนองรับคาเสนอ อันเป็นสัญญาเกิดขึ้นทันที (เช่น การคลิกตอบรับคาเสนอเพื่อดาวน์โหลด
  • 44. Shrink Wrap License • ตัวอย่างสัญญาที่เกิดจากนิติกรรมที่เป็นการ แสดงเจตนา • ตัวอย่าง
  • 45.
  • 46.
  • 48. การแบ่งประเภทของสัญญามี 5 วิธี 1. สัญญาซึ่งมีผลผูกพันเฉพาะคู่สัญญากับสัญญา เพื่อประโยชน์ของบุคคลภายนอก 2. สัญญาต่างตอบแทนกับสัญญาไม่ต่างตอบ แทน 3. สัญญามีค่าตอบแทนและไม่มีค่าตอบแทน 4. สัญญาประธานกับสัญญาอุปกรณ์ (เช่น สัญญา กู้ยืม กับ สัญญาค้าประกัน) 5. สัญญาเอกเทศสัญญากับสัญญาไม่มีชื่อ
  • 49. บรรพ3: เอกเทศสัญญา ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ • ซื้อขาย (sale) ขายตามคาพรรณา (sale by description) ขายตามตัวอย่าง (sale by sample) ขายทอดตลาด (sale by auction) ขายเผื่อชอบ (sale on approval) ขายฝาก (sale with right of redemption) • แลกเปลี่ยน (exchange) • ให ้(gift) ให ้โดยเสน่หา (gratuitous ให ้โดยพินัยกรรม (gift by will) gift) • เช่าทรัพย์ (hire of property) • เช่าซื้อ (hire-purchase) • จ ้างแรงงาน (hire of service) • จ ้างทาของ (hire of work) • รับขน (carriage) • ยืม (loan) ยืมใช ้คงรูป (loan for use) ยืมใช ้สิ้นเปลือง (loan for consumption) • กู้ยืม (loan of money) • ฝากทรัพย์ (deposit) เจ ้าสานักโรงแรม (innkeeper)
  • 50. บรรพ3: เอกเทศสัญญา ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ • ค้าประกัน (suretyship) • จานอง (mortgage) • จานา (pledge) • เก็บของในคลังสินค ้า (warehousing) • ตัวแทน (agency) • นายหน้า (brokerage) • ประนีประนอมยอมความ (compromise) • การพนัน (gambling) • ขันต่อ (betting) • สลากกินแบ่ง (lottery) • บัญชีเดินสะพัด (current account) • ประกันภัย (insurance) ประกันชีวิต (life insurance) ประกันวินาศภัย (casualty insurance) • ตั๋วเงิน (bill) ตั๋วแลกเงิน (bill of exchange) ตั๋วสัญญาใช ้เงิน (promissory note) เช็ค (cheque) • หุ้นส่วน (partnership) • บริษัท (company) • สมาคม (association)
  • 51. กรณีศึกษา:ภาพวาด • เรื่องจ ้างทาของ จ ้างแรงงานก็มี 2189- 2190/2548 เป็นเรื่องการวาดภาพนก ต ้องวาด ไม่รู้กี่ชนิด วาดภาพพันกว่าภาพระยะเวลานาน พอจ ้างแล ้วสักพัก ต่อมาก็คนที่วาดภาพก็ ลาออก วันดีคืนดีก็เห็นว่าคนที่จ ้างวาดเอาภาพ ไปเผยแพร่ เรื่องนี้ก็มองว่าเป็นจ ้างแรงงานหรือ จ ้างทาของ ตัวจาเลยที่เป็นบริษัทนายจ ้างให ้ วาดรูปแล ้วก็คิดว่าเป็นเจ ้าของลิขสิทธิ์ โดยศาล มองว่าสภาพการทางานดังกล่าวก็ยากกาหนด จานวนงานตั้งแต่แรก ก็ต ้องมีการประสานงาน
  • 52. กรณีศึกษา: พนักงานเขียนโปรแกรม ให ้บริษัท • การแปลความมาตรา 9 โจทก์จาเลยเป็นลูกจ ้าง นายจ ้าง สร ้างสรรค์โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เรื่องของ ตัวโปรแกรมเกี่ยวกับระบบบัญชี ตัวลูกจ ้าง นายจ ้าง ก็ใช ้โปรแกรมก็ไม่มีปัญหา ก็ลาออกจากงานไป ก็ มาฟ้องกับศาล ก็อ ้างตาม พรบ. ที่เป็นผลจากการ พัฒนาของโจทก์ ถ ้าไม่ได ้ก็ให ้ชดใช ้ค่าเสียหาย ถ ้า เป็นกรณีมาตรา 9 มีกรณีจ ้างงานกัน นายจ ้าง ลิขสิทธิ์เป็นของลูกจ ้างจริง แต่ตามวัตถุประสงค์ เมื่อลูกจ ้างลาออกไป โดยกฎหมายไม่ได ้เขียนไว ้ คือจ ้างแรงงานมาจ ้างเพื่อพัฒนาโปรแกรม • ตัวนายจ ้างก็น่าจะมีสิทธิ เวลาที่ตัวโจทก์ฟ้องไม่ได ้
  • 53. กรณีศึกษา:จ ้างทาภาพคัทเอาท์ • เรื่องฏีกาพิธีคล ้องช ้างเป็นฏีกาปี 43 เขาจ ้างให ้พิธี คล ้องช ้างพอไปจ ้างแล ้วไม่มีภาพให ้ดูบอกเพียงไอ เดีย ก็ไปหาภาพมา ทาภาพคัทเอาท์ พิธีคล ้องช ้าง ปัจจุบันไม่มีแล ้ว ซึ่งก็ไปหาข ้อมูลมา พอไปนัดแล ้ว ก็มีการ ติภาพ ก็มีการพูดกันเรื่องราคา ก็ปรากฎว่า ตัวผู้รับจ ้างคิดป้ายละห ้าหมื่นบาท สี่ป้ายก็สองแสน บาท แต่ผู้ว่าจ ้างก็เอาไปแล ้วก็เอาภาพไปแล ้วก็เอา มาคืนบอกว่าไม่ไหว • ปรากฎว่าหลายวันต่อมาผู้รับจ ้างคือคนที่วาดภาพก็ ไปเจอรูปนั้น ขยายใหญ่เป็นคัทเอ๊าท์ ก็นาคดีไป ฟ้องต่อศาลทรัพย์สินทางปัญญา เรื่องนี้ • ต ้องดูมาตรา 9 หรือ มาตรา 10 ก็ต ้องไปดู เรื่องนี้
  • 54. วัตถุประสงค์ของสัญญาอนุญาตให ้ ใช ้โปรแกรม 1. โปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อการจาหน่ายและ แสวงหากาไร 1.1 โปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อการจาหน่าย (Commercial Software) 1.2 โปรแกรมคอมพิวเตอร์แบบทดลองใช ้(Shareware Software หรือ Trailware) 2. โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ให ้ใช ้โดยไม่แสวงหา กาไร 2.1 โปรแกรมคอมพิวเตอร์แบบใช ้ได ้ฟรี (Freeware Software) 2.2 โปรแกรมคอมพิวเตอร์สาธารณะ (Public Domain Software)
  • 55. 1.1 โปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อการ จาหน่าย (Commercial Software) • โปรแกรมคอมพิวเตอร์ประเภทนี้เป็นโปรแกรมที่ ถูกออกแบบและพัฒนาขึ้นมาเพื่อจาหน่ายและ หากาไร เป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่ที่มี ในท ้องตลาด • ผู้ซื้อได ้สิทธิในการใช ้เท่านั้น โดยเจ ้าของ ลิขสิทธิ์จะกาหนดเงื่อนไขหรือข ้อจากัดการใช ้ แตกต่างกันไป ดังนั้น ผู้ใช ้จึงต ้องอ่านสัญญา อนุญาต (License Agreement)อย่างละเอียดก่อน ใช ้เสมอ • เจ ้าของลิขสิทธิ์บางรายอาจจะอนุญาตผู้ใช ้เช่น สถาบันการศึกษาให ้ใช ้โปรแกรมคอมพิวเตอร์
  • 57. 1.2 โปรแกรมคอมพิวเตอร์แบบทดลอง ใช ้ (Shareware Software หรือ Trailware) • เจ ้าของลิขสิทธิ์โปรแกรมคอมพิวเตอร์ประเภทนี้ อนุญาตให ้ ผู้ใช ้ทดลองใช ้ได ้ก่อนตัดสินใจซื้อ โดยกาหนดระยะเวลาของ การทดลองใช ้ไว ้อันเป็นมาตรการทางการตลาดอย่างหนึ่ง ทั้งนี้ ไม่อนุญาตให ้ผู้ทดลองใช ้นาไปจาหน่าย หรือแสวงหา ประโยชน์ทางการค ้าหรือหากาไร • ผู้ใช ้สามารถดาวน์โหลดโปรแกรมคอมพิวเตอร์ประเภทนี้ได ้ จากอินเทอร์เน็ต หรือทาซ้าจากแผ่นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ของบุคคลอื่นได ้และเมื่อตัดสินใจซื้อ ผู้ซื้อได ้รับสิทธิในการ ใช ้เท่านั้น โดยผู้ซื้ออาจจะได ้รับการบริการด ้านเทคนิคหลัง การขาย รวมถึงอาจได ้รับเอกสารเกี่ยวกับโปรแกรม คอมพิวเตอร์เพิ่มเติมและอาจมีการอัพเกรด (upgrade) โปรแกรมคอมพิวเตอร์ให ้ภายหลังด ้วย • • กรณีการทดลองใช ้อย่างต่อเนื่อง กล่าวคือ กรณีที่ครบ กาหนดระยะเวลาทดลองใช ้แล ้ว ผู้ใช ้ดาวน์โหลดโปรแกรม คอมพิวเตอร์ใหม่อีกครั้งเพื่อทดลองใช ้ต่อไปเรื่อยๆ โดยไม่
  • 58. 1.2 โปรแกรมคอมพิวเตอร์แบบทดลอง ใช ้ (ต่อ) (Shareware Software หรือ Trailware) • ลักษณะของสัญญาอนุญาตให ้ใช ้โปรแกรม คอมพิวเตอร์ในกลุ่มนี้ (แต่ไม่ได ้เป็นข ้อกาหนดตาม กฎหมาย) โดยทั่วไปมีดังนี้ – ผู้ใช ้อาจไม่สามารถทาซ้าโปรแกรมคอมพิวเตอร์ได ้ ยกเว ้นกรณีการทาสาเนาเพื่อเก็บไว ้ใช ้ประโยชน์ในการ บารุงรักษาหรือป้องกันการสูญหาย และจะใช ้สาเนาที่ทา สารอง(backup copy) ไว ้ได ้เฉพาะเมื่อโปรแกรม คอมพิวเตอร์ต ้นฉบับสูญหาย หรือเสียหายจนไม่สามารถ ใช ้งานได ้เท่านั้น – ผู้ใช ้ไม่สามารถพัฒนาต่อยอดโปรแกรมคอมพิวเตอร์ได ้ เว ้นแต่ได ้รับอนุญาตจากเจ ้าของลิขสิทธิ์ – ผู้ใช ้ไม่สามารถจาหน่ายหรือโอนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ที่ซื้อมาได ้เว ้นแต่ได ้รับอนุญาตจากเจ ้าของลิขสิทธิ์
  • 60. 2.1 โปรแกรมคอมพิวเตอร์ (Freeware Software)-มีลิขสิทธิ์, อนาคต อาจไม่ฟรี • - โปรแกรมคอมพิวเตอร์ประเภทนี้มีลิขสิทธิ์ โดยเจ ้าของลิขสิทธิ์ จะเป็นผู้กาหนดเงื่อนไขการอนุญาตให ้ใช ้ลิขสิทธิ์โดยไม่ต้องขอ อนุญาต ซึ่งจะมีข ้อจากัดการใช ้น้อยกว่าโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เพื่อการจาหน่าย และโปรแกรมคอมพิวเตอร์แบบทดลองใช ้เช่น อาจกาหนดเงื่อนไขให ้ผู้ใช ้สามารถทาซ้าได ้ฟรี แต่ห ้ามจาหน่าย หรืออาจอนุญาตให ้บุคคลทั่วไปใช ้ได ้ยกเว ้นหน่วยราชการ เป็นต ้น • - อาจมีการส่งมอบซอร์สโค ้ดพรัอมกับโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ผู้ใช ้ สามารถดัดแปลงหรือทาวิศวกรรมย ้อนกลับได ้ • - เจ ้าของลิขสิทธิ์มีสิทธิที่จะ เปลี่ยนแปลงเงื่อนไขการใช ้ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ประเภทนี้ที่ได ้พัฒนาออกมาใหม่ให ้เป็น โปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อการจาหน่ายได ้
  • 61. 2.2 โปรแกรมคอมพิวเตอร์สาธารณะ (Public Domain Software)-ทิ้ง/ไม่มี ลิขสิทธิ์ • - โปรแกรมคอมพิวเตอร์ประเภทนี้เป็นโปรแกรม คอมพิวเตอร์ที่ สาธารณชนสามารถใช ้ได ้โดย ไม่มีข ้อจากัด เช่น โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ ผู้พัฒนาสละลิขสิทธิ์แล ้วหรือโปรแกรม คอมพิวเตอร์ที่หมดอายุการคุ้มครองลิขสิทธิ์แล ้ว เป็นต ้น • - อาจไม่มีการส่งมอบซอร์สโค ้ดพรัอมกับ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ แต่ผู้ใช ้สามารถดัดแปลง หรือทาวิศวกรรมย ้อนกลับได ้ • - สามารถพัฒนาต่อยอดโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ได ้โดยไม่ต ้องขออนุญาต และไม่มีเงื่อนไขใน
  • 62. 2.3 โปรแกรมคอมพิวเตอร์แบบรหัสเปิด (Open-source Software)-มีลิขสิทธิ์/ให ้ เสรีภาพ – โปรแกรมคอมพิวเตอร์ประเภทนี้มักพัฒนาขึ้นโดย กลุ่มผู้พัฒนา (Community) มากกว่าผู้พัฒนาเพียง คนเดียว ผู้พัฒนาจะแจกจ่ายรหัสต ้นฉบับหรือซอร์ สโค ้ด (Source Code) ไปพร ้อมกับโปรแกรม คอมพิวเตอร์ภายใต ้เงื่อนไขของสัญญาอนุญาต (โดยไม่ต้องขออนุญาตใช้งาน) เช่น GNU/GPL (GNU General Public License) หรือ BSD License (Berkeley Software Distribution License) เป็นต ้น ส่วนใหญ่แล ้วโปรแกรมคอมพิวเตอร์แบบรหัสเปิดมัก ให ้ดาวน์โหลดได ้ฟรีทางอินเตอร์เน็ต หรืออาจคิด ราคาจาหน่ายแผ่นโปรแกรมคอมพิวเตอร์กรณีการ ซื้อจากผู้จัดจาหน่ายทั่วไป ซึ่งราคาจาหน่ายนี้รวมถึง
  • 63. 2.3 โปรแกรมคอมพิวเตอร์แบบรหัสเปิด (ต่อ) (Open-source Software) – โปรแกรมคอมพิวเตอร์ประเภทนี้จะมีซอร์สโค ้ดให ้ เสมอ ผู้ใช ้สามารถดัดแปลงหรือทาวิศวกรรม ย ้อนกลับได ้ – สามารถพัฒนาต่อยอดโปรแกรมคอมพิวเตอร์ได ้โดย ไม่ต ้องขออนุญาต แต่เมื่อพัฒนาต่อยอดแล ้ว จะต ้อง ระบุที่มาของโปรแกรมคอมพิวเตอรฺ์เดิมที่ได ้ถูก พัฒนาต่อยอดขึ้นเพื่อที่ผู้ใช ้คนหลังสามารถทราบ ที่มาของโปรแกรมคอมพิวเตอร์นั้น และพัฒนา โปรแกรมคอมพิวเตอร์นั้นต่อไปได ้ – เมื่อพัฒนาต่อยอดโปรแกรมคอมพิวเตอร์ประเภทนี้ แล ้ว ผู้พัฒนาอาจมีสิทธิจาหน่ายโปรแกรม คอมพิวเตอร์ได ้ในลักษณะของคอมพิวเตอร์เพื่อการ พาณิชย์ (Commercial Software)
  • 64.
  • 65. • ลักษณะของสัญญาอนุญาตให ้ใช ้โปรแกรม คอมพิวเตอร์ในกลุ่ม 2 โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ ให ้ใช ้โดยไม่แสวงหากาไร โดยทั่วไปมีดังนี้ – สามารถดัดแปลงโปรแกรมคอมพิวเตอร์ได ้ – สามารถทาสาเนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ได ้ทั้งการ ทาเพื่อเก็บไว ้ใช ้ประโยชน์ ในการบารุงรักษาหรือ ป้องกันการสูญหาย และการแจกจ่าย • ข ้อแตกต่าง – มีลิขสิทธิ์หรือไม่มีลิขสิทธิ์ – ลิขสิทธิ์ให ้ใช ้ฟรี กาหนดเงื่อนไขใช ้งาน หรือ ให ้ใช ้ เสรี
  • 66. ซอฟต์แวร์เสรี • สามารถพัฒนาต่อยอดโปรแกรมคอมพิวเตอร์ได ้ โดยไม่ต ้องขออนุญาต เจ ้าของลิขสิทธิ์ แต่ ทั้งนี้ผู้พัฒนาต่อยอดจะต ้องยินยอมให ้โปรแกรม คอมพิวเตอร์ที่พัฒนาต่อยอดขึ้นนั้นเป็น โปรแกรมคอมพิวเตอร์แบบใช ้ได ้เสรีเช่นกัน กล่าวคือ ไม่สามารถอ ้างลิขสิทธิ์ในโปรแกรม คอมพิวเตอร์ที่พัฒนาต่อยอดขึ้นมาหรือนาไป จาหน่ายในลักษณะที่เป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เพื่อ การจาหน่ายหรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์ แบบทดลองใช ้ได ้ อย่างไรก็ดี
  • 67. จุดเริ่มต ้นกลุ่มซอฟต์แวร์เสรี CopyLeft • เริ่มจากการที่ ริชาร์ด สตอลแมน ได ้พัฒนาโปรแกรม คอมพิวเตอร์ ตัวแปลคาสั่งภาษา Lisp ขึ้นมา ต่อมาบริษัท ที่ชื่อว่า Symbolics ได ้ขอใช ้งานตัวแปลคาสั่งนี้ สตอล แมนตกลงอนุญาตให ้บริษัทดังกล่าวใช ้งาน โดยมอบเป็น สาธารณสมบัติ (public domain) คือไม่สงวนสิทธิ์ใด ๆ เลย ในเวลาต่อมา บริษัท Symbolics ได ้แก ้ไขปรับปรุง ความสามารถของตัวแปลคาสั่งภาษา Lisp ให ้ดีขึ้น แต่ เมื่อสตอลแมนแสดงความต ้องการที่จะเข ้าถึงส่วนที่แก ้ไข ปรับปรุงเพิ่มเติมเหล่านั้น ก็ได ้รับการปฏิเสธจากบริษัท • ด ้วยเหตุนี้ ในปี ค.ศ. 1984 สตอลแมนจึงได ้เริ่มแผนการ ต่อต ้านและกาจัดพฤติกรรมและวัฒนธรรมของการหวง แหนซอฟต์แวร์ไว ้(proprietary software) เหล่านี้ โดย เขาได ้เรียกพฤติกรรมเหล่านี้ว่าการกักตุนซอฟต์แวร์ (software hoarding)
  • 68. • เนื่องจากสตอลแมนเห็นว่าในระยะสั้น มันคงจะ เป็นไปไม่ได ้ที่จะกาจัดกฎหมายลิขสิทธิ์ใน ปัจจุบัน รวมถึงสิ่งที่เขามองว่าเป็นสิ่งผิดปกติให ้ หมดไปอย่างถาวร เขาจึงเลือกที่จะใช ้กลไกของ กฎหมายที่มีอยู่มาเป็นเครื่องมือเพื่อบรรลุสิ่งที่ เขาต ้องการ เขาได ้สร ้างสัญญาอนุญาตให ้ใช ้ สิทธิ์ในแบบของเขาขึ้นมาเอง โดยสัญญา อนุญาตที่เขาสร ้างขึ้นมาถือเป็นสัญญาอนุญาต แบบ copyleft ตัวแรก คือ Emacs General Public License ซึ่งต่อมาสัญญาอนุญาตนี้ก็ได ้รับ การพัฒนาปรับปรุงจนกระทั่งกลายเป็น GNU General Public License (GPL) ซึ่งเป็นสัญญา
  • 69. ความหมายของ CopyLeft • กอปปีเลฟต์ (อังกฤษ: Copyleft) หมายถึงกลุ่มของสัญญา อนุญาตของสิ่งต่าง ๆ รวมทั้ง ซอฟต์แวร์ เอกสาร เพลง งาน ศิลปะ โดยอ ้างอิงกฎหมายลิขสิทธิ์เป็นแนวเปรียบเทียบ ใน การจากัดสิทธิในการคัดลอกงานและเผยแพร่งาน โดยสัญญา อนุญาตกลุ่ม copyleft มอบเสรีภาพให ้ทุกคนสามารถคัดลอก ดัดแปลง ปรับปรุง และจาหน่ายงานได ้โดยมีเงื่อนไขว่าต ้อง ยังคงรักษาเสรีภาพเดียวกันนี้ในงานที่ดัดแปลงแก ้ไขมาจาก งานดังกล่าว • อาจจะมองได ้ว่าลักษณะพิเศษของ copyleft คือการที่เจ ้าของ ลิขสิทธิ์ยอมสละสิทธิบางอย่าง (ที่ได ้รับการคุ้มครอง) ภายใต ้ กฎหมายลิขสิทธิ์แต่ไม่ทั้งหมด แทนที่เจ ้าของลิขสิทธิ์จะ ปล่อยงานของเขาออกมาภายในพื้นที่สาธารณะโดยสมบูรณ์ (นั่นคือไม่สงวนสิทธิ์ใด ๆ) copyleft จะให ้เจ ้าของสามารถ กาหนดข ้อจากัดหรือเงื่อนไขทางด ้านลิขสิทธิ์บางประการ สาหรับผู้ที่ต ้องการมีส่วนร่วมในงานอันมีลิขสิทธิ์นี้ โดยถ ้าผู้นั้น
  • 70. สัญลักษณ์ของ CopyLeft • สัญลักษณ์ของ copyleft เป็นตัวอักษร c หันหลัง กลับ (ɔ) โดยไม่ได ้มีความหมายอะไรเป็นพิเศษ นอกจากการตรงกันข ้ามกับ copyright โดยล ้อ กับอีกความหมายหนึ่งของคาว่า right ที่แปลว่า ขวา
  • 71. มูลนิธิซอฟต์แวร์เสรี • มูลนิธิซอฟต์แวร์เสรี (อังกฤษ: Free Software Foundation, ชื่อย่อ: FSF) เป็นองค์กรไม่แสวงหากาไรที่ ก่อตั้งโดย ริชาร์ด สตอลล์แมน เมื่อวันที่ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2528 (ค.ศ. 1985) เพื่อสนับสนุนแนวทางซอฟต์แวร์เสรี มีจุดประสงค์ต ้องการให ้สามารถเผยแพร่และแก ้ไข ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ได ้โดยปราศจากข ้อจากัดใดๆ มูลนิธินี้จดทะเบียนในรัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐอเมริกา • ตั้งแต่เริ่มก่อตั้งจนถึงราวกลางคริสต์ทศวรรษที่ 1990 ทุน ส่วนใหญ่ของมูลนิธินาไปใช ้จากนักพัฒนามาเขียน ซอฟต์แวร์เสรีสาหรับโครงการกนู แต่นับจากกลางคริสต์ ทศวรรษที่ 1990 เป็นต ้นมา พนักงานและอาสาสมัครของ มูลนิธิส่วนใหญ่ทางานด ้านกฎหมาย และปัญหาทาง
  • 72. ตัวอย่าง Open Software และสัญญา • สัญญาอนุญาตของสถาบันภาษาศาสตร์สากล ซัมเมอร์ ว่าด ้วยแบบอักษรเสรี • สัญญาอนุญาตของสถาบันภาษาศาสตร์สากล ซัมเมอร์ ว่าด ้วยแบบอักษรเสรี (อังกฤษ: SIL Open Font License) เป็นสัญญาอนุญาตให ้ใช ้ซอฟต์แวร์ ได ้โดยเสรี จัดร่างโดยสถาบันภาษาศาสตร์สากล ซัมเมอร์ (อังกฤษ: SIL International) สาหรับไว ้ให ้ผู้ ถือลิขสิทธิ์ในแบบอักษรใด ๆ ใช ้ประกาศความ อนุญาตของตนให ้ผู้อื่นสามารถใช ้แบบอักษรนั้นได ้ โดยเสรีภายในเงื่อนไขที่กาหนดไว ้ในสัญญา อนุญาตนั้น สัญญาอนุญาตนี้นับเข ้าพวกเป็นสัญญา อนุญาตแบบเสรีฉบับหนึ่งของมูลนิธิซอฟต์แวร์เสรี
  • 73. ความเป็นมาและองค์ประกอบของ GNU, GPL • สัญญาอนุญาตสาธารณะทั่วไปของกนู หรือ กนู จีพีแอล หรือ จีพีแอล (GNU General Public License, GNU GPL, GPL) เป็นสัญญาอนุญาต สาหรับซอฟต์แวร์เสรี ที่ได ้รับความนิยมสูงที่สุด ในปัจจุบัน ฉบับแรกสุดเขียนโดย ริชาร์ด สตอลล์แมน เริ่มต ้นใช ้กับโครงการกนู ในปี พ.ศ. 2534 (ค.ศ. 1991). สัญญาอนุญาตจีพีแอลใน ปัจจุบันเป็นรุ่นที่ 3 นอกจากนี้มี สัญญาอนุญาต สาธารณะทั่วไปแบบผ่อนปรนของกนู หรือ แอล จีพีแอล (GNU Lesser General Public License,
  • 74. ความเป็นมาและองค์ประกอบของ GNU, GPL • ลักษณะของสัญญาอนุญาตจีพีแอลมีลักษณะ "เสรี" (free) ที่หมายถึงเสรีภาพสาหรับผู้ใช ้ซอฟต์แวร์สี่ ประการดังนี้ • เสรีภาพในการใช ้งาน ไม่ว่าใช ้สาหรับจุดประสงค์ใด • เสรีภาพในการศึกษาการทางานของโปรแกรม และ แก ้ไขโค ้ด การเข ้าถึงซอร์สโค ้ดจาเป็นสาหรับ เสรีภาพข ้อนี้ (โอเพนซอร์ซ) • เสรีภาพในการจาหน่ายแจกจ่ายโปรแกรม • เสรีภาพในการปรับปรุงและเปิดให ้บุคคลทั่วไปใช ้ และพัฒนาต่อไป การเข ้าถึงซอร์สโค ้ดจาเป็น สาหรับเสรีภาพข ้อนี้โดยมีเพียงเงื่อนไขว่า การ นาไปใช ้หรือนาไปพัฒนาต่อ จาเป็นต ้องใช ้สัญญา
  • 75. ความเป็นมาและองค์ประกอบของ GNU, GPL • สัญญาอนุญาตจีพีแอลเป็นสัญญาอนุญาตที่มี การใช ้มากที่สุดในซอฟต์แวร์เสรีและซอฟต์แวร์ โอเพนซอร์ซ โดยมีการใช ้สัญญาอนุญาตจีพี แอล 75% จาก 23,479 ซอฟต์แวร์ที่พัฒนาใน Freshmeat เมื่อเมษายน พ.ศ. 2547 และ ประมาณ 68% ของซอฟต์แวร์ที่พัฒนาใน SourceForge • ตัวอย่างซอฟต์แวร์ที่ใช ้สัญญาอนุญาตจีพีแอล ได ้แก่ มีเดียวิกิ ไฟร์ฟอกซ์ และ phpBB
  • 76. วิธีใช ้GNU • ทาให ้โปรแกรมนั้นเป็นซอฟต์แวร์เสรีซึ่งทุก ๆ คนสามารถ จาหน่ายจ่ายแจกและดัดแปลงแก ้ไขได ้ตามข ้อกาหนดใน สัญญา • วิธีการคือติดคาบอกกล่าวข ้างล่างนี้ไปกับโปรแกรมนั้น ทางที่ ปลอดภัยที่สุดคือใส่คาบอกกล่าวนี้ไว ้ในตอนต ้นของแต่ละ source file เพื่อเป็นการแสดงถึงความปราศจากการรับประกัน อย่างได ้ผลที่สุด และแต่ละไฟล์ควรจะมีข ้อความ "copyright" อย่างน้อยหนึ่งบรรทัดพร ้อมทั้งบ่งชี้ว่าจะหาคาบอกกล่าว ลิขสิทธิ์อย่างเต็มรูปแบบได ้ที่ไหน. • This program is free software; you can redistribute it and/or • modify it under the terms of the GNU General Public License • as published by the Free Software Foundation; either version 2 • of the License, or (at your option) any later version.
  • 77. วิธีใช ้GNU (ต่อ) • This program is distributed in the hope that it will be useful, but WITHOUT ANY WARRANTY; without even the implied warranty ofMERCHANTABILITY or FITNESS FOR A PARTICULAR PURPOSE. See theGNU General Public License for more details. • You should have received a copy of the GNU General Public License along with this program; if not, write to the Free Software Foundation, Inc., 59 Temple Place - Suite 330, Boston, MA 02111-1307, USA. • จากนั้นตามด้วยข้อมูลเพื่อการติดต่อถึงคุณทาง email และ จดหมาย. • ในกรณีที่โปรแกรมทางานเชิงโต้ตอบ ทาให้โปรแกรมแสดง คาบอกกล่าวแบบข้างนี้เมื่อเริ่มต้นทางานในภาวะเชิง โต้ตอบ:
  • 78. สัญญาอนุญาตบีเอสดี • เบิร์กลีย์ซอฟต์แวร์ดิสทริบิวชั่น (อังกฤษ: Berkeley Software Distribution -BSD ; Berkeley Unix) เป็นระบบปฏิบัติการยูนิกซ์ ที่พัฒนาและเผยแพร่โดย มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์ เริ่มต ้นในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 70 ชื่อบีเอสดียังคงมีอยู่ใน ระบบปฏิบัติการรุ่นใหม่ ๆ ซึ่งสืบทอดมาจากดิสทริบิวชั่นนี้ เช่น FreeBSD, NetBSD, และ OpenBSD เป็นต ้น • บีเอสดีจัดว่าเป็นยูนิกซ์ที่ใช ้กันแพร่หลายสาหรับคอมพิวเตอร์ ระดับเวิร์คสเตชันในยุคนั้น ทั้งนี้อาจเป็นเพราะสัญญาอนุญาต ใช ้งานของบีเอสดีนั้นไม่ยุ่งยาก ทาให ้บริษัทอื่น ๆ นา เทคโนโลยีไปพัฒนาในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 80 จนสร ้าง ความคุ้นเคยในวงกว ้าง ถึงแม ้ว่าในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 90 บี เอสดีจะถูกแทนที่ด ้วย System V รีลีส 4.x และ OSF/1 แต่ใน ระยะหลังนี้มีการปรับปรุงและพัฒนาระบบปฏิบัติการโดยใช ้ โอเพ่นซอร์สโค ้ดของบีเอสดีเป็นแกนหลัก
  • 79. ตัวอย่างสัญญาอนุญาตให ้ใช ้ดิจิตอล คอนเทนต์ • ให ้ดูไฟล์ตัวอย่างเกี่ยวกับดนตรี, งานเขียนเพื่อ บันทึกในสื่ออิเล็กทรอนิกส์