SlideShare a Scribd company logo
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2559
ชื่อโครงงาน รู้ทันมนุษย์ด้วยหลักจิตวิทยา (Now I see your mind)
ชื่อผู้ทาโครงงาน
นาย พีรพงษ์ เด่นสท้านเลขที่ 2 ชั้น มัธยมศึกษาปีที่6 ห้อง 12
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2559
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม .……
นายพีรพงษ์ เด่นสท้าน เลขที่ 2
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
รู้ทันมนุษย์ ด้วยหลักจิตวิทยา
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Now I see your mind
ประเภทโครงงาน โครงงานเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นาย พีรพงษ์ เด่นสท้าน
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2559
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
มนุษย์นั้นแตกต่างจากสัตว์ชนิดอื่นตรงที่มนุษย์นั้นถูกจัดเป็นสัตว์สังคม มีความคิดความอ่านและการแสดงออก
อย่างชัดเจน ดังนั้นการแสดงออกของมนุษย์แต่ละคนจึงแตกต่างกันไป โดยขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อมและสังคม
รอบข้างที่หล่อเลี้ยงคนคนนั้นให้เติบโตมาส่วนหนึ่ง อีกส่วนหนึ่งเองขึ้นอยู่กับความคิดและจิตใต้สานึกของคนคน
นั้น ว่าเขาคิดอย่างไร จึงแสดงออกอย่างนั้น บางคนก็แสดงออกไปโดยที่รู้ตัว แต่นั่นไม่ใช่สาหรับทุกคน สาเหตุที่
เป็นเช่นนั้นก็เพราะว่า จิตของมนุษย์นั้นแบ่งออกเป็นสามประเภท ประเภทที่หนึ่งคือจิตรู้สานึกหมายถึงภาวะจิตที่
รู้ว่าตัวเองเป็นใคร อยู่ที่ไหน กาลังทาอะไรอยู่ รู้สึกอย่างไร อารมณ์เป็นเช่นไร หรือต้องการอะไร และแสดง
พฤติกรรมที่สอดคล้องกับหลักแห่งความเป็นจริงตามหลักเหตุและผล การคิด การตัดสินใจ การมีอารมณ์ ประเภท
ที่สองคือ จิตกึ่งสานึกหมายถึงส่วนของจิตใจ ที่มิได้แสดงออกเป็นพฤติกรรม ในขณะนั้น แต่เป็นส่วนที่รู้ตัว
สามารถดึงออกมใช้ได้ทุกเมื่อที่ต้องการ มันทาหน้าที่ในการเชื่อมประสานระหว่างจิตไร้สานึกและจิตรู้สานึก คอย
ตรวจสอบสิ่งที่จิตไร้สานึกส่งมาให้กับจิตสานึก และยังทาหน้าที่เก็บกดความปรารถนาและความต้องการที่ไม่อาจ
แสดงออกมาได้ลงไปไว้ในจิตไร้สานึก และประเภทสุดท้ายคือ จิตไร้สานึกหรือที่แพร่หลายกันในนามว่า จิตใต้
สานึก มายถึงภาวะจิตที่ไม่อยู่ในภาวะที่รู้ตัวระลึกถึงไม่ได้ เป็นที่เก็บความคิดและความรู้สึกที่ถูกเก็บกดทั้งหลาย
เนื่องจากอาจถูกบังคับ หรือไม่สามารถแสดงอาการโต้ตอบได้ในขณะนั้นในที่สุดก็จะฝังลึกลงในจิตใจ จนลืมไป
ชั่วขณะ ซึ่งสิ่งต่างๆเหล่านี้บางครั้งถูกส่งออกมายังจิตสานึก โดยต้องผ่านการตรวจสอบของจิตกึ่งรู้สานึกก่อน จิต
ไร้สานึกจะเป็นส่วนของสัญชาตญาณทั้งหลาย ความพึงพอใจ ความปรารถนาต่างๆ โดยมันไม่สนใจเรื่องของ
เวลา เหตุผลหรือความขัดแย้ง จากสิ่งที่กล่าวมาจะเห็นได้ว่ามนุษย์นั้นมีจิตใจที่ยากล้าหยั่งถึง สิ่งที่เขาแสดงออก
สิ่งที่เขาทา อาจจะไม่ใช่ทั้งหมดของตัวเขา ดังนั้นเพื่อที่จะเข้าในมนุษย์ที่มีความซับซ้อนทางจิตใจข้าพเจ้าจึงได้
ศึกษาเกี่ยวกับ หลักจิตวิทยา หลักการที่ว่าด้วยพื้นฐานความคิดของมนุษย์ เพื่อที่จะเข้าใจมนุษย์ให้มากขึ้น
เพราะมนุษย์นั้นเป็นส่วนประกอบหลักที่สาคัญของสังคม เมื่อเราเข้าใจมนุษย์ เราก็จะเข้าใจสังคม เมื่อทุกๆคนใน
สังคมได้เรียนรู้ในหลักจิตวิทยา ก็จะเกิดความเข้าใจกันในสังคม จนทาให้สังคมพัฒนาขึ้น และจะทาให้ทุกๆอยู่บน
โลกใบนี้ได้อย่างมีความสุข
3
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
เพื่อให้เข้าใจพฤติกรรมการแสดงออกของมนุษย์
เพื่อเข้าใจสังคมอันมีมนุษย์เป็นส่วนประกอบหลัก
เพื่อเสริมสร้างความสามัคคีในสังคมอันเนื่องจากมนุษย์เข้าใจกันมากขึ้น
เพื่อจะได้เข้าใจตนเอง
เพื่อที่จะให้ผู้อื่นได้เข้าใจตัวเอง
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
ศึกษาพฤติกรรมมนุษย์ที่มีผลมาจากความคิดที่อยู่เบื้องลึงภายในเพื่อนาไปสู่ความเข้าใจมนุษย์
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
ปัจจัยพื้นฐานด้านจิตวิทยา ปัจจัยสาคัญอีกปัจจัยหนึ่งซึ่งมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมมนุษย์ได้แก่ ปัจจัยทางจิตวิทยา
ซึ่งมีปัจจัยย่อยอยู่หลายปัจจัย ปัจจัยทางจิตวิทยา จะทาหน้าที่ เป็นสื่อกลางในการรับรู้และตีความสิ่งเร้าก่อนที่
ร่างกายจะแสดง พฤติกรรมต่าง ๆ ปัจจัยทางจิตวิทยาที่สาคัญ ประกอบด้วย แรงจูงใจและ การเรียนรู้ 1.
แรงจูงใจ 1.1 ความหมาย ประเภทและปัจจัย แรงผลักดันจากภายในที่ทาให้ให้มนุษย์เกิดพฤติกรรมตอบสนอง
อย่าง มีทิศทางและ เป้ าหมาย เรียกว่า แรงจูงใจ คน ที่มีแรงจูงใจ ที่จะทา พฤติกรรมหนึ่งสูงกว่า จะใช้ความ
พยายามนา การกระทาไปสู่เป้ าหมายสูงกว่า คนที่มีแรงจูงใจ ต่ากว่า แรงจูงใจของมนุษย์จาแนกได้เป็น 2
ประเภทหลัก ประเภทแรก ได้แก่ แรงจูงใจทางกาย ที่ทาให้มนุษย์แสดง
4. 4 พฤติกรรมสนองความต้องการ ที่จาเป็นทางกาย เช่น หาน้า และอาหารมา ดื่มกิน เมื่อกระหายและหิว
ประเภทที่ สอง ได้แก่ แรงจูงใจทางจิตซึ่งเกี่ยวข้องกับ ความต้องการทางสังคม เช่น ความต้องการความสาเร็จ
เงิน คาชม อานาจ กลุ่มและพวก เป็นต้น ปัจจัยที่ทาให้เกิดแรงจูงใจในมนุษย์ประกอบด้วย 1.1.1 ปัจจัยทาง
ชีวภาพ ได้แก่ ความต้องการจาเป็นของชีวิต คือ อาหาร น้า ความปลอดภัย 1.1.2 ปัจจัยทางอารมณ์ เช่น ความ
ตื่นเต้น วิตกกังวล กลัว โกรธ รัก เกลียด และความรู้สึกอื่นใด ที่ให้คนมี พฤติกรรม ตั้งแต่เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่จนถึง
การฆ่าผู้อื่น 1.1.3 ปัจจัยทางความคิด เป็นปัจจัยที่กาหนดให้บุคคลกระทาในเรื่องที่คิดว่า เหมาะสมและเป็นไปได้
และตามความ คาดหวังว่า ผู้อื่นจะสนองตอบ การกระทาของตนอย่างไร 1.1.4 ปัจจัยทางสังคม เป็นปัจจัยที่กา
หนดพฤติกรรมของมนุษย์เพื่อให้สอดคล้องกับสังคม และเป็นที่ยอมรับ ของ บุคคลในสังคมนั้นด้วย การกระทา
ของผู้อื่นและผลกรรมที่ได้รับจึงทาให้เกิดการเรียนรู้พฤติกรรมทางสังคม ซึ่ง เป็นไปกฏระเบียบ และตัวแบบทาง
สังคม 1.2 ทฤษฎีแรงจูงใจ นักจิตวิทยาได้พัฒนาทฤษฎีเพื่ออธิบายถึงแรงจูงใจของมนุษย์เพื่อตอบคาถามเกี่ยวกับ
พฤติกรรมที่ปรากฏ แต่ละ ทฤษฎีมีจุดที่เป็น ความแนวคิด เกี่ยวกับพฤติกรรมของมนุษย์ที่แตกต่างกันไป ที่สาคัญ
ได้แก่ ทฤษฎีสัญชาติญาณ ทฤษฎีแรงขับ ทฤษฎีการตื่นตัว และทฤษฎีสิ่งล่อใจ 1.2.1 ทฤษฎีสัญชาติญาน
(Instinct Theory) สัญชาติญาน เป็น พฤติกรรมที่มนุษย์แสดงออกโดยอัตโนมัติ ตามธรรมชาติของชีวิต เป็น
ความพร้อม ที่จะทา พฤติกรรม ได้ในทันที เมื่อปรากฎ สิ่งเร้า เฉพาะต่อพฤติกรรมนั้น สัญชาติญาณ จึงมีความ
สาคัญต่อ ความอยู่รอด ของชีวิต ในสัตว์บางชนิด เช่นปลากัดตัวผู้จะแสดงการก้าวร้าว พร้อมต่อสู้ ทันทีที่เห็นตัว
ผู้ตัวอื่น สาหรับ ใน มนุษย์ สัญชาติญาณ อาจจะไม่แสดงออกมา อย่างชัดเจนในสัตว์ชั้นต่า แต่บุคคลสามารถ
รู้สึกได้เช่น ความใกล้ชิด ระหว่าง ชายหญิง ทาให้เกิด ความต้องการทางเพศได้พฤติกรรมนี้ไม่ต้องเรียนรู้ เป็น
รูปแบบพฤติกรรมที่ตายตัว แน่นอน ซึ่ง กาหนดมา ตามธรรมชาติจาก ปัจจัยทางชีวภาพ ในปัจจุบันการศึกษา
สัญชาตญาน เป็นเพียงต้องการ ศึกษา ลักษณะ การตอบสนอง ขั้นพื้นฐาน เพื่อความเข้าใจ พฤติกรรม เบื้องต้น
เท่านั้น 1.2.2 ทฤษฎีแรงขับ (Drive Reduction Theory) แรงขับ (Drive) เป็นกลไกภายในที่รักษาระบบทาง
สรีระ ให้คงสภาพสมดุลในเรื่องต่าง ๆ ไว้เพื่อทาให้ ร่างกายเป็น ปกติ หรืออยู่ในสภาพ โฮมิโอสแตซิส
(Homeostasis) โดยการปรับระบบให้เข้ากับ การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ทฤษฎีแรงขับอธิบายว่า เมื่อเสียสมดุล
ในระบบ โฮมิโอสแตซิส จะทาให้เกิดความต้องการ (Need) ขึ้น เป็นความ ต้องการทางชีวภาพเพื่อรักษาความ
4
คงอยู่ของชีวิต และความต้องการนี้ จะทาให้เกิด แรงขับ อีกต่อหนึ่ง แรงขับเป็น สภาวะตื่นตัว ที่พร้อมจะทา
อย่างใดอย่างหนึ่ง ให้กลับคืนสู่สภาพสมดุลเพื่อลดแรงขับนั้น (Drive Reduction) ตัวอย่างเช่น การขาดน้าใน
ร่างกาย จะทาให้เสียสมดุลทางเคมี ในเลือด เกิดความต้องการเพิ่มน้า ใน ร่างกาย แรงขับ ที่เกิดจากต้องการน้า
คือ ความกระหาย จูงใจให้เราดื่มน้าหรือหาน้ามาดื่ม หลังจากดื่มสม ความ ต้องการแล้ว แรงขับก็ลดลง กล่าวได้
ว่า แรงขับผลักดันให้คนเรามีพฤติกรรม ตอบสนอง ความต้องการ เพื่อทาให้ แรงขับ ลดลงสาหรับที่ร่างกาย จะ
ได้กลับสู่ สภาพสมดุล อีกครั้งหนึ่ง
5. 5 แรงขับ แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท คือ แรงขับปฐมภูมิ (Primary Drive) และ แรงขับทุติยภูมิ
(Secondary Drive) แรงขับที่เกิดจาก ความต้องการพื้นฐานทางชีวภาพ เช่น ความต้องการอาหาร น้า ความ
ต้องการและแรงขับประเภท นี้ เกิดขึ้นเองโดยไม่ต้องเรียนรู้ เป็นแรงขับ ประเภทปฐมภูมิ ส่วนแรงขับทุติยภูมิ เป็น
แรงขับที่เกิดขึ้นจากการเรียนรู้ แรงขับประเภทนี้ เมื่อเกิดแล้วจะจูงใจคนให้กระทาสิ่งต่าง ๆ เพื่อตอบสนองความ
ต้องการอย่างไม่มีวันสิ้นสุด เช่น คนเรียนรู้ว่า เงินมีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกับการสนองความต้องการอาหาร ที่อยู่
อาศัยและอื่น ๆ อีกมาก การไม่มี เงิน จึงเป็นแรงขับทุติยภูมิสามารถจูงใจให้คนกระทาพฤติกรรมต่าง ๆ เพื่อให้ได้
เงินมาตั้งแต่การทางานหนัก จนถึง การทา สิ่งที่ผิดกฎหมาย เช่น การปล้นธนาคาร 1.2.3 ทฤษฎีการตื่นตัว
(Arousal Theory) มนุษย์ถูกจูงใจให้กระทาพฤติกรรมบางอย่าง เพื่อรักษาระดับการตื่นตัวที่พอเหมาะ
(Optimal level of arousal) เมื่อมี ระดับการตื่นตัวต่าลง ก็จะถูกกระตุ้นให้เพิ่มขึ้น และเมื่อการตื่นตัวมี
ระดับสูงเกินไปก็จะถูกดึงให้ลดลง เช่น เมื่อ รู้สึกเบื่อคน จะแสวงหาการกระทาที่ตื่นเต้น เมื่อตื่นเต้นเร้าใจมานาน
ระยะหนึ่ง จะต้องการพักผ่อน เป็นต้น คนแต่ ละคนจะมีระดับการตื่นตัวที่พอเหมาะแตกต่างกัน การตื่นตัวคือ
ระดับการทางานที่เกิดขึ้นในหลาย ๆ ระบบของร่างกาย สามารถวัดระดับการทางานนี้ได้จากคลื่น สมอง การเต้น
ของหัวใจ การเกร็งของกล้ามเนื้อ หรือจากสภาวะของอวัยวะต่าง ๆ ขณะที่หลับสนิทระดับการตื่นตัว จะต่าที่สุด
และสูงสุดเมื่อตกใจหรือตื่นเต้นสุดขีด การตื่นตัวเพิ่มขึ้นได้จากความหิว กระหายน้าหรือแรงขับทาง ชีวภาพอื่น ๆ
หรือจากสิ่งเร้าที่เข้มข้น รุนแรง เหตุการณ์ไม่คาดหวังไว้ก่อน หรือจากสารกระตุ้นในกาแฟ และยาบาง ชนิด การ
ทางานจะที่มีประสิทธิภาพสูง เมื่อมีระดับการตื่นตัวปานกลาง ระดับการตื่นตัวที่สูงเกินไปจะรบกวนความใส่ใจ
การรับรู้ การคิด สมาธิ กล้ามเนื้อทางานประสานกันได้ยาก เมื่อระดับการตื่นตัวต่า คนเราทางานที่ยากและมี
รายละเอียดได้ดี แต่ถ้าเป็นงานที่ง่ายจะทาได้ดีเมื่อระดับ การตื่นตัวสูง คนที่มีระดับการตื่นตัวสูงเป็นนิสัย มักสูบ
บุหรี่ ดื่มสุรา กินอาหารรสจัด ฟังดนตรีเสียงดัง มีความถี่เรื่องเพศสัมพันธ์ ชอบการเสี่ยงและลองเรื่องใหม่ ๆ ส่วน
คนที่มีระดับการตื่นตัวต่าเป็นปกติ มักมีพฤติกรรมที่ไม่เร้าใจมากนัก ไม่ชอบการเสี่ยง ความแตกต่างในระดับ
พอเหมาะของการตื่นตัว เกิดจากพื้นฐานทางชีวภาพเป็นเรื่องหลัก และทาให้มีบุคลิกภาพแตกต่างกันไปด้วย
1.2.4 ทฤษฎีสิ่งจูงใจ (Incentive Theory) ปัจจัยภายนอกหรือสิ่งแวดล้อมที่จูงใจจะดึงดูดให้คนมุ่งไปหาสิ่งนั้น
มนุษย์กระทากิจกรรมต่าง ๆ เพื่อแสวงหาสิ่งที่ พอใจ (Positive Incentives) เช่น รางวัล คายกย่อง สิทธิพิเศษ
และหลีกเลี่ยงสิ่งที่ไม่พอใจ (Negative Incentives) เช่น ถูกลงโทษ ถูกตาหนิ ทาให้เจ็บกาย การที่คนมี
พฤติกรรมแตกต่างกัน หรือพฤติกรรมเปลี่ยนแปลงไป ขึ้นอยู่กับ ความแตกต่างในคุณค่า (Values) ของสิ่งจูงใจ
ถ้าคิดว่าการกระทาอย่างใด อย่างหนึ่ง จะได้รับผลคุ้มค่าก็จะมี แรงจูงใจให้บุคคลกระทาอย่างนั้น 2. การเรียนรู้
การเรียนรู้เป็นกระบวนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม และ การปรับพฤติกรรมของมนุษย์ที่เกิดขึ้นจาก ประสบการณ์
หรือมี ปฏิสัมพันธ์ กับ สิ่งแวดล้อม พฤติกรรมการเรียนรู้เกิดขึ้นเมื่อพฤติกรรมมี ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้า กับ
การ ตอบสนองต่อสิ่งเร้า หลักการเรียนรู้ ที่สาคัญได้แก่ การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิก การวางเงื่อนไขปฏิบัติการ
และ หลักการเรียนรู้ทางสังคม
6. 6 2.1 การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิกของ พาฟลอฟ (Pavlov) แนวคิดนี้เชื่อว่า มนุษย์ถูกวางเงื่อนไขเพื่อให้
แสดง พฤติกรรมตอบสนองต่อสิ่งเร้าได้ตามรูปอยู่ตลอดเวลา เงื่อนไข จะถูกวาง ในขณะที่มีสิ่งเร้าอื่น ที่มีอิทธิพล
ต่อการกระตุ้นเร้าอินทรีย์อยู่ ทาให้มี พฤติกรรมตอบสนองต่อสิ่งเร้า ทั้ง สอง อย่างพร้อม ๆ กัน เมื่ออินทรีย์เกิด
การเรียนรู้ก็จะทาให้ ตอบสนองต่อสิ่งเร้าที่ถูก วางเงื่อนไขไว้ได้นอกจากนี้ การตอบสนองต่อสิ่งเร้า ยังสามารถ แผ่
5
ขยายไปยังสิ่งเร้าอื่น ๆ ที่มีลักษณะคล้ายคลึงกัน ได้อีกด้วย หลักการนี้ ทาให้ เข้าใจ เรื่องความรู้สึก หรือ อารมณ์
ของบุคคล ที่ไม่อาจหักห้ามได้เมื่อเจอสิ่งเร้าบางอย่าง เช่น กลัวสิ่งที่ไม่ อันตราย รู้สึกขยะแขยงต่อสิ่งที่ น่าเกลียด
เป็นเพราะ ถูกวางเงื่อนไขต่อสิ่งนั้น มาในอดีตตั้งแต่วัยเด็ก 2.2 การวางเงื่อนไขปฎิบัติการของ สกินเนอร์
(Skinner) การวางเงื่อนไขอีกลักษณะหนึ่ง เป็นการวางเงื่อนไขที่เกิดจากแรงขับ ที่ทาให้อินทรีย์ปฏิบัติการ เป็น
การเกิด พฤติกรรม โดยวางเงื่อนไขระหว่าง พฤติกรรมการตอบสนองต่อสิ่งเร้า กับ ผลกรรม (Consequence)
ของ พฤติกรรม นั้น พฤติกรรมใด ที่ได้รับ ผลกรรม เป็นที่พึงพอใจ พฤติกรรมนั้น มีแนวโน้มที่จะเกิดขึ้น ต่อสิ่งเร้า
อย่าง เดียวกัน อีกในโอกาสต่อไป ส่วนพฤติกรรมใดที่ได้รับผลกรรม ไม่เป็นที่พึงพอใจ พฤติกรรมนั้นมี แนวโน้ม
ที่จะ ยุติลงได้ผลกรรมจะมีลักษณะ เป็นการเสริมแรง พฤติกรรมมี ทั้งรางวัลและการลงโทษ การที่มนุษย์ส่วนมาก
แสดง พฤติกรรม ที่ให้ผลกรรม เป็นรางวัล และงดแสดงพฤติกรรมที่อาจถูกลงโทษ หรืองด พฤติกรรม ที่ไม่ได้
รางวัลแล ะแสดงพฤติกรรม เพื่อ หลีกเลี่ยงการถูก ลงโทษเป็นไปตาม ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบปฏิบัติการ 2.3
การเรียนรู้ด้วยการหยั่งเห็น (Insight Learning) การหยั่งเห็น เป็น พฤติกรรม ที่เกิดขึ้นในสัตว์ชั้นสูง เนื่องจากมี
ความซับซ้อนใน ด้านการคิด และ การแก้ปัญหา เพื่อให้เกิด ผลลัพธ์ที่ต้องการ นักจิตวิทยา ตามแนวคิดนี้ท่าน
หนึ่งชื่อ โคห์เลอร์ (Kohler) ได้ทาการศึกษา กระบวนการแก้ปัญหา ของลิง ในการหยิบอาหารที่อยู่นอกกรง
พบว่าลิงมี แบบแผนของการคิด ที่เชื่อมโยงกับ สภาพการณ์ที่ปรากฏอยู่ต่อหน้าในขณะนั้น และเลือกที่จะทา
พฤติกรรมที่น่าจะเหมาะสมที่สุด และเมื่อศึกษา ต่อ กับ มนุษย์ก็พบผลในทานองเดียวกัน ตามทฤษฎีนี้ การ
ตอบสนองต่อสิ่งเร้าของบุคคล สามารถกระทาได้หลาย รูปแบบ ขึ้นอยู่กับ กระบวนการคิดของคนผู้นั้น รูปแบบที่
ตอบสนอง แล้วได้ผลดีที่สุดจะเป็นแสดงความฉลาดของ สติปัญญาของมนุษย์ 2.4 การเรียนรู้ทางสังคม การ
เรียนรู้ทางสังคม เป็นรูปแบบการเรียนรู้ที่กล่าวว่า พฤติกรรมของคนเราส่วนใหญ่เกิดจาก การสังเกตตัวแบบ แล้ว
ลอกเลียนพฤติกรรม ของตัวแบบ เฉพาะที่ตัวแบบได้รับการเสริมแรงเป็นรางวัล โดยที่ไม่จาเป็น ที่จะต้องทา ตาม
แบบในทันที แต่อาจจะเก็บจาไว้ไปคิด หรือทดสอบ ดูก่อนก็ได้การที่ได้สังเกตตัวแบบเป็นเวลานาน เช่น ลูก จะมี
พ่อแม่เป็นตัวแบบ การเรียนรู้และจะทาตามอย่าง พ่อแม่โดยไม่รู้ตัว เพราะ การเรียนรู้ แบบนี้จะแฝงอยู่ใน
ความคิดก่อนที่จะแสดงออกมาให้เด่นชัด พฤติกรรมของบุคคลหลายอย่างเกิดจาก การกระทาตามตัวแบบ ที่เขา
นิยมชมชอบ เช่น เพื่อน ดาราภาพยนตร์ นักร้อง นักกีฬา บุคคลที่มีชื่อเสียง พฤติกรรมการเรียนรู้ทางสังคม เกิด
จาก กระบวนการเรียนรู้ ขั้น พื้นฐาน และส่วนใหญ่เกิดจาก ปัจจัยภายนอก การเรียนรู้ทางสังคม จึงสามารถ ถูก
ปรับเปลี่ยนไปได้ตามลักษณะของ การเสริมแรง การสังเกต ตัวแบบ พัฒนาการที่สูงขึ้น ระดับความคาดหวัง
ค่านิยม และรูปแบบการคิด (วินัย เพชรช่วยและคณะ, 2543)
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
1.ค้นคว้าหาข้อมูล 2.สัมภาษณ์จิตแพทย์(หากเป็นไปได้)
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
1.คอมพิวเตอร์ 2.อินเตอร์เน็ท 3.หนังสือ
งบประมาณ
0-500บาท
6
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน พีรพงษ์
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล พีรพงษ์
3 จัดทาโครงร่างงาน พีรพงษ์
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
ผู้จัดทาเข้าใจมนุษย์และสังคมมากขึ้น แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
สถานที่ดาเนินการ
-โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย -บ้านผู้จัดทา -โรงพยาบาล
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
-วิทยาศาสตร์ -สุขะศึกษา
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
http://www.novabizz.com/NovaAce/psychology.htm
http://www.novabizz.com/NovaAce/Behavior/Factor_Psyco.htm

More Related Content

Viewers also liked

Presentazione Progetto Was uns bewegt
Presentazione Progetto Was uns bewegtPresentazione Progetto Was uns bewegt
Presentazione Progetto Was uns bewegt
Piero Pavanini
 
Elena va de compras
Elena va de comprasElena va de compras
Elena va de compras
Cristina Mella
 
Tecnico Industrial
Tecnico IndustrialTecnico Industrial
Tecnico Industrial
maria ospina
 
Historias con gifs
Historias con gifsHistorias con gifs
Historias con gifs
Cristina Mella
 
Android & Kotlin - The code awakens #02
Android & Kotlin - The code awakens #02Android & Kotlin - The code awakens #02
Android & Kotlin - The code awakens #02
Omar Miatello
 
Digital citizenship
Digital citizenshipDigital citizenship
Digital citizenship
Djs Solutions
 
CV.
CV.CV.
Fuentes y características del currículum
Fuentes y características del currículumFuentes y características del currículum
Fuentes y características del currículum
Ldalvarez1979
 
technology-presentation-2016
technology-presentation-2016technology-presentation-2016
technology-presentation-2016
John Flynn, NIGP-CPP, CPPO, CPPB
 
Matriz foda de subway
Matriz foda de subwayMatriz foda de subway
Matriz foda de subway
Fermin toro
 
E learning
E learningE learning
Matriz foda
Matriz foda Matriz foda
Matriz foda
Fermin toro
 
DBurgess Master CV 1.7
DBurgess Master CV 1.7DBurgess Master CV 1.7
DBurgess Master CV 1.7
Daniel Burgess
 
Cavilam Alliance Française, Vichy - Adriana Vaio
Cavilam Alliance Française, Vichy - Adriana VaioCavilam Alliance Française, Vichy - Adriana Vaio
Cavilam Alliance Française, Vichy - Adriana Vaio
Piero Pavanini
 

Viewers also liked (14)

Presentazione Progetto Was uns bewegt
Presentazione Progetto Was uns bewegtPresentazione Progetto Was uns bewegt
Presentazione Progetto Was uns bewegt
 
Elena va de compras
Elena va de comprasElena va de compras
Elena va de compras
 
Tecnico Industrial
Tecnico IndustrialTecnico Industrial
Tecnico Industrial
 
Historias con gifs
Historias con gifsHistorias con gifs
Historias con gifs
 
Android & Kotlin - The code awakens #02
Android & Kotlin - The code awakens #02Android & Kotlin - The code awakens #02
Android & Kotlin - The code awakens #02
 
Digital citizenship
Digital citizenshipDigital citizenship
Digital citizenship
 
CV.
CV.CV.
CV.
 
Fuentes y características del currículum
Fuentes y características del currículumFuentes y características del currículum
Fuentes y características del currículum
 
technology-presentation-2016
technology-presentation-2016technology-presentation-2016
technology-presentation-2016
 
Matriz foda de subway
Matriz foda de subwayMatriz foda de subway
Matriz foda de subway
 
E learning
E learningE learning
E learning
 
Matriz foda
Matriz foda Matriz foda
Matriz foda
 
DBurgess Master CV 1.7
DBurgess Master CV 1.7DBurgess Master CV 1.7
DBurgess Master CV 1.7
 
Cavilam Alliance Française, Vichy - Adriana Vaio
Cavilam Alliance Française, Vichy - Adriana VaioCavilam Alliance Française, Vichy - Adriana Vaio
Cavilam Alliance Française, Vichy - Adriana Vaio
 

Similar to ใบงานที่6-โครงร่างโครงงาน

Com term2
Com term2Com term2
Com term2
NarawadeeJaemsri
 
2561 project com
2561 project com2561 project com
2561 project com
PittakamonPetai
 
Fill
FillFill
โครงงานการทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
โครงงานการทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์โครงงานการทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
โครงงานการทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
bamhattamanee
 
ขื่อโครงงาน การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
ขื่อโครงงาน             การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์ขื่อโครงงาน             การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
ขื่อโครงงาน การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
bamhattamanee
 
2562 final-project 23-40
2562 final-project 23-402562 final-project 23-40
2562 final-project 23-40
mearnfunTamonwan
 
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์.
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์.การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์.
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์.
bamhattamanee
 
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์2.
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์2.การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์2.
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์2.
bamhattamanee
 
Benyapa 607 35
Benyapa 607 35Benyapa 607 35
Benyapa 607 35
MMM_benyapa
 
Work 1 piyathida
Work 1 piyathidaWork 1 piyathida
Work 1 piyathida
asirwa04
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ปราณปริยา สุขเสริฐ
 
2562 final-project panic
2562 final-project panic2562 final-project panic
2562 final-project panic
WiwattaneeThongcham1
 
โครงร่างบีม
โครงร่างบีมโครงร่างบีม
โครงร่างบีม
eyecosmomo
 
2562 final-project panic1
2562 final-project panic12562 final-project panic1
2562 final-project panic1
WiwattaneeThongcham1
 
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
bamhattamanee
 
2562 final-project 11-thunyarat
2562 final-project 11-thunyarat2562 final-project 11-thunyarat
2562 final-project 11-thunyarat
thunyaratnatai
 
2562 final-project 11-thunyarat
2562 final-project 11-thunyarat2562 final-project 11-thunyarat
2562 final-project 11-thunyarat
thunyaratnatai
 

Similar to ใบงานที่6-โครงร่างโครงงาน (20)

Com term2
Com term2Com term2
Com term2
 
2561 project com
2561 project com2561 project com
2561 project com
 
Fill
FillFill
Fill
 
โครงงานการทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
โครงงานการทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์โครงงานการทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
โครงงานการทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
 
ขื่อโครงงาน การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
ขื่อโครงงาน             การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์ขื่อโครงงาน             การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
ขื่อโครงงาน การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
 
2562 final-project 23-40
2562 final-project 23-402562 final-project 23-40
2562 final-project 23-40
 
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์.
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์.การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์.
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์.
 
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์2.
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์2.การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์2.
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์2.
 
Benyapa 607 35
Benyapa 607 35Benyapa 607 35
Benyapa 607 35
 
2561 project -2
2561 project -22561 project -2
2561 project -2
 
Work 1 piyathida
Work 1 piyathidaWork 1 piyathida
Work 1 piyathida
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2562 final-project panic
2562 final-project panic2562 final-project panic
2562 final-project panic
 
โครงร่างบีม
โครงร่างบีมโครงร่างบีม
โครงร่างบีม
 
2562 final-project panic1
2562 final-project panic12562 final-project panic1
2562 final-project panic1
 
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
2562 final-project 11-thunyarat
2562 final-project 11-thunyarat2562 final-project 11-thunyarat
2562 final-project 11-thunyarat
 
2562 final-project 11-thunyarat
2562 final-project 11-thunyarat2562 final-project 11-thunyarat
2562 final-project 11-thunyarat
 

ใบงานที่6-โครงร่างโครงงาน

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2559 ชื่อโครงงาน รู้ทันมนุษย์ด้วยหลักจิตวิทยา (Now I see your mind) ชื่อผู้ทาโครงงาน นาย พีรพงษ์ เด่นสท้านเลขที่ 2 ชั้น มัธยมศึกษาปีที่6 ห้อง 12 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2559 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม .…… นายพีรพงษ์ เด่นสท้าน เลขที่ 2 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) รู้ทันมนุษย์ ด้วยหลักจิตวิทยา ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Now I see your mind ประเภทโครงงาน โครงงานเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นาย พีรพงษ์ เด่นสท้าน ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2559 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) มนุษย์นั้นแตกต่างจากสัตว์ชนิดอื่นตรงที่มนุษย์นั้นถูกจัดเป็นสัตว์สังคม มีความคิดความอ่านและการแสดงออก อย่างชัดเจน ดังนั้นการแสดงออกของมนุษย์แต่ละคนจึงแตกต่างกันไป โดยขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อมและสังคม รอบข้างที่หล่อเลี้ยงคนคนนั้นให้เติบโตมาส่วนหนึ่ง อีกส่วนหนึ่งเองขึ้นอยู่กับความคิดและจิตใต้สานึกของคนคน นั้น ว่าเขาคิดอย่างไร จึงแสดงออกอย่างนั้น บางคนก็แสดงออกไปโดยที่รู้ตัว แต่นั่นไม่ใช่สาหรับทุกคน สาเหตุที่ เป็นเช่นนั้นก็เพราะว่า จิตของมนุษย์นั้นแบ่งออกเป็นสามประเภท ประเภทที่หนึ่งคือจิตรู้สานึกหมายถึงภาวะจิตที่ รู้ว่าตัวเองเป็นใคร อยู่ที่ไหน กาลังทาอะไรอยู่ รู้สึกอย่างไร อารมณ์เป็นเช่นไร หรือต้องการอะไร และแสดง พฤติกรรมที่สอดคล้องกับหลักแห่งความเป็นจริงตามหลักเหตุและผล การคิด การตัดสินใจ การมีอารมณ์ ประเภท ที่สองคือ จิตกึ่งสานึกหมายถึงส่วนของจิตใจ ที่มิได้แสดงออกเป็นพฤติกรรม ในขณะนั้น แต่เป็นส่วนที่รู้ตัว สามารถดึงออกมใช้ได้ทุกเมื่อที่ต้องการ มันทาหน้าที่ในการเชื่อมประสานระหว่างจิตไร้สานึกและจิตรู้สานึก คอย ตรวจสอบสิ่งที่จิตไร้สานึกส่งมาให้กับจิตสานึก และยังทาหน้าที่เก็บกดความปรารถนาและความต้องการที่ไม่อาจ แสดงออกมาได้ลงไปไว้ในจิตไร้สานึก และประเภทสุดท้ายคือ จิตไร้สานึกหรือที่แพร่หลายกันในนามว่า จิตใต้ สานึก มายถึงภาวะจิตที่ไม่อยู่ในภาวะที่รู้ตัวระลึกถึงไม่ได้ เป็นที่เก็บความคิดและความรู้สึกที่ถูกเก็บกดทั้งหลาย เนื่องจากอาจถูกบังคับ หรือไม่สามารถแสดงอาการโต้ตอบได้ในขณะนั้นในที่สุดก็จะฝังลึกลงในจิตใจ จนลืมไป ชั่วขณะ ซึ่งสิ่งต่างๆเหล่านี้บางครั้งถูกส่งออกมายังจิตสานึก โดยต้องผ่านการตรวจสอบของจิตกึ่งรู้สานึกก่อน จิต ไร้สานึกจะเป็นส่วนของสัญชาตญาณทั้งหลาย ความพึงพอใจ ความปรารถนาต่างๆ โดยมันไม่สนใจเรื่องของ เวลา เหตุผลหรือความขัดแย้ง จากสิ่งที่กล่าวมาจะเห็นได้ว่ามนุษย์นั้นมีจิตใจที่ยากล้าหยั่งถึง สิ่งที่เขาแสดงออก สิ่งที่เขาทา อาจจะไม่ใช่ทั้งหมดของตัวเขา ดังนั้นเพื่อที่จะเข้าในมนุษย์ที่มีความซับซ้อนทางจิตใจข้าพเจ้าจึงได้ ศึกษาเกี่ยวกับ หลักจิตวิทยา หลักการที่ว่าด้วยพื้นฐานความคิดของมนุษย์ เพื่อที่จะเข้าใจมนุษย์ให้มากขึ้น เพราะมนุษย์นั้นเป็นส่วนประกอบหลักที่สาคัญของสังคม เมื่อเราเข้าใจมนุษย์ เราก็จะเข้าใจสังคม เมื่อทุกๆคนใน สังคมได้เรียนรู้ในหลักจิตวิทยา ก็จะเกิดความเข้าใจกันในสังคม จนทาให้สังคมพัฒนาขึ้น และจะทาให้ทุกๆอยู่บน โลกใบนี้ได้อย่างมีความสุข
  • 3. 3 วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) เพื่อให้เข้าใจพฤติกรรมการแสดงออกของมนุษย์ เพื่อเข้าใจสังคมอันมีมนุษย์เป็นส่วนประกอบหลัก เพื่อเสริมสร้างความสามัคคีในสังคมอันเนื่องจากมนุษย์เข้าใจกันมากขึ้น เพื่อจะได้เข้าใจตนเอง เพื่อที่จะให้ผู้อื่นได้เข้าใจตัวเอง ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) ศึกษาพฤติกรรมมนุษย์ที่มีผลมาจากความคิดที่อยู่เบื้องลึงภายในเพื่อนาไปสู่ความเข้าใจมนุษย์ หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) ปัจจัยพื้นฐานด้านจิตวิทยา ปัจจัยสาคัญอีกปัจจัยหนึ่งซึ่งมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมมนุษย์ได้แก่ ปัจจัยทางจิตวิทยา ซึ่งมีปัจจัยย่อยอยู่หลายปัจจัย ปัจจัยทางจิตวิทยา จะทาหน้าที่ เป็นสื่อกลางในการรับรู้และตีความสิ่งเร้าก่อนที่ ร่างกายจะแสดง พฤติกรรมต่าง ๆ ปัจจัยทางจิตวิทยาที่สาคัญ ประกอบด้วย แรงจูงใจและ การเรียนรู้ 1. แรงจูงใจ 1.1 ความหมาย ประเภทและปัจจัย แรงผลักดันจากภายในที่ทาให้ให้มนุษย์เกิดพฤติกรรมตอบสนอง อย่าง มีทิศทางและ เป้ าหมาย เรียกว่า แรงจูงใจ คน ที่มีแรงจูงใจ ที่จะทา พฤติกรรมหนึ่งสูงกว่า จะใช้ความ พยายามนา การกระทาไปสู่เป้ าหมายสูงกว่า คนที่มีแรงจูงใจ ต่ากว่า แรงจูงใจของมนุษย์จาแนกได้เป็น 2 ประเภทหลัก ประเภทแรก ได้แก่ แรงจูงใจทางกาย ที่ทาให้มนุษย์แสดง 4. 4 พฤติกรรมสนองความต้องการ ที่จาเป็นทางกาย เช่น หาน้า และอาหารมา ดื่มกิน เมื่อกระหายและหิว ประเภทที่ สอง ได้แก่ แรงจูงใจทางจิตซึ่งเกี่ยวข้องกับ ความต้องการทางสังคม เช่น ความต้องการความสาเร็จ เงิน คาชม อานาจ กลุ่มและพวก เป็นต้น ปัจจัยที่ทาให้เกิดแรงจูงใจในมนุษย์ประกอบด้วย 1.1.1 ปัจจัยทาง ชีวภาพ ได้แก่ ความต้องการจาเป็นของชีวิต คือ อาหาร น้า ความปลอดภัย 1.1.2 ปัจจัยทางอารมณ์ เช่น ความ ตื่นเต้น วิตกกังวล กลัว โกรธ รัก เกลียด และความรู้สึกอื่นใด ที่ให้คนมี พฤติกรรม ตั้งแต่เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่จนถึง การฆ่าผู้อื่น 1.1.3 ปัจจัยทางความคิด เป็นปัจจัยที่กาหนดให้บุคคลกระทาในเรื่องที่คิดว่า เหมาะสมและเป็นไปได้ และตามความ คาดหวังว่า ผู้อื่นจะสนองตอบ การกระทาของตนอย่างไร 1.1.4 ปัจจัยทางสังคม เป็นปัจจัยที่กา หนดพฤติกรรมของมนุษย์เพื่อให้สอดคล้องกับสังคม และเป็นที่ยอมรับ ของ บุคคลในสังคมนั้นด้วย การกระทา ของผู้อื่นและผลกรรมที่ได้รับจึงทาให้เกิดการเรียนรู้พฤติกรรมทางสังคม ซึ่ง เป็นไปกฏระเบียบ และตัวแบบทาง สังคม 1.2 ทฤษฎีแรงจูงใจ นักจิตวิทยาได้พัฒนาทฤษฎีเพื่ออธิบายถึงแรงจูงใจของมนุษย์เพื่อตอบคาถามเกี่ยวกับ พฤติกรรมที่ปรากฏ แต่ละ ทฤษฎีมีจุดที่เป็น ความแนวคิด เกี่ยวกับพฤติกรรมของมนุษย์ที่แตกต่างกันไป ที่สาคัญ ได้แก่ ทฤษฎีสัญชาติญาณ ทฤษฎีแรงขับ ทฤษฎีการตื่นตัว และทฤษฎีสิ่งล่อใจ 1.2.1 ทฤษฎีสัญชาติญาน (Instinct Theory) สัญชาติญาน เป็น พฤติกรรมที่มนุษย์แสดงออกโดยอัตโนมัติ ตามธรรมชาติของชีวิต เป็น ความพร้อม ที่จะทา พฤติกรรม ได้ในทันที เมื่อปรากฎ สิ่งเร้า เฉพาะต่อพฤติกรรมนั้น สัญชาติญาณ จึงมีความ สาคัญต่อ ความอยู่รอด ของชีวิต ในสัตว์บางชนิด เช่นปลากัดตัวผู้จะแสดงการก้าวร้าว พร้อมต่อสู้ ทันทีที่เห็นตัว ผู้ตัวอื่น สาหรับ ใน มนุษย์ สัญชาติญาณ อาจจะไม่แสดงออกมา อย่างชัดเจนในสัตว์ชั้นต่า แต่บุคคลสามารถ รู้สึกได้เช่น ความใกล้ชิด ระหว่าง ชายหญิง ทาให้เกิด ความต้องการทางเพศได้พฤติกรรมนี้ไม่ต้องเรียนรู้ เป็น รูปแบบพฤติกรรมที่ตายตัว แน่นอน ซึ่ง กาหนดมา ตามธรรมชาติจาก ปัจจัยทางชีวภาพ ในปัจจุบันการศึกษา สัญชาตญาน เป็นเพียงต้องการ ศึกษา ลักษณะ การตอบสนอง ขั้นพื้นฐาน เพื่อความเข้าใจ พฤติกรรม เบื้องต้น เท่านั้น 1.2.2 ทฤษฎีแรงขับ (Drive Reduction Theory) แรงขับ (Drive) เป็นกลไกภายในที่รักษาระบบทาง สรีระ ให้คงสภาพสมดุลในเรื่องต่าง ๆ ไว้เพื่อทาให้ ร่างกายเป็น ปกติ หรืออยู่ในสภาพ โฮมิโอสแตซิส (Homeostasis) โดยการปรับระบบให้เข้ากับ การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ทฤษฎีแรงขับอธิบายว่า เมื่อเสียสมดุล ในระบบ โฮมิโอสแตซิส จะทาให้เกิดความต้องการ (Need) ขึ้น เป็นความ ต้องการทางชีวภาพเพื่อรักษาความ
  • 4. 4 คงอยู่ของชีวิต และความต้องการนี้ จะทาให้เกิด แรงขับ อีกต่อหนึ่ง แรงขับเป็น สภาวะตื่นตัว ที่พร้อมจะทา อย่างใดอย่างหนึ่ง ให้กลับคืนสู่สภาพสมดุลเพื่อลดแรงขับนั้น (Drive Reduction) ตัวอย่างเช่น การขาดน้าใน ร่างกาย จะทาให้เสียสมดุลทางเคมี ในเลือด เกิดความต้องการเพิ่มน้า ใน ร่างกาย แรงขับ ที่เกิดจากต้องการน้า คือ ความกระหาย จูงใจให้เราดื่มน้าหรือหาน้ามาดื่ม หลังจากดื่มสม ความ ต้องการแล้ว แรงขับก็ลดลง กล่าวได้ ว่า แรงขับผลักดันให้คนเรามีพฤติกรรม ตอบสนอง ความต้องการ เพื่อทาให้ แรงขับ ลดลงสาหรับที่ร่างกาย จะ ได้กลับสู่ สภาพสมดุล อีกครั้งหนึ่ง 5. 5 แรงขับ แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท คือ แรงขับปฐมภูมิ (Primary Drive) และ แรงขับทุติยภูมิ (Secondary Drive) แรงขับที่เกิดจาก ความต้องการพื้นฐานทางชีวภาพ เช่น ความต้องการอาหาร น้า ความ ต้องการและแรงขับประเภท นี้ เกิดขึ้นเองโดยไม่ต้องเรียนรู้ เป็นแรงขับ ประเภทปฐมภูมิ ส่วนแรงขับทุติยภูมิ เป็น แรงขับที่เกิดขึ้นจากการเรียนรู้ แรงขับประเภทนี้ เมื่อเกิดแล้วจะจูงใจคนให้กระทาสิ่งต่าง ๆ เพื่อตอบสนองความ ต้องการอย่างไม่มีวันสิ้นสุด เช่น คนเรียนรู้ว่า เงินมีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกับการสนองความต้องการอาหาร ที่อยู่ อาศัยและอื่น ๆ อีกมาก การไม่มี เงิน จึงเป็นแรงขับทุติยภูมิสามารถจูงใจให้คนกระทาพฤติกรรมต่าง ๆ เพื่อให้ได้ เงินมาตั้งแต่การทางานหนัก จนถึง การทา สิ่งที่ผิดกฎหมาย เช่น การปล้นธนาคาร 1.2.3 ทฤษฎีการตื่นตัว (Arousal Theory) มนุษย์ถูกจูงใจให้กระทาพฤติกรรมบางอย่าง เพื่อรักษาระดับการตื่นตัวที่พอเหมาะ (Optimal level of arousal) เมื่อมี ระดับการตื่นตัวต่าลง ก็จะถูกกระตุ้นให้เพิ่มขึ้น และเมื่อการตื่นตัวมี ระดับสูงเกินไปก็จะถูกดึงให้ลดลง เช่น เมื่อ รู้สึกเบื่อคน จะแสวงหาการกระทาที่ตื่นเต้น เมื่อตื่นเต้นเร้าใจมานาน ระยะหนึ่ง จะต้องการพักผ่อน เป็นต้น คนแต่ ละคนจะมีระดับการตื่นตัวที่พอเหมาะแตกต่างกัน การตื่นตัวคือ ระดับการทางานที่เกิดขึ้นในหลาย ๆ ระบบของร่างกาย สามารถวัดระดับการทางานนี้ได้จากคลื่น สมอง การเต้น ของหัวใจ การเกร็งของกล้ามเนื้อ หรือจากสภาวะของอวัยวะต่าง ๆ ขณะที่หลับสนิทระดับการตื่นตัว จะต่าที่สุด และสูงสุดเมื่อตกใจหรือตื่นเต้นสุดขีด การตื่นตัวเพิ่มขึ้นได้จากความหิว กระหายน้าหรือแรงขับทาง ชีวภาพอื่น ๆ หรือจากสิ่งเร้าที่เข้มข้น รุนแรง เหตุการณ์ไม่คาดหวังไว้ก่อน หรือจากสารกระตุ้นในกาแฟ และยาบาง ชนิด การ ทางานจะที่มีประสิทธิภาพสูง เมื่อมีระดับการตื่นตัวปานกลาง ระดับการตื่นตัวที่สูงเกินไปจะรบกวนความใส่ใจ การรับรู้ การคิด สมาธิ กล้ามเนื้อทางานประสานกันได้ยาก เมื่อระดับการตื่นตัวต่า คนเราทางานที่ยากและมี รายละเอียดได้ดี แต่ถ้าเป็นงานที่ง่ายจะทาได้ดีเมื่อระดับ การตื่นตัวสูง คนที่มีระดับการตื่นตัวสูงเป็นนิสัย มักสูบ บุหรี่ ดื่มสุรา กินอาหารรสจัด ฟังดนตรีเสียงดัง มีความถี่เรื่องเพศสัมพันธ์ ชอบการเสี่ยงและลองเรื่องใหม่ ๆ ส่วน คนที่มีระดับการตื่นตัวต่าเป็นปกติ มักมีพฤติกรรมที่ไม่เร้าใจมากนัก ไม่ชอบการเสี่ยง ความแตกต่างในระดับ พอเหมาะของการตื่นตัว เกิดจากพื้นฐานทางชีวภาพเป็นเรื่องหลัก และทาให้มีบุคลิกภาพแตกต่างกันไปด้วย 1.2.4 ทฤษฎีสิ่งจูงใจ (Incentive Theory) ปัจจัยภายนอกหรือสิ่งแวดล้อมที่จูงใจจะดึงดูดให้คนมุ่งไปหาสิ่งนั้น มนุษย์กระทากิจกรรมต่าง ๆ เพื่อแสวงหาสิ่งที่ พอใจ (Positive Incentives) เช่น รางวัล คายกย่อง สิทธิพิเศษ และหลีกเลี่ยงสิ่งที่ไม่พอใจ (Negative Incentives) เช่น ถูกลงโทษ ถูกตาหนิ ทาให้เจ็บกาย การที่คนมี พฤติกรรมแตกต่างกัน หรือพฤติกรรมเปลี่ยนแปลงไป ขึ้นอยู่กับ ความแตกต่างในคุณค่า (Values) ของสิ่งจูงใจ ถ้าคิดว่าการกระทาอย่างใด อย่างหนึ่ง จะได้รับผลคุ้มค่าก็จะมี แรงจูงใจให้บุคคลกระทาอย่างนั้น 2. การเรียนรู้ การเรียนรู้เป็นกระบวนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม และ การปรับพฤติกรรมของมนุษย์ที่เกิดขึ้นจาก ประสบการณ์ หรือมี ปฏิสัมพันธ์ กับ สิ่งแวดล้อม พฤติกรรมการเรียนรู้เกิดขึ้นเมื่อพฤติกรรมมี ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้า กับ การ ตอบสนองต่อสิ่งเร้า หลักการเรียนรู้ ที่สาคัญได้แก่ การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิก การวางเงื่อนไขปฏิบัติการ และ หลักการเรียนรู้ทางสังคม 6. 6 2.1 การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิกของ พาฟลอฟ (Pavlov) แนวคิดนี้เชื่อว่า มนุษย์ถูกวางเงื่อนไขเพื่อให้ แสดง พฤติกรรมตอบสนองต่อสิ่งเร้าได้ตามรูปอยู่ตลอดเวลา เงื่อนไข จะถูกวาง ในขณะที่มีสิ่งเร้าอื่น ที่มีอิทธิพล ต่อการกระตุ้นเร้าอินทรีย์อยู่ ทาให้มี พฤติกรรมตอบสนองต่อสิ่งเร้า ทั้ง สอง อย่างพร้อม ๆ กัน เมื่ออินทรีย์เกิด การเรียนรู้ก็จะทาให้ ตอบสนองต่อสิ่งเร้าที่ถูก วางเงื่อนไขไว้ได้นอกจากนี้ การตอบสนองต่อสิ่งเร้า ยังสามารถ แผ่
  • 5. 5 ขยายไปยังสิ่งเร้าอื่น ๆ ที่มีลักษณะคล้ายคลึงกัน ได้อีกด้วย หลักการนี้ ทาให้ เข้าใจ เรื่องความรู้สึก หรือ อารมณ์ ของบุคคล ที่ไม่อาจหักห้ามได้เมื่อเจอสิ่งเร้าบางอย่าง เช่น กลัวสิ่งที่ไม่ อันตราย รู้สึกขยะแขยงต่อสิ่งที่ น่าเกลียด เป็นเพราะ ถูกวางเงื่อนไขต่อสิ่งนั้น มาในอดีตตั้งแต่วัยเด็ก 2.2 การวางเงื่อนไขปฎิบัติการของ สกินเนอร์ (Skinner) การวางเงื่อนไขอีกลักษณะหนึ่ง เป็นการวางเงื่อนไขที่เกิดจากแรงขับ ที่ทาให้อินทรีย์ปฏิบัติการ เป็น การเกิด พฤติกรรม โดยวางเงื่อนไขระหว่าง พฤติกรรมการตอบสนองต่อสิ่งเร้า กับ ผลกรรม (Consequence) ของ พฤติกรรม นั้น พฤติกรรมใด ที่ได้รับ ผลกรรม เป็นที่พึงพอใจ พฤติกรรมนั้น มีแนวโน้มที่จะเกิดขึ้น ต่อสิ่งเร้า อย่าง เดียวกัน อีกในโอกาสต่อไป ส่วนพฤติกรรมใดที่ได้รับผลกรรม ไม่เป็นที่พึงพอใจ พฤติกรรมนั้นมี แนวโน้ม ที่จะ ยุติลงได้ผลกรรมจะมีลักษณะ เป็นการเสริมแรง พฤติกรรมมี ทั้งรางวัลและการลงโทษ การที่มนุษย์ส่วนมาก แสดง พฤติกรรม ที่ให้ผลกรรม เป็นรางวัล และงดแสดงพฤติกรรมที่อาจถูกลงโทษ หรืองด พฤติกรรม ที่ไม่ได้ รางวัลแล ะแสดงพฤติกรรม เพื่อ หลีกเลี่ยงการถูก ลงโทษเป็นไปตาม ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบปฏิบัติการ 2.3 การเรียนรู้ด้วยการหยั่งเห็น (Insight Learning) การหยั่งเห็น เป็น พฤติกรรม ที่เกิดขึ้นในสัตว์ชั้นสูง เนื่องจากมี ความซับซ้อนใน ด้านการคิด และ การแก้ปัญหา เพื่อให้เกิด ผลลัพธ์ที่ต้องการ นักจิตวิทยา ตามแนวคิดนี้ท่าน หนึ่งชื่อ โคห์เลอร์ (Kohler) ได้ทาการศึกษา กระบวนการแก้ปัญหา ของลิง ในการหยิบอาหารที่อยู่นอกกรง พบว่าลิงมี แบบแผนของการคิด ที่เชื่อมโยงกับ สภาพการณ์ที่ปรากฏอยู่ต่อหน้าในขณะนั้น และเลือกที่จะทา พฤติกรรมที่น่าจะเหมาะสมที่สุด และเมื่อศึกษา ต่อ กับ มนุษย์ก็พบผลในทานองเดียวกัน ตามทฤษฎีนี้ การ ตอบสนองต่อสิ่งเร้าของบุคคล สามารถกระทาได้หลาย รูปแบบ ขึ้นอยู่กับ กระบวนการคิดของคนผู้นั้น รูปแบบที่ ตอบสนอง แล้วได้ผลดีที่สุดจะเป็นแสดงความฉลาดของ สติปัญญาของมนุษย์ 2.4 การเรียนรู้ทางสังคม การ เรียนรู้ทางสังคม เป็นรูปแบบการเรียนรู้ที่กล่าวว่า พฤติกรรมของคนเราส่วนใหญ่เกิดจาก การสังเกตตัวแบบ แล้ว ลอกเลียนพฤติกรรม ของตัวแบบ เฉพาะที่ตัวแบบได้รับการเสริมแรงเป็นรางวัล โดยที่ไม่จาเป็น ที่จะต้องทา ตาม แบบในทันที แต่อาจจะเก็บจาไว้ไปคิด หรือทดสอบ ดูก่อนก็ได้การที่ได้สังเกตตัวแบบเป็นเวลานาน เช่น ลูก จะมี พ่อแม่เป็นตัวแบบ การเรียนรู้และจะทาตามอย่าง พ่อแม่โดยไม่รู้ตัว เพราะ การเรียนรู้ แบบนี้จะแฝงอยู่ใน ความคิดก่อนที่จะแสดงออกมาให้เด่นชัด พฤติกรรมของบุคคลหลายอย่างเกิดจาก การกระทาตามตัวแบบ ที่เขา นิยมชมชอบ เช่น เพื่อน ดาราภาพยนตร์ นักร้อง นักกีฬา บุคคลที่มีชื่อเสียง พฤติกรรมการเรียนรู้ทางสังคม เกิด จาก กระบวนการเรียนรู้ ขั้น พื้นฐาน และส่วนใหญ่เกิดจาก ปัจจัยภายนอก การเรียนรู้ทางสังคม จึงสามารถ ถูก ปรับเปลี่ยนไปได้ตามลักษณะของ การเสริมแรง การสังเกต ตัวแบบ พัฒนาการที่สูงขึ้น ระดับความคาดหวัง ค่านิยม และรูปแบบการคิด (วินัย เพชรช่วยและคณะ, 2543) วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน 1.ค้นคว้าหาข้อมูล 2.สัมภาษณ์จิตแพทย์(หากเป็นไปได้) เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 1.คอมพิวเตอร์ 2.อินเตอร์เน็ท 3.หนังสือ งบประมาณ 0-500บาท
  • 6. 6 ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน พีรพงษ์ 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล พีรพงษ์ 3 จัดทาโครงร่างงาน พีรพงษ์ 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) ผู้จัดทาเข้าใจมนุษย์และสังคมมากขึ้น แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) สถานที่ดาเนินการ -โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย -บ้านผู้จัดทา -โรงพยาบาล กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง -วิทยาศาสตร์ -สุขะศึกษา แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) http://www.novabizz.com/NovaAce/psychology.htm http://www.novabizz.com/NovaAce/Behavior/Factor_Psyco.htm