SlideShare a Scribd company logo
1 of 3
Download to read offline
ใบงานที่ 6 เรือง โครงงานประเภท “การทดลองทฤษฎี”
              ่
--------------------------------------------
ให้นักเรียนเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ แล้วค้นหาความหมายและตัวอย่างหัวข้อโครงงานประเภทการ
ทดลองทฤษฎี จากแหล่งข้อมูล (ห้องสมุด / อินเทอร์เน็ต) อย่างน้อย 5 โครงงาน แล้วบันทึก
ลงกระดาษขนาด A4 ที่เตรียมมาพร้อมเขียน แหล่งที่มา หรือ Address ของ website ที่
นักเรียนค้นหาข้อมูลเหล่านั้นด้วย
หมายเหตุ : ให้พิมพ์(print) หรือ คัดลอกลงกระดาษ A4 ส่วนข้อความที่ต้องเติมให้ เขียน
ด้วยปากกาสีด้า หรือ น้้าเงิน


โครงงานประเภทนี้เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการจ้าลองการทดลองของสาขาต่างๆ ซึ่ง
เป็นงานที่ไม่สามารถทดลองด้วยสถานการณ์จริงได้ เช่น การจุดระเบิด เป็นต้น และเป็นโครงงาน
ที่ผู้ท้าต้องศึกษารวบรวมความรู้ หลักการ ข้อเท็จจริง และแนวคิดต่างๆ อย่างลึกซึ้งในเรื่องที่
ต้องการศึกษาแล้วเสนอเป็นแนวคิด แบบจ้าลอง หลักการ ซึ่งอาจอยู่ในรูปของสูตร สมการ
หรือค้าอธิบาย พร้อมทั้งารจ้าลองทฤษฏีด้วยคอมพิวเตอร์ให้ออกมาเป็นภาพ ภาพที่ได้ก็จะ
เปลี่ยนไปตามสูตรหรือสมการนั้น ซึ่งจะท้าให้ผู้เรียนมีความเข้าใจได้ดียิ่งขึ้น การท้าโครงงาน
ประเภทนี้มีจุดส้าคัญอยู่ที่ผู้ท้าต้องมีความรู้ในเรื่องนั้นๆ เป็นอย่างดี ตัวอย่างโครงงานจ้าลอง
ทฤษฎี เช่น
การทดลองเรื่องการไหลของของเหลว
การทดลองเรื่องพฤติกรรมของปลาปิรันย่า
                           การทดลองเรื่องการมองเห็นวัตถุแบบสามมิติ
                           กิจกรรมการไหลซึมของน้้า
                           ความรู้พื้นฐาน
                                    การไหลซึมของน้้าสู่ดินขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายประการ เช่น
                           (เนื้อดิน และการกระจายของขนาดอนุภาคดิน) และแรงดึงดูดระหว่าง
อนุภาคดินกับน้้า ดินบางชนิดจะปล่อยให้น้าซึมผ่านได้อย่างรวดเร็วแล้วอุ้มน้้าไว้ในดิน ซึ่งท้าให้
พืชสามารถดูดน้้าไปใช้ได้ดีขึ้น ดินบางชนิดอาจปล่อยให้น้าซึมผ่านไปได้หมดภายในเวลา 2 - 3
วินาที ดินบางชนิดไม่ยอมให้น้าซึมผ่านเลย ดินที่เหมาะส้าหรับการปลูกพืชควรมีสมบัติอย่างไร
ดินที่เหมาะสมส้าหรับเป็นที่จอดรถหรือสนามเด็กเล่นควรมีสมบัติอย่างไร ถ้าดินอิ่มตัวไปด้วย
น้้าแล้วมีฝนตกหนักบริเวณนั้นจะเกิดอะไรขึ้น นักเรียนจะปรับปรุงการอุ้มน้้าของดินให้เหมาะสม
ได้อย่างไร ถ้าเพิ่มอินทรียวัตถุให้แก่ดิน ถ้ามีพืชขึ้นอยู่บนดิน ถ้าดินถูกอัดตัว หรือถ้าดินถูกไถ
พรวนเกิดอะไรขึ้นกับการไหลซึมของน้้าสู่ดิน
         น้้าในดินเป็นตัวการส้าคัญในการล้าเลียงธาตุอาหารจากดินสู่พืชที่ก้าลังเจริญเติบโต
พืชได้น้าจากการดูดน้้าจากดินของราก และได้อาหารที่ละลายอยู่ในน้้าซึ่งอยู่ในดิน ดินจะมีธาตุ
อาหารพืชอยู่มากน้อยเพียงใด ขึ้นอยู่กับว่าดินนั้นเกิดขึ้นได้อย่างไร จากวัตถุต้นก้าเนิดอะไร และ
จัดเรียงตัวกันอย่างไร ชาวสวนและชาวนามักจะเติมธาตุอาหาร หรือ ปุ๋ย ลงในดินเพื่อจะเพิ่มธาตุ
อาหารของพืช
ขอบคุณ :
http://portal.edu.chula.ac.th/lesa_cd/assets/document/LESA212/8/soil/pass
ing_through/passing_through.html

การทดลอง: ล้าแสงหักเห
เคยมองเห็นปลาหรือวัตถุต่าง ๆ ที่อยู่ในน้้าใสบ้างหรือไม่ ว่าแต่ว่า ปลาหรือวัตถุเหล่านั้นอยู่ตรง
ต้าแหน่งที่เรามองเห็นหรือไม่ ชักจะสงสัยแล้วล่ะ ไปลองท้าการทดลองกันเลยดีกว่าครับ
เป็นอย่างไรบ้างครับกับผลการทดลอง              ลักษณะของดินสอที่เรามองเห็นขณะที่
อยู่ในแก้วที่มีน้า กับดินสอที่อยู่ในแก้วที่ปราศจากน้้ามีความแตกต่างกันอย่างไร           เราจะเห็น
ว่าดินสอที่อยู่ในแก้วเปล่า จะเป็นแท่งตรงส่วนดินสอที่อยู่ในแก้วที่มีน้าจะมีลักษณะหักงอ และ
เมื่อมองจากด้านบนลงไป ดินสอจะดูตื้นกว่าความเป็นจริง เช่นเดียวกับการที่เรามองเห็นปลา
ว่ายน้้าไปมาอยู่ใกล้ ๆ ผิวน้้า แต่จริง ๆ แล้ว ปลาว่ายน้้าที่ระดับลึกกว่าที่เรามองเห็น
มาก เนื่องจาก การหักเหของแสงนั่นเอง
          การจะมองเห็นวัตถุใด ๆ ได้นั้นต้องมีแสงจากวัตถุสะท้อนมาเข้าตาเรา โดยวัตถุ
ชนิดนั้นอาจมีแสงสว่างในตัวเอง ท้าให้เรามองเห็นได้ หรือ หากวัตถุชนิดนั้นไม่มีแสงสว่างใน
ตัวเอง จะต้องมีแสงจากแหล่งก้าเนิดแสงอื่นมากระทบวัตถุนั้น แล้วสะท้อนเข้าตา                จึงจะท้า
ให้เรามองเห็นวัตถุนั้นได้ เมื่อแสงเคลื่อนที่ผ่านวัตถุที่มีความหนาแน่นที่ต่างกัน เช่นน้้ากับ
อากาศ จะท้าให้แสงเดินทางช้าลงหรือเร็วขึ้น มีผลท้าให้แสงเบนไปจากแนวเดิม ตรงบริเวณ
ผิวรอยต่อของน้้าและอากาศ เรียกแสงที่เปลี่ยนไปจากแนวเดิมนี้ว่า รังสีหักเห                การที่เรา
มองเห็นภาพของดินสอดูตื้นกว่าความเป็นจริง                เนื่องจากแสงมีการเปลี่ยนทิศทางออกไป
เมื่อผ่านจากน้้าออกสู่อากาศ         ต้าแหน่งที่เห็นดินสอจึงไม่ใช่ต้าแหน่งที่แท้จริง เห็นไหมครับ
ว่าบางครั้งสิ่งที่เราเห็นก็ไม่ใช่สิ่งที่ถูกต้องเสมอไป    ต้องท้าการพิสูจน์เพื่อค้นหาความจริง

ขอบคุณ :
http://www.nsm.or.th/nsm2009/index.php?option=com_nsmcontents&view
s=article&id=1688&Itemid=92

More Related Content

Viewers also liked

O-NET'53 Science
O-NET'53 Science O-NET'53 Science
O-NET'53 Science cinnamonoll
 
ข้อสอบปี52
ข้อสอบปี52ข้อสอบปี52
ข้อสอบปี52aom605
 
ข้อสอบปี53
ข้อสอบปี53ข้อสอบปี53
ข้อสอบปี53aom605
 
O net 51 ปีการศึกษา 2550
O net 51 ปีการศึกษา 2550O net 51 ปีการศึกษา 2550
O net 51 ปีการศึกษา 2550NNarumon Obtom
 
Adm software installation for laptops with awy software inst
Adm software installation for laptops with awy software instAdm software installation for laptops with awy software inst
Adm software installation for laptops with awy software instMahmoud Mohamed
 
ข้อสอบภาษาอังกฤษ Onet 54
ข้อสอบภาษาอังกฤษ Onet 54ข้อสอบภาษาอังกฤษ Onet 54
ข้อสอบภาษาอังกฤษ Onet 54melody_fai
 
Laporan reses mp2 fpks 2016
Laporan reses mp2 fpks 2016Laporan reses mp2 fpks 2016
Laporan reses mp2 fpks 2016ismaildahsyat99
 
Laporan Reses 26 OKTOBER s.d 18 NOVEMBER 2012 (Lampiran I)
Laporan Reses 26 OKTOBER s.d 18 NOVEMBER 2012 (Lampiran I)Laporan Reses 26 OKTOBER s.d 18 NOVEMBER 2012 (Lampiran I)
Laporan Reses 26 OKTOBER s.d 18 NOVEMBER 2012 (Lampiran I)M. Adli
 
ข้อสอบ O net วิทยาศาสตร์ ปี51
ข้อสอบ O net วิทยาศาสตร์ ปี51ข้อสอบ O net วิทยาศาสตร์ ปี51
ข้อสอบ O net วิทยาศาสตร์ ปี51mina612
 
ข้อสอบ O net สังคม ปี51
ข้อสอบ O net สังคม ปี51ข้อสอบ O net สังคม ปี51
ข้อสอบ O net สังคม ปี51mina612
 
ข้อสอบ O-NET ปีการศึกษา 2550 (สอบปี 2551)
ข้อสอบ O-NET ปีการศึกษา 2550 (สอบปี 2551)ข้อสอบ O-NET ปีการศึกษา 2550 (สอบปี 2551)
ข้อสอบ O-NET ปีการศึกษา 2550 (สอบปี 2551)Dp' Warissara
 
ข้อสอบ O-NET วิชา วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O-NET วิชา วิทยาศาสตร์ข้อสอบ O-NET วิชา วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O-NET วิชา วิทยาศาสตร์Harun Fight
 

Viewers also liked (20)

O-NET'53 Science
O-NET'53 Science O-NET'53 Science
O-NET'53 Science
 
ข้อสอบปี52
ข้อสอบปี52ข้อสอบปี52
ข้อสอบปี52
 
ข้อสอบปี53
ข้อสอบปี53ข้อสอบปี53
ข้อสอบปี53
 
O net 51 ปีการศึกษา 2550
O net 51 ปีการศึกษา 2550O net 51 ปีการศึกษา 2550
O net 51 ปีการศึกษา 2550
 
Adm software installation for laptops with awy software inst
Adm software installation for laptops with awy software instAdm software installation for laptops with awy software inst
Adm software installation for laptops with awy software inst
 
ข้อสอบภาษาอังกฤษ Onet 54
ข้อสอบภาษาอังกฤษ Onet 54ข้อสอบภาษาอังกฤษ Onet 54
ข้อสอบภาษาอังกฤษ Onet 54
 
Environmental policy
Environmental policyEnvironmental policy
Environmental policy
 
ข้อสอบ O-net ม.3 ปีการศึกษา 2553
ข้อสอบ O-net ม.3 ปีการศึกษา 2553ข้อสอบ O-net ม.3 ปีการศึกษา 2553
ข้อสอบ O-net ม.3 ปีการศึกษา 2553
 
Laporan reses mp2 fpks 2016
Laporan reses mp2 fpks 2016Laporan reses mp2 fpks 2016
Laporan reses mp2 fpks 2016
 
O net
O netO net
O net
 
Laporan Reses 26 OKTOBER s.d 18 NOVEMBER 2012 (Lampiran I)
Laporan Reses 26 OKTOBER s.d 18 NOVEMBER 2012 (Lampiran I)Laporan Reses 26 OKTOBER s.d 18 NOVEMBER 2012 (Lampiran I)
Laporan Reses 26 OKTOBER s.d 18 NOVEMBER 2012 (Lampiran I)
 
ข้อสอบ O net วิทยาศาสตร์ ปี51
ข้อสอบ O net วิทยาศาสตร์ ปี51ข้อสอบ O net วิทยาศาสตร์ ปี51
ข้อสอบ O net วิทยาศาสตร์ ปี51
 
ข้อสอบ O net สังคม ปี51
ข้อสอบ O net สังคม ปี51ข้อสอบ O net สังคม ปี51
ข้อสอบ O net สังคม ปี51
 
Science o net
Science o netScience o net
Science o net
 
ข้อสอบ O-NET สังคมศึกษา ม.6 ปี 54
ข้อสอบ O-NET สังคมศึกษา ม.6 ปี 54ข้อสอบ O-NET สังคมศึกษา ม.6 ปี 54
ข้อสอบ O-NET สังคมศึกษา ม.6 ปี 54
 
Sci
SciSci
Sci
 
ข้อสอบ O-NET ปีการศึกษา 2550 (สอบปี 2551)
ข้อสอบ O-NET ปีการศึกษา 2550 (สอบปี 2551)ข้อสอบ O-NET ปีการศึกษา 2550 (สอบปี 2551)
ข้อสอบ O-NET ปีการศึกษา 2550 (สอบปี 2551)
 
ข้อสอบ O-NET วิชา วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O-NET วิชา วิทยาศาสตร์ข้อสอบ O-NET วิชา วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O-NET วิชา วิทยาศาสตร์
 
ข้อสอบ O-net คณิตศาสตร์ 54
ข้อสอบ O-net คณิตศาสตร์ 54ข้อสอบ O-net คณิตศาสตร์ 54
ข้อสอบ O-net คณิตศาสตร์ 54
 
O-net วิทยาศาสตร์ 2557
O-net วิทยาศาสตร์ 2557O-net วิทยาศาสตร์ 2557
O-net วิทยาศาสตร์ 2557
 

Similar to ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท “การทดลองทฤษฎี”

โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎีโครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎีปรียา พรมเสน
 
ใบงานที่6โครงงานประเภท การทดลองทฤษฎี
ใบงานที่6โครงงานประเภท การทดลองทฤษฎีใบงานที่6โครงงานประเภท การทดลองทฤษฎี
ใบงานที่6โครงงานประเภท การทดลองทฤษฎีMind Melody
 
โครงงานประเภท “การทดลองทฤษฎี”
โครงงานประเภท “การทดลองทฤษฎี”โครงงานประเภท “การทดลองทฤษฎี”
โครงงานประเภท “การทดลองทฤษฎี”Thanat Suriyawong
 
โครงงานที่7 การประยุกต์ใช้งาน
โครงงานที่7 การประยุกต์ใช้งานโครงงานที่7 การประยุกต์ใช้งาน
โครงงานที่7 การประยุกต์ใช้งานSupatchara Saokumkate
 
ใบงาน7 แก้
ใบงาน7 แก้ใบงาน7 แก้
ใบงาน7 แก้Yong Panupun
 
ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภทใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภทSorpor 'eiei
 

Similar to ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท “การทดลองทฤษฎี” (20)

โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎีโครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
 
K6
K6K6
K6
 
K6
K6K6
K6
 
K6
K6K6
K6
 
K6
K6K6
K6
 
K6
K6K6
K6
 
K6
K6K6
K6
 
ใบงานที่6โครงงานประเภท การทดลองทฤษฎี
ใบงานที่6โครงงานประเภท การทดลองทฤษฎีใบงานที่6โครงงานประเภท การทดลองทฤษฎี
ใบงานที่6โครงงานประเภท การทดลองทฤษฎี
 
โครงงานประเภท “การทดลองทฤษฎี”
โครงงานประเภท “การทดลองทฤษฎี”โครงงานประเภท “การทดลองทฤษฎี”
โครงงานประเภท “การทดลองทฤษฎี”
 
K7
K7K7
K7
 
ใบงานท 14
ใบงานท  14 ใบงานท  14
ใบงานท 14
 
โครงงานที่7 การประยุกต์ใช้งาน
โครงงานที่7 การประยุกต์ใช้งานโครงงานที่7 การประยุกต์ใช้งาน
โครงงานที่7 การประยุกต์ใช้งาน
 
ใบงานที่ 7
ใบงานที่  7ใบงานที่  7
ใบงานที่ 7
 
ใบงาน7 แก้
ใบงาน7 แก้ใบงาน7 แก้
ใบงาน7 แก้
 
K6
K6K6
K6
 
ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภทใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท
 
K6
K6K6
K6
 
K6 (1)
K6 (1)K6 (1)
K6 (1)
 
K6
K6K6
K6
 
K14
K14K14
K14
 

More from Warunchai Chaipunya

ใบงานที่ 15 เรื่อง การวิเคราะห์โครงงานและเลือกโครงงาน
ใบงานที่ 15 เรื่อง การวิเคราะห์โครงงานและเลือกโครงงานใบงานที่ 15 เรื่อง การวิเคราะห์โครงงานและเลือกโครงงาน
ใบงานที่ 15 เรื่อง การวิเคราะห์โครงงานและเลือกโครงงานWarunchai Chaipunya
 
ใบงานที่ 16 เรื่อง ปฏิทินการปฏิบัติงาน
ใบงานที่ 16 เรื่อง ปฏิทินการปฏิบัติงานใบงานที่ 16 เรื่อง ปฏิทินการปฏิบัติงาน
ใบงานที่ 16 เรื่อง ปฏิทินการปฏิบัติงานWarunchai Chaipunya
 
ใบงานที่ 9 เรื่อง ปัญหาและความจำเป็นในการทำโครงงาน
ใบงานที่ 9 เรื่อง ปัญหาและความจำเป็นในการทำโครงงานใบงานที่ 9 เรื่อง ปัญหาและความจำเป็นในการทำโครงงาน
ใบงานที่ 9 เรื่อง ปัญหาและความจำเป็นในการทำโครงงานWarunchai Chaipunya
 
ใบงานที่ 14 เรื่อง การศึกษาข้อมูลโครงงาน
ใบงานที่ 14 เรื่อง การศึกษาข้อมูลโครงงานใบงานที่ 14 เรื่อง การศึกษาข้อมูลโครงงาน
ใบงานที่ 14 เรื่อง การศึกษาข้อมูลโครงงานWarunchai Chaipunya
 
ใบงานที่ 10 เรื่อง คิดวิเคราะห์สร้างทางเลือก และเกณฑ์ที่ใช้
ใบงานที่ 10 เรื่อง คิดวิเคราะห์สร้างทางเลือก และเกณฑ์ที่ใช้ใบงานที่ 10 เรื่อง คิดวิเคราะห์สร้างทางเลือก และเกณฑ์ที่ใช้
ใบงานที่ 10 เรื่อง คิดวิเคราะห์สร้างทางเลือก และเกณฑ์ที่ใช้Warunchai Chaipunya
 
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภท “การประยุกต์ใช้งาน”
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภท “การประยุกต์ใช้งาน”ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภท “การประยุกต์ใช้งาน”
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภท “การประยุกต์ใช้งาน”Warunchai Chaipunya
 
ใบงานที่ 5 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาเครื่องมือ”
ใบงานที่ 5 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาเครื่องมือ”ใบงานที่ 5 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาเครื่องมือ”
ใบงานที่ 5 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาเครื่องมือ”Warunchai Chaipunya
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานWarunchai Chaipunya
 
ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงานใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงานWarunchai Chaipunya
 

More from Warunchai Chaipunya (15)

05 e
05 e05 e
05 e
 
Key o net53math
Key o net53mathKey o net53math
Key o net53math
 
04 e
04 e04 e
04 e
 
03 e
03 e03 e
03 e
 
02 e
02 e02 e
02 e
 
01 e
01 e01 e
01 e
 
ใบงานที่ 15 เรื่อง การวิเคราะห์โครงงานและเลือกโครงงาน
ใบงานที่ 15 เรื่อง การวิเคราะห์โครงงานและเลือกโครงงานใบงานที่ 15 เรื่อง การวิเคราะห์โครงงานและเลือกโครงงาน
ใบงานที่ 15 เรื่อง การวิเคราะห์โครงงานและเลือกโครงงาน
 
ใบงานที่ 16 เรื่อง ปฏิทินการปฏิบัติงาน
ใบงานที่ 16 เรื่อง ปฏิทินการปฏิบัติงานใบงานที่ 16 เรื่อง ปฏิทินการปฏิบัติงาน
ใบงานที่ 16 เรื่อง ปฏิทินการปฏิบัติงาน
 
ใบงานที่ 9 เรื่อง ปัญหาและความจำเป็นในการทำโครงงาน
ใบงานที่ 9 เรื่อง ปัญหาและความจำเป็นในการทำโครงงานใบงานที่ 9 เรื่อง ปัญหาและความจำเป็นในการทำโครงงาน
ใบงานที่ 9 เรื่อง ปัญหาและความจำเป็นในการทำโครงงาน
 
ใบงานที่ 14 เรื่อง การศึกษาข้อมูลโครงงาน
ใบงานที่ 14 เรื่อง การศึกษาข้อมูลโครงงานใบงานที่ 14 เรื่อง การศึกษาข้อมูลโครงงาน
ใบงานที่ 14 เรื่อง การศึกษาข้อมูลโครงงาน
 
ใบงานที่ 10 เรื่อง คิดวิเคราะห์สร้างทางเลือก และเกณฑ์ที่ใช้
ใบงานที่ 10 เรื่อง คิดวิเคราะห์สร้างทางเลือก และเกณฑ์ที่ใช้ใบงานที่ 10 เรื่อง คิดวิเคราะห์สร้างทางเลือก และเกณฑ์ที่ใช้
ใบงานที่ 10 เรื่อง คิดวิเคราะห์สร้างทางเลือก และเกณฑ์ที่ใช้
 
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภท “การประยุกต์ใช้งาน”
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภท “การประยุกต์ใช้งาน”ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภท “การประยุกต์ใช้งาน”
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภท “การประยุกต์ใช้งาน”
 
ใบงานที่ 5 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาเครื่องมือ”
ใบงานที่ 5 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาเครื่องมือ”ใบงานที่ 5 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาเครื่องมือ”
ใบงานที่ 5 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาเครื่องมือ”
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
 
ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงานใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
 

ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท “การทดลองทฤษฎี”

  • 1. ใบงานที่ 6 เรือง โครงงานประเภท “การทดลองทฤษฎี” ่ -------------------------------------------- ให้นักเรียนเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ แล้วค้นหาความหมายและตัวอย่างหัวข้อโครงงานประเภทการ ทดลองทฤษฎี จากแหล่งข้อมูล (ห้องสมุด / อินเทอร์เน็ต) อย่างน้อย 5 โครงงาน แล้วบันทึก ลงกระดาษขนาด A4 ที่เตรียมมาพร้อมเขียน แหล่งที่มา หรือ Address ของ website ที่ นักเรียนค้นหาข้อมูลเหล่านั้นด้วย หมายเหตุ : ให้พิมพ์(print) หรือ คัดลอกลงกระดาษ A4 ส่วนข้อความที่ต้องเติมให้ เขียน ด้วยปากกาสีด้า หรือ น้้าเงิน โครงงานประเภทนี้เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการจ้าลองการทดลองของสาขาต่างๆ ซึ่ง เป็นงานที่ไม่สามารถทดลองด้วยสถานการณ์จริงได้ เช่น การจุดระเบิด เป็นต้น และเป็นโครงงาน ที่ผู้ท้าต้องศึกษารวบรวมความรู้ หลักการ ข้อเท็จจริง และแนวคิดต่างๆ อย่างลึกซึ้งในเรื่องที่ ต้องการศึกษาแล้วเสนอเป็นแนวคิด แบบจ้าลอง หลักการ ซึ่งอาจอยู่ในรูปของสูตร สมการ หรือค้าอธิบาย พร้อมทั้งารจ้าลองทฤษฏีด้วยคอมพิวเตอร์ให้ออกมาเป็นภาพ ภาพที่ได้ก็จะ เปลี่ยนไปตามสูตรหรือสมการนั้น ซึ่งจะท้าให้ผู้เรียนมีความเข้าใจได้ดียิ่งขึ้น การท้าโครงงาน ประเภทนี้มีจุดส้าคัญอยู่ที่ผู้ท้าต้องมีความรู้ในเรื่องนั้นๆ เป็นอย่างดี ตัวอย่างโครงงานจ้าลอง ทฤษฎี เช่น การทดลองเรื่องการไหลของของเหลว การทดลองเรื่องพฤติกรรมของปลาปิรันย่า การทดลองเรื่องการมองเห็นวัตถุแบบสามมิติ กิจกรรมการไหลซึมของน้้า ความรู้พื้นฐาน การไหลซึมของน้้าสู่ดินขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายประการ เช่น (เนื้อดิน และการกระจายของขนาดอนุภาคดิน) และแรงดึงดูดระหว่าง
  • 2. อนุภาคดินกับน้้า ดินบางชนิดจะปล่อยให้น้าซึมผ่านได้อย่างรวดเร็วแล้วอุ้มน้้าไว้ในดิน ซึ่งท้าให้ พืชสามารถดูดน้้าไปใช้ได้ดีขึ้น ดินบางชนิดอาจปล่อยให้น้าซึมผ่านไปได้หมดภายในเวลา 2 - 3 วินาที ดินบางชนิดไม่ยอมให้น้าซึมผ่านเลย ดินที่เหมาะส้าหรับการปลูกพืชควรมีสมบัติอย่างไร ดินที่เหมาะสมส้าหรับเป็นที่จอดรถหรือสนามเด็กเล่นควรมีสมบัติอย่างไร ถ้าดินอิ่มตัวไปด้วย น้้าแล้วมีฝนตกหนักบริเวณนั้นจะเกิดอะไรขึ้น นักเรียนจะปรับปรุงการอุ้มน้้าของดินให้เหมาะสม ได้อย่างไร ถ้าเพิ่มอินทรียวัตถุให้แก่ดิน ถ้ามีพืชขึ้นอยู่บนดิน ถ้าดินถูกอัดตัว หรือถ้าดินถูกไถ พรวนเกิดอะไรขึ้นกับการไหลซึมของน้้าสู่ดิน น้้าในดินเป็นตัวการส้าคัญในการล้าเลียงธาตุอาหารจากดินสู่พืชที่ก้าลังเจริญเติบโต พืชได้น้าจากการดูดน้้าจากดินของราก และได้อาหารที่ละลายอยู่ในน้้าซึ่งอยู่ในดิน ดินจะมีธาตุ อาหารพืชอยู่มากน้อยเพียงใด ขึ้นอยู่กับว่าดินนั้นเกิดขึ้นได้อย่างไร จากวัตถุต้นก้าเนิดอะไร และ จัดเรียงตัวกันอย่างไร ชาวสวนและชาวนามักจะเติมธาตุอาหาร หรือ ปุ๋ย ลงในดินเพื่อจะเพิ่มธาตุ อาหารของพืช ขอบคุณ : http://portal.edu.chula.ac.th/lesa_cd/assets/document/LESA212/8/soil/pass ing_through/passing_through.html การทดลอง: ล้าแสงหักเห เคยมองเห็นปลาหรือวัตถุต่าง ๆ ที่อยู่ในน้้าใสบ้างหรือไม่ ว่าแต่ว่า ปลาหรือวัตถุเหล่านั้นอยู่ตรง ต้าแหน่งที่เรามองเห็นหรือไม่ ชักจะสงสัยแล้วล่ะ ไปลองท้าการทดลองกันเลยดีกว่าครับ
  • 3. เป็นอย่างไรบ้างครับกับผลการทดลอง ลักษณะของดินสอที่เรามองเห็นขณะที่ อยู่ในแก้วที่มีน้า กับดินสอที่อยู่ในแก้วที่ปราศจากน้้ามีความแตกต่างกันอย่างไร เราจะเห็น ว่าดินสอที่อยู่ในแก้วเปล่า จะเป็นแท่งตรงส่วนดินสอที่อยู่ในแก้วที่มีน้าจะมีลักษณะหักงอ และ เมื่อมองจากด้านบนลงไป ดินสอจะดูตื้นกว่าความเป็นจริง เช่นเดียวกับการที่เรามองเห็นปลา ว่ายน้้าไปมาอยู่ใกล้ ๆ ผิวน้้า แต่จริง ๆ แล้ว ปลาว่ายน้้าที่ระดับลึกกว่าที่เรามองเห็น มาก เนื่องจาก การหักเหของแสงนั่นเอง การจะมองเห็นวัตถุใด ๆ ได้นั้นต้องมีแสงจากวัตถุสะท้อนมาเข้าตาเรา โดยวัตถุ ชนิดนั้นอาจมีแสงสว่างในตัวเอง ท้าให้เรามองเห็นได้ หรือ หากวัตถุชนิดนั้นไม่มีแสงสว่างใน ตัวเอง จะต้องมีแสงจากแหล่งก้าเนิดแสงอื่นมากระทบวัตถุนั้น แล้วสะท้อนเข้าตา จึงจะท้า ให้เรามองเห็นวัตถุนั้นได้ เมื่อแสงเคลื่อนที่ผ่านวัตถุที่มีความหนาแน่นที่ต่างกัน เช่นน้้ากับ อากาศ จะท้าให้แสงเดินทางช้าลงหรือเร็วขึ้น มีผลท้าให้แสงเบนไปจากแนวเดิม ตรงบริเวณ ผิวรอยต่อของน้้าและอากาศ เรียกแสงที่เปลี่ยนไปจากแนวเดิมนี้ว่า รังสีหักเห การที่เรา มองเห็นภาพของดินสอดูตื้นกว่าความเป็นจริง เนื่องจากแสงมีการเปลี่ยนทิศทางออกไป เมื่อผ่านจากน้้าออกสู่อากาศ ต้าแหน่งที่เห็นดินสอจึงไม่ใช่ต้าแหน่งที่แท้จริง เห็นไหมครับ ว่าบางครั้งสิ่งที่เราเห็นก็ไม่ใช่สิ่งที่ถูกต้องเสมอไป ต้องท้าการพิสูจน์เพื่อค้นหาความจริง ขอบคุณ : http://www.nsm.or.th/nsm2009/index.php?option=com_nsmcontents&view s=article&id=1688&Itemid=92