SlideShare a Scribd company logo
1 of 3
Download to read offline
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภท “การประยุกต์ใช้งาน”
               --------------------------------------------------------------
        ให้นักเรียนเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ แล้วค้นหาความหมายและตัวอย่างหัวข้อโครงงานประเภทการ
ประยุกต์ใช้งาน จากแหล่งข้อมูล (ห้องสมุด / อินเทอร์เน็ต) อย่างน้อย 5 โครงงาน แล้วบันทึกลงกระดาษ
ขนาด A4 ที่เตรียมมาพร้อมเขียน แหล่งที่มา หรือ Address ของ website ที่นักเรียนค้นหาข้อมูลเหล่านั้น
ด้วย
หมายเหตุ : ให้พิมพ์(print) หรือ คัดลอกลงกระดาษ A4 ส่วนข้อความที่ต้องเติมให้ เขียน ด้วยปากกาสีดา
หรือ น้าเงิน

                         โครงงานประเภท “การประยุกต์ใช้งาน”
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
1. โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ลักษณะเด่นของโครงงานประเภทนี้ คือ เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ใน
การผลิตสื่อเพื่อการศึกษา โดยการสร้างโปรแกรมบทเรียนหรือหน่วยการเรียน ซึ่งอาจจะต้องมีภาคแบบฝึกหัด
บททบทวน และคาถามคาตอบไว้พร้อม ผู้เรียนสามารถเรียนแบบรายบุคคลหรือรายกลุ่มการสอน โดยใช้
คอมพิวเตอร์ช่วยสอนนี้ ถือว่าคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์การสอน ซึ่งอาจเป็นการพัฒนาบทเรียนแบบออนไลน์ ให้
ผู้เรียนเข้ามาศึกษาด้วยตนเองก็ได้ โครงงาน ประเภทนี้สามารถพัฒนาขึ้นเพื่อใช้ประกอบการสอนในวิชาต่างๆ
โดยผู้เรียนอาจคัดเลือกเนื้อหาที่เข้าใจยาก มาเป็นหัวข้อในการพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ตัวอย่างโครงงาน เช่น
การเคลื่อนที่แบบโปรเจ็กไตล์ ระบบสุริยจักรวาล ตัวแปรต่างๆ ที่มีผลต่อการชากิ่งกุหลาบ หลักภาษาไทย และ
สถานที่สาคัญของประเทศไทย เป็นต้น




2.โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน โครงงานประยุกต์ใช้งานเป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการ สร้าง
ผลงานเพื่อประยุกต์ใช้งานจริงในชีวิตประจาวัน อาทิเช่น ซอฟต์แวร์สาหรับการออกแบบและตกแต่งภายในอาคาร
ซอฟต์แวร์สาหรับการผสมสี และซอฟต์แวร์สาหรับการระบุคนร้าย เป็นต้น โครงงานประเภทนี้จะมีการประดิษฐ์
ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ หรืออุปกรณ์ใช้สอยต่างๆ ซึ่งอาจเป็นการคิดสร้างสิ่งของขึ้นใหม่ หรือปรับปรุงเปลี่ยนแปลง
ของเดิมที่มีอยู่แล้วให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น โครงงานลักษณะนี้จะต้องศึกษาและวิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้
ก่อน แล้วนาข้อมูลที่ได้มาใช้ในการออกแบบ และพัฒนาสิ่งของนั้นๆ ต่อจากนั้นต้องมีการทดสอบการทางานหรือ
ทดสอบคุณภาพของสิ่งประดิษฐ์แล้วปรับ ปรุงแก้ไขให้มีความสมบูรณ์ โครงงานประเภทนี้ผู้เรียนต้องใช้ความรู้
เกี่ยวกับเครื่องคอมพิวเตอร์ ภาษาโปรแกรม และเครื่องมือต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง




3.โครงงานพัฒนาเกม โครงงานประเภทนี้เป็นโครงงานพัฒนาซอฟต์แวร์เกมเพื่อความรู้หรือเพื่อความ
เพลิดเพลิน เกมที่พัฒนาควรจะเป็นเกมที่ไม่รุนแรง เน้นการใช้สมองเพื่อฝึกคิดอย่างมีหลักการ โครงงานประเภทนี้
จะมีการออกแบบลักษณะและกฎเกณฑ์การเล่น เพื่อให้น่าสนใจแก่ผู้เล่น พร้อมทั้งให้ความรู้สอดแทรกไปด้วย
ผู้พัฒนาควรจะได้ทาการสารวจและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับเกมต่างๆ ที่มีอยู่ทั่วไป และนามาปรับปรุงหรือ
พัฒนาขึ้นใหม่ เพื่อให้เป็นเกมที่แปลกใหม่ และน่าสนใจแก่ผู้เล่นกลุ่มต่างๆ




4.โครงงานพัฒนาเครื่องมือ โครงงานประเภทนี้เป็นโครงงานเพื่อพัฒนาเครื่องมือช่วย สร้างงานประยุกต์ต่างๆ
โดยส่วนใหญ่จะอยู่ในรูปซอฟต์แวร์ เช่น ซอฟต์แวร์วาดรูป ซอฟต์แวร์พิมพ์งาน และซอฟต์แวร์ช่วยการมองวัตถุ
ในมุมต่างๆ เป็นต้น สาหรับซอฟต์แวร์เพื่อการพิมพ์งานนั้นสร้างขึ้นเป็นโปรแกรมประมวลคา ซึ่งจะเป็นเครื่องมือ
ให้เราใช้ในการพิมพ์งานต่างๆบนเครื่องคอมพิวเตอร์ ส่วนซอฟต์แวร์การวาดรูป พัฒนาขึ้นเพื่ออานวยความ
สะดวกให้การวาดรูปบนเครื่องคอมพิวเตอร์ให้เป็นไปได้ โดยง่าย สาหรับซอฟต์แวร์ช่วยการมองวัตถุในมุมต่างๆ
ใช้สาหรับช่วยการออกแบบสิ่งของ อาทิเช่น ผู้ใช้วาดแจกันด้านหน้า และต้องการจะดูว่าด้านบนและด้านข้างเป็น
อย่างไร ก็ให้ซอฟต์แวร์คานวณค่าและภาพที่ควรจะเป็นมาให้ เพื่อพิจารณาและแก้ไขภาพแจกันที่ออกแบบไว้ได้
อย่างสะดวก




5. โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี โครงงานประเภทนี้เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการ จาลองการ
ทดลองของสาขาต่างๆ ซึ่งเป็นงานที่ไม่สามารถทดลองด้วยสถานการณ์จริงได้ เช่น การจุดระเบิด เป็นต้น และ
เป็นโครงงานที่ผู้ทาต้องศึกษารวบรวมความรู้ หลักการ ข้อเท็จจริง และแนวคิดต่างๆ อย่างลึกซึ้งในเรื่องที่
ต้องการศึกษาแล้วเสนอเป็นแนวคิด แบบจาลอง หลักการ ซึ่งอาจอยู่ในรูปของสูตร สมการ หรือคาอธิบาย
พร้อมทั้งารจาลองทฤษฏีด้วยคอมพิวเตอร์ให้ออกมาเป็นภาพ ภาพที่ได้ก็จะเปลี่ยนไปตามสูตรหรือสมการนั้น ซึ่งจะ
ทาให้ผู้เรียนมีความเข้าใจได้ดียิ่งขึ้น การทาโครงงานประเภทนี้มีจุดสาคัญอยู่ที่ผู้ทาต้องมีความรู้ในเรื่องนั้นๆ เป็น
อย่างดี ตัวอย่างโครงงานจาลองทฤษฎี เช่น การทดลองเรื่องการไหลของของเหลว การทดลองเรื่องพฤติกรรม
ของปลาปิรันย่า และการทดลองเรื่องการมองเห็นวัตถุแบบสามมิติ เป็นต้น




แหล่งที่มา :
     http://teacher.skw.ac.th/salunyar/40102/unit_05/p_501.htm

     http://www.lks.ac.th/kuanjit/s5.htm

More Related Content

What's hot (12)

ใบงานที่ 5 โครงงานประเภท “การพัฒนาเครื่องมือ”
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภท “การพัฒนาเครื่องมือ”ใบงานที่ 5 โครงงานประเภท “การพัฒนาเครื่องมือ”
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภท “การพัฒนาเครื่องมือ”
 
ใบงานที่5โครงงานประเภท การพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่5โครงงานประเภท การพัฒนาเครื่องมือใบงานที่5โครงงานประเภท การพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่5โครงงานประเภท การพัฒนาเครื่องมือ
 
K7
K7K7
K7
 
5
55
5
 
K5
K5K5
K5
 
5
55
5
 
7
77
7
 
K8
K8K8
K8
 
K8
K8K8
K8
 
8
88
8
 
8
88
8
 
4
44
4
 

Viewers also liked

ใบงาน2 แก้
ใบงาน2 แก้ใบงาน2 แก้
ใบงาน2 แก้Yong Panupun
 
все просто»
все просто»все просто»
все просто»Sweetlapuska
 
ใบงาน3 แก้
ใบงาน3 แก้ใบงาน3 แก้
ใบงาน3 แก้Yong Panupun
 
1 company profile
1 company profile1 company profile
1 company profileRakuten
 
Khap panchayat
Khap panchayatKhap panchayat
Khap panchayatMituldua
 
Le breton the anthropology of adolescent
Le breton   the anthropology of adolescentLe breton   the anthropology of adolescent
Le breton the anthropology of adolescentJesús Bustos García
 
Makalah ilmu politik 2015
Makalah ilmu politik 2015Makalah ilmu politik 2015
Makalah ilmu politik 2015Ikhwan Setiawan
 
DURKHEIM, Émile - A função da divisão social do trabalho
DURKHEIM, Émile - A função da divisão social do trabalhoDURKHEIM, Émile - A função da divisão social do trabalho
DURKHEIM, Émile - A função da divisão social do trabalhoVinicius Frota
 
Apresentacao ac -_redes
Apresentacao ac -_redesApresentacao ac -_redes
Apresentacao ac -_redesbrunofig94PT
 
נשים בשחור
נשים בשחורנשים בשחור
נשים בשחורmeirpail
 
sistema genesis portal uniminuto
sistema genesis portal uniminuto sistema genesis portal uniminuto
sistema genesis portal uniminuto huvabayona
 
Seppi Neuhauser und Matthias Rathmayer - neue Konzepte im Breiten- und Spitze...
Seppi Neuhauser und Matthias Rathmayer - neue Konzepte im Breiten- und Spitze...Seppi Neuhauser und Matthias Rathmayer - neue Konzepte im Breiten- und Spitze...
Seppi Neuhauser und Matthias Rathmayer - neue Konzepte im Breiten- und Spitze...Autonom Health GesundheitsbildungsGmbH
 

Viewers also liked (20)

ใบงาน2 แก้
ใบงาน2 แก้ใบงาน2 แก้
ใบงาน2 แก้
 
все просто»
все просто»все просто»
все просто»
 
ใบงาน3 แก้
ใบงาน3 แก้ใบงาน3 แก้
ใบงาน3 แก้
 
ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2
 
ใบงาน3
ใบงาน3ใบงาน3
ใบงาน3
 
ใบงาน7
ใบงาน7ใบงาน7
ใบงาน7
 
Deep presentation
Deep presentationDeep presentation
Deep presentation
 
1 company profile
1 company profile1 company profile
1 company profile
 
Khap panchayat
Khap panchayatKhap panchayat
Khap panchayat
 
Le breton the anthropology of adolescent
Le breton   the anthropology of adolescentLe breton   the anthropology of adolescent
Le breton the anthropology of adolescent
 
Makalah ilmu politik 2015
Makalah ilmu politik 2015Makalah ilmu politik 2015
Makalah ilmu politik 2015
 
DURKHEIM, Émile - A função da divisão social do trabalho
DURKHEIM, Émile - A função da divisão social do trabalhoDURKHEIM, Émile - A função da divisão social do trabalho
DURKHEIM, Émile - A função da divisão social do trabalho
 
Apresentacao ac -_redes
Apresentacao ac -_redesApresentacao ac -_redes
Apresentacao ac -_redes
 
נשים בשחור
נשים בשחורנשים בשחור
נשים בשחור
 
Un halloween diferente
Un halloween diferenteUn halloween diferente
Un halloween diferente
 
Open dag!
Open dag!Open dag!
Open dag!
 
sistema genesis portal uniminuto
sistema genesis portal uniminuto sistema genesis portal uniminuto
sistema genesis portal uniminuto
 
Seppi Neuhauser und Matthias Rathmayer - neue Konzepte im Breiten- und Spitze...
Seppi Neuhauser und Matthias Rathmayer - neue Konzepte im Breiten- und Spitze...Seppi Neuhauser und Matthias Rathmayer - neue Konzepte im Breiten- und Spitze...
Seppi Neuhauser und Matthias Rathmayer - neue Konzepte im Breiten- und Spitze...
 
Img009
Img009Img009
Img009
 
INVITACION
INVITACION INVITACION
INVITACION
 

Similar to ใบงาน7 แก้ (20)

โครงงานประเภท “การพัฒนาเครื่องมือ”
โครงงานประเภท “การพัฒนาเครื่องมือ”โครงงานประเภท “การพัฒนาเครื่องมือ”
โครงงานประเภท “การพัฒนาเครื่องมือ”
 
7
77
7
 
7
77
7
 
7
77
7
 
7
77
7
 
K5
K5K5
K5
 
K6
K6K6
K6
 
K6
K6K6
K6
 
K8
K8K8
K8
 
K6
K6K6
K6
 
K6
K6K6
K6
 
K6
K6K6
K6
 
K4
K4K4
K4
 
K4
K4K4
K4
 
4
44
4
 
8
88
8
 
8
88
8
 
K7
K7K7
K7
 
โครงงานประเภท “การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา"
โครงงานประเภท “การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา"โครงงานประเภท “การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา"
โครงงานประเภท “การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา"
 
ใบงานที่6โครงงานประเภท การทดลองทฤษฎี
ใบงานที่6โครงงานประเภท การทดลองทฤษฎีใบงานที่6โครงงานประเภท การทดลองทฤษฎี
ใบงานที่6โครงงานประเภท การทดลองทฤษฎี
 

More from Yong Panupun

ใบงาน8 แก้
ใบงาน8 แก้ใบงาน8 แก้
ใบงาน8 แก้Yong Panupun
 
ใบงาน6 แก้
ใบงาน6 แก้ใบงาน6 แก้
ใบงาน6 แก้Yong Panupun
 
ใบงาน5 แก้
ใบงาน5 แก้ใบงาน5 แก้
ใบงาน5 แก้Yong Panupun
 
ใบงาน4 แก้
ใบงาน4 แก้ใบงาน4 แก้
ใบงาน4 แก้Yong Panupun
 
ประว ต ส_วนต_ว
ประว ต ส_วนต_วประว ต ส_วนต_ว
ประว ต ส_วนต_วYong Panupun
 
โครงงานประเภท8
โครงงานประเภท8โครงงานประเภท8
โครงงานประเภท8Yong Panupun
 
โครงงานประเภท7
โครงงานประเภท7โครงงานประเภท7
โครงงานประเภท7Yong Panupun
 
โครงงานประเภท6
โครงงานประเภท6โครงงานประเภท6
โครงงานประเภท6Yong Panupun
 
โครงงานประเภท5
โครงงานประเภท5โครงงานประเภท5
โครงงานประเภท5Yong Panupun
 
โครงงานประเภท4
โครงงานประเภท4โครงงานประเภท4
โครงงานประเภท4Yong Panupun
 

More from Yong Panupun (20)

K15 (1)
K15 (1)K15 (1)
K15 (1)
 
K14 (1)
K14 (1)K14 (1)
K14 (1)
 
K11
K11K11
K11
 
K10
K10K10
K10
 
K9
K9K9
K9
 
K16 (1)
K16 (1)K16 (1)
K16 (1)
 
ใบงาน6
ใบงาน6ใบงาน6
ใบงาน6
 
ใบงาน5
ใบงาน5ใบงาน5
ใบงาน5
 
ใบงาน4
ใบงาน4ใบงาน4
ใบงาน4
 
ใบงาน8
ใบงาน8ใบงาน8
ใบงาน8
 
ใบงาน8 แก้
ใบงาน8 แก้ใบงาน8 แก้
ใบงาน8 แก้
 
ใบงาน6 แก้
ใบงาน6 แก้ใบงาน6 แก้
ใบงาน6 แก้
 
ใบงาน5 แก้
ใบงาน5 แก้ใบงาน5 แก้
ใบงาน5 แก้
 
ใบงาน4 แก้
ใบงาน4 แก้ใบงาน4 แก้
ใบงาน4 แก้
 
ประว ต ส_วนต_ว
ประว ต ส_วนต_วประว ต ส_วนต_ว
ประว ต ส_วนต_ว
 
โครงงานประเภท8
โครงงานประเภท8โครงงานประเภท8
โครงงานประเภท8
 
โครงงานประเภท7
โครงงานประเภท7โครงงานประเภท7
โครงงานประเภท7
 
โครงงานประเภท6
โครงงานประเภท6โครงงานประเภท6
โครงงานประเภท6
 
โครงงานประเภท5
โครงงานประเภท5โครงงานประเภท5
โครงงานประเภท5
 
โครงงานประเภท4
โครงงานประเภท4โครงงานประเภท4
โครงงานประเภท4
 

ใบงาน7 แก้

  • 1. ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภท “การประยุกต์ใช้งาน” -------------------------------------------------------------- ให้นักเรียนเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ แล้วค้นหาความหมายและตัวอย่างหัวข้อโครงงานประเภทการ ประยุกต์ใช้งาน จากแหล่งข้อมูล (ห้องสมุด / อินเทอร์เน็ต) อย่างน้อย 5 โครงงาน แล้วบันทึกลงกระดาษ ขนาด A4 ที่เตรียมมาพร้อมเขียน แหล่งที่มา หรือ Address ของ website ที่นักเรียนค้นหาข้อมูลเหล่านั้น ด้วย หมายเหตุ : ให้พิมพ์(print) หรือ คัดลอกลงกระดาษ A4 ส่วนข้อความที่ต้องเติมให้ เขียน ด้วยปากกาสีดา หรือ น้าเงิน โครงงานประเภท “การประยุกต์ใช้งาน” ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ 1. โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ลักษณะเด่นของโครงงานประเภทนี้ คือ เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ใน การผลิตสื่อเพื่อการศึกษา โดยการสร้างโปรแกรมบทเรียนหรือหน่วยการเรียน ซึ่งอาจจะต้องมีภาคแบบฝึกหัด บททบทวน และคาถามคาตอบไว้พร้อม ผู้เรียนสามารถเรียนแบบรายบุคคลหรือรายกลุ่มการสอน โดยใช้ คอมพิวเตอร์ช่วยสอนนี้ ถือว่าคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์การสอน ซึ่งอาจเป็นการพัฒนาบทเรียนแบบออนไลน์ ให้ ผู้เรียนเข้ามาศึกษาด้วยตนเองก็ได้ โครงงาน ประเภทนี้สามารถพัฒนาขึ้นเพื่อใช้ประกอบการสอนในวิชาต่างๆ โดยผู้เรียนอาจคัดเลือกเนื้อหาที่เข้าใจยาก มาเป็นหัวข้อในการพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ตัวอย่างโครงงาน เช่น การเคลื่อนที่แบบโปรเจ็กไตล์ ระบบสุริยจักรวาล ตัวแปรต่างๆ ที่มีผลต่อการชากิ่งกุหลาบ หลักภาษาไทย และ สถานที่สาคัญของประเทศไทย เป็นต้น 2.โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน โครงงานประยุกต์ใช้งานเป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการ สร้าง ผลงานเพื่อประยุกต์ใช้งานจริงในชีวิตประจาวัน อาทิเช่น ซอฟต์แวร์สาหรับการออกแบบและตกแต่งภายในอาคาร ซอฟต์แวร์สาหรับการผสมสี และซอฟต์แวร์สาหรับการระบุคนร้าย เป็นต้น โครงงานประเภทนี้จะมีการประดิษฐ์ ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ หรืออุปกรณ์ใช้สอยต่างๆ ซึ่งอาจเป็นการคิดสร้างสิ่งของขึ้นใหม่ หรือปรับปรุงเปลี่ยนแปลง ของเดิมที่มีอยู่แล้วให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น โครงงานลักษณะนี้จะต้องศึกษาและวิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้
  • 2. ก่อน แล้วนาข้อมูลที่ได้มาใช้ในการออกแบบ และพัฒนาสิ่งของนั้นๆ ต่อจากนั้นต้องมีการทดสอบการทางานหรือ ทดสอบคุณภาพของสิ่งประดิษฐ์แล้วปรับ ปรุงแก้ไขให้มีความสมบูรณ์ โครงงานประเภทนี้ผู้เรียนต้องใช้ความรู้ เกี่ยวกับเครื่องคอมพิวเตอร์ ภาษาโปรแกรม และเครื่องมือต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง 3.โครงงานพัฒนาเกม โครงงานประเภทนี้เป็นโครงงานพัฒนาซอฟต์แวร์เกมเพื่อความรู้หรือเพื่อความ เพลิดเพลิน เกมที่พัฒนาควรจะเป็นเกมที่ไม่รุนแรง เน้นการใช้สมองเพื่อฝึกคิดอย่างมีหลักการ โครงงานประเภทนี้ จะมีการออกแบบลักษณะและกฎเกณฑ์การเล่น เพื่อให้น่าสนใจแก่ผู้เล่น พร้อมทั้งให้ความรู้สอดแทรกไปด้วย ผู้พัฒนาควรจะได้ทาการสารวจและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับเกมต่างๆ ที่มีอยู่ทั่วไป และนามาปรับปรุงหรือ พัฒนาขึ้นใหม่ เพื่อให้เป็นเกมที่แปลกใหม่ และน่าสนใจแก่ผู้เล่นกลุ่มต่างๆ 4.โครงงานพัฒนาเครื่องมือ โครงงานประเภทนี้เป็นโครงงานเพื่อพัฒนาเครื่องมือช่วย สร้างงานประยุกต์ต่างๆ โดยส่วนใหญ่จะอยู่ในรูปซอฟต์แวร์ เช่น ซอฟต์แวร์วาดรูป ซอฟต์แวร์พิมพ์งาน และซอฟต์แวร์ช่วยการมองวัตถุ ในมุมต่างๆ เป็นต้น สาหรับซอฟต์แวร์เพื่อการพิมพ์งานนั้นสร้างขึ้นเป็นโปรแกรมประมวลคา ซึ่งจะเป็นเครื่องมือ ให้เราใช้ในการพิมพ์งานต่างๆบนเครื่องคอมพิวเตอร์ ส่วนซอฟต์แวร์การวาดรูป พัฒนาขึ้นเพื่ออานวยความ สะดวกให้การวาดรูปบนเครื่องคอมพิวเตอร์ให้เป็นไปได้ โดยง่าย สาหรับซอฟต์แวร์ช่วยการมองวัตถุในมุมต่างๆ
  • 3. ใช้สาหรับช่วยการออกแบบสิ่งของ อาทิเช่น ผู้ใช้วาดแจกันด้านหน้า และต้องการจะดูว่าด้านบนและด้านข้างเป็น อย่างไร ก็ให้ซอฟต์แวร์คานวณค่าและภาพที่ควรจะเป็นมาให้ เพื่อพิจารณาและแก้ไขภาพแจกันที่ออกแบบไว้ได้ อย่างสะดวก 5. โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี โครงงานประเภทนี้เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการ จาลองการ ทดลองของสาขาต่างๆ ซึ่งเป็นงานที่ไม่สามารถทดลองด้วยสถานการณ์จริงได้ เช่น การจุดระเบิด เป็นต้น และ เป็นโครงงานที่ผู้ทาต้องศึกษารวบรวมความรู้ หลักการ ข้อเท็จจริง และแนวคิดต่างๆ อย่างลึกซึ้งในเรื่องที่ ต้องการศึกษาแล้วเสนอเป็นแนวคิด แบบจาลอง หลักการ ซึ่งอาจอยู่ในรูปของสูตร สมการ หรือคาอธิบาย พร้อมทั้งารจาลองทฤษฏีด้วยคอมพิวเตอร์ให้ออกมาเป็นภาพ ภาพที่ได้ก็จะเปลี่ยนไปตามสูตรหรือสมการนั้น ซึ่งจะ ทาให้ผู้เรียนมีความเข้าใจได้ดียิ่งขึ้น การทาโครงงานประเภทนี้มีจุดสาคัญอยู่ที่ผู้ทาต้องมีความรู้ในเรื่องนั้นๆ เป็น อย่างดี ตัวอย่างโครงงานจาลองทฤษฎี เช่น การทดลองเรื่องการไหลของของเหลว การทดลองเรื่องพฤติกรรม ของปลาปิรันย่า และการทดลองเรื่องการมองเห็นวัตถุแบบสามมิติ เป็นต้น แหล่งที่มา : http://teacher.skw.ac.th/salunyar/40102/unit_05/p_501.htm http://www.lks.ac.th/kuanjit/s5.htm