SlideShare a Scribd company logo
1 of 82
Download to read offline
บทที่ 4 ฮาร์ดแวร์
ฮาร์ดแวร์
 อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับการใช้งานร่วมกันกับ คอมพิวเตอร์
 มองเห็นและจับต้องได้ มีทั้งที่ติดตั้งอยู่ภายในและ
ภายนอกตัวเครื่องคอมพิวเตอร์
 นิยมเรียกว่า device ซึ่งจะทางานประสานกันตั้งแต่การ
ป้อนข้อมูลเข้า (input) การประมวลผล (process)
และการแสดงผลลัพธ์(output)
แบ่งออกได้เป็น 4 ประเภท
1. อุปกรณ์นาข้อมูลเข้า (Input Device)
2. อุปกรณ์ประมวลผล (Process Device)
3. หน่วยความจาสารอง (Secondary Storage Device)
4. อุปกรณ์แสดงผลลัพธ์ (Output Device)
ฮาร์ดแวร์
1. อุปกรณ์นาข้อมูลเข้า (Input Device)
 อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับการ
นาข้อมูลหรือชุดคาสั่งเข้า
มายังระบบ
 ข้อมูลที่นาเข้าอาจเป็น
ตัวเลขตัวอักษร
ภาพกราฟิก เสียงหรือวิดีโอ
ประเภทการกด (Keyed Device)
 คีย์บอร์ด (Keyboard)
อุปกรณ์นาข้อมูลเข้าที่นิยมใช้กันมากที่สุดในปัจจุบัน
รับข้อมูลป้อนเข้าที่เป็นตัวอักษร อักขระพิเศษ ตัวเลข
รวมถึงชุดคาสั่งต่างๆ
กลุ่มของแป้นพิมพ์วางเรียงต่อกันเหมือนกับเครื่องพิมพ์ดีด
ข้อมูลที่ป้อนเข้าจะถูกเก็บไปยังหน่วยความจาของระบบ
และแปลงให้เป็นรหัสที่คอมพิวเตอร์เข้าใจ
คีย์บอร์ด (Keyboard)
คีย์บอร์ด (Keyboard)
 คีย์บอร์ดติดตั้งภายใน (Built-in
keyboard)
 ขนาดของแป้นพิมพ์เล็กลงกว่า
แบบมาตรฐานทั่วไป
 พื้นที่ในการทางานจึงจากัดให้เล็ก
ลงตามไปด้วย
 มีอยู่ในคอมพิวเตอร์แบบพกพา
เช่นโน้ตบุ๊คหรือ เดสก์โน้ต
คีย์บอร์ด (Keyboard)
 คีย์บอร์ดเออร์โกโนมิกส์ (Ergonomic
keyboard)
 ออกแบบโดยคานึงถึงความสะดวกสบาย
และความปลอดภัยของผู้ใช้งานเป็นหลัก
 ลดความเมื่อยล้าจากการพิมพ์ได้
 เพิ่มอุปกรณ์สาหรับวางข้อมือและ
ออกแบบแป้นพิมพ์ให้สัมพันธ์กับสรีระ
ของมนุษย์
คีย์บอร์ด (Keyboard)
 คีย์บอร์ดไร้สาย (Cordless keyboard)
 ส่งผ่านข้อมูลโดยใช้เทคโนโลยีไร้สาย
 ทางานได้ภายใต้รัศมีของสัญญาณ
นอกเหนือจากโต๊ะทางานได้
 ดึง ย้าย หรือเปลี่ยนตาแหน่ง ทาได้ง่าย
กว่า
 ใช้พลังงานของแบตเตอรี
คีย์บอร์ด (Keyboard)
 คีย์บอร์ดพกพา (Portable keyboard)
 ใช้กับอุปกรณ์ประเภทพีดีเอ
 นิยมใช้กับการพิมพ์ข้อความแทนปากกาช่วย
เขียน เช่น รายงานจดหมายหรือบันทึกการ
ประชุม
 สามารถพกพาไปยังที่ต่างๆได้
 สามารพับเก็บและกางออกมาใช้ได้เมื่อ
ต้องการ
คีย์บอร์ด (Keyboard)
 คีย์บอร์ดเสมือน (Virtual keyboard)
 ทางานร่วมกันกับเครื่องพีดีเอ
เช่นเดียวกัน
 จาลองภาพให้เป็นเสมือนคีย์บอร์ดจริง
 อาศัยการทางานของแสงเลเซอร์ยิงลง
ไปบนบริเวณพื้นผิวเรียบ
 เมื่อต้องการใช้งาน สามารถพิมพ์หรือ
ป้อนข้อมูลที่เห็นเป็นภาพเหมือนแผง
แป้นพิมพ์ได้เลยทันที
ประเภทชี้ตาแหน่งและควบคุมทิศทาง
(Pointing Devices)
เมาส์ (Mouse)
อุปกรณ์ที่ช่วยสาหรับการชี้ตาแหน่งการทางานของข้อมูล
สั่งการให้คอมพิวเตอร์ทางานบางคาสั่งที่มีการโต้ตอบกัน
ระหว่างผู้ใช้กับคอมพิวเตอร์ เช่น cut, delete, paste
ใช้มือเป็นตัวบังคับทิศทางและใช้นิ้วสาหรับการกดเลือก
คาสั่งงาน
เมาส์ (Mouse)
 เมาส์แบบทั่วไป (Mechanical mouse)
 มีการใช้ลูกบอลเป็นตัวขับเคลื่อนทิศทาง
 มีลักษณะเป็นลูกกลมๆทาจากแผ่นยาง
กลิ้งอยู่ส่วนด้านล่าง
 ส่วนบนของเมาส์จะมีปุ่มให้เลือกกด
ประมาณ 2-3 ปุ่ม ขึ้นอยู่กับบริษัทผู้ผลิต
 เมาส์แบบใหม่สามารถควบคุมการทางาน
ขึ้นลงของสโครลบาร์ในหน้าต่างของ
โปรแกรมบางประเภทได้เรียกว่า scroll
mouse
เมาส์ (Mouse)
 เมาส์แบบแสงหรือออปติคอลเมาส์
(Optical mouse)
 ใช้แสงส่องกระทบพื้นผิวและแปลงทิศทางชี้
ตาแหน่งแทนการใช้ล้อหมุน
 ไม่มีปัญหาเรื่องฝุ่นละอองจับ อันเป็นสาเหตุ
ให้การบังคับทิศทางผิดพลาด
 มักนิยมเรียกว่า ออปติคอลเมาส์ ซึ่ง ปัจจุบัน
มีทั้งที่เป็นแบบต่อกับคอมพิวเตอร์โดยใช้สาย
และไม่ใช้สาย
แทรคบอล (Trackball)
 หลักการทางานคล้ายกับเมาส์ โดยจะมี
ลูกบอลติดตั้งไว้อยู่ส่วนบนเพื่อใช้
ควบคุมทิศทาง
 เมื่อหมุนลูกบอลก็คือการย้ายตาแหน่ง
ตัวชี้นั่นเอง
 ลูกบอลมีขนาดใหญ่กว่าเมาส์มาก
แผ่นรองสัมผัสหรือทัชแพด (touch pad)
 เป็นแผ่นสี่เหลี่ยมบางๆติดตั้งไว้อยู่ใน
คอมพิวเตอร์แบบพกพา
 ใช้ทางานแทนเมาส์โดยกดสัมผัสหรือ
ใช้นิ้วลากผ่าน
 ส่วนมากจะติดตั้งไว้บริเวณด้านล่าง
ของแป้นพิมพ์ในคอมพิวเตอร์แบบ
พกพา
แท่งชี้ควบคุมหรือพอยติงสติ๊ก
(pointing stick)
 มีลักษณะเป็นก้อนเล็กๆคล้ายกับ
ยางลบดินสอ เพื่อช่วยชี้ตาแหน่งของ
ข้อมูล
 ติดตั้งอยู่ตรงส่วนกลางของแป้นพิมพ์
ในคอมพิวเตอร์แบบพกพา
 ใช้นิ้วมือเป็นตัวบังคับเพื่อทางานแทน
เมาส์
จอยสติ๊ก (Joystick)
 พบเห็นได้กับการใช้เล่นเกม
คอมพิวเตอร์
 การควบคุมทิศทางทาได้ง่ายและ
สะดวกกว่าเมาส์
 บังคับได้หลายทิศทาง เช่น การบังคับ
ทิศทางซ้าย ขวา หน้า หลัง หรือบังคับ
ทิศทางในระดับองศาที่แตกต่างกัน
 ทาให้การเล่มเกมมีความสนุกและ
สมจริงมาก
พวงมาลัยบังคับทิศทาง (Wheel)
 สาหรับเล่นเกมจาลองประเภทการ
แข่งรถหรือควบคุมทิศทางของ
ยานพาหนะ
 ลักษณะเหมือนกับพวงมาลัยบังคับ
ทิศทางในรถยนต์จริง
 อาจใช้งานร่วมกันกับอุปกรณ์เหยียบ
เบรกจาลอง (pedal) และตัวเร่ง
ความเร็วจาลอง(accelerator) ใน
เกมประเภทรถแข่งได้
จอสัมผัสหรือทัชสกรีน (Touch screen)
 สามารถใช้นิ้วมือแตะบังคับลงไปยังหน้า
จอคอมพิวเตอร์ได้
 ทางานแทนเมาส์และคีย์บอร์ด และสร้าง
ปฏิสัมพันธ์กับผู้ใช้ (interactive)ได้เป็น
อย่างดี
 นิยมใช้กับตู้ให้บริการข้อมูลนักท่องเที่ยว
ตู้เกมบางประเภท เช่น เกมประเภท
จับผิดภาพ เกมประเภททานายดวงชะตา
ประเภทปากกา (Pen-Based Device)
 ปากกาแสง (Light pen)
 สาหรับการกาหนดตาแหน่งบนจอภาพ
รวมถึงการป้อนข้อมูลเข้าแทน
แป้นพิมพ์
 สามารถลากหรือวาดทิศทางได้ง่ายกว่า
เมาส์ ทาให้การทางานสะดวกกว่า
 มักใช้ร่วมกับโปรแกรมประเภทช่วย
สาหรับการออกแบบหรือ CAD
(computer aided design)
ประเภทปากกา (Pen-Based Device)
 สไตล์ลัส (Stylus)
 นิยมใช้กันมากในคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก เช่น พีดีเอและแท็บเล็ตพีซี
 ใช้เลือกรายการ เขียนตัวหนังสือหรือวาดลายเส้นลงบนหน้าจอ
อุปกรณ์นั้นๆได้โดยตรง
 อาจพบเห็นได้ในสมาร์ทโฟนบางรุ่น
ประเภทปากกา (Pen-Based Device)
 ดิจิไทเซอร์ (Digitizer)
 อุปกรณ์อ่านพิกัดซึ่งมักใช้งาน
ร่วมกับอุปกรณ์ประเภทปากกา
 ทาหน้าที่เป็นเสมือนกระดานรองรับ
สาหรับการป้อนข้อความ วาดภาพ
หรือออกแบบงานที่เกี่ยวกับกราฟิก
 มีความคล่องตัวและสะดวกต่อการ
ใช้งานมาก
ประเภทข้อมูลมัลติมีเดีย
(Multimedia Input Device)
 ไมโครโฟน (Microphone)
 รับข้อมูลประเภทเสียงพูด (voice) เข้าสู่
ระบบ
 บันทึกหรืออัดข้อมูลเสียงเพื่อใช้งานในสตูดิโอ
ตัดต่อเสียงได้
 อาจนาไปใช้กับการสนทนาบนอินเทอร์เน็ตได้
ด้วย
ประเภทข้อมูลมัลติมีเดีย
(Multimedia Input Device)
 กล้องถ่ายรูปดิติตอล (Digital
camera)
 รับข้อมูลประเภทภาพถ่ายดิจิตอล
 ภาพที่ได้สามารถบันทึกเก็บหรือถ่าย
โอนลงคอมพิวเตอร์โดยง่าย
 อัดหรือขยายต่อเป็นภาพถ่ายปกติไว้ได้
ประเภทข้อมูลมัลติมีเดีย
(Multimedia Input Device)
 กล้องถ่ายวิดีโอดิจิตอล (Digital
Video camera)
 มักเรียกย่อๆว่ากล้องประเภท DV
 สามารถถ่ายภาพเคลื่อนไหวและ
ภาพนิ่งได้
 บันทึกเก็บหรือถ่ายโอนลง
คอมพิวเตอร์ได้
 หากเป็นภาพเคลื่อนไหวจะใช้พื้นที่
เก็บข้อมูลมากกว่าภาพนิ่ง
ประเภทข้อมูลมัลติมีเดีย
(Multimedia Input Device)
 เว็บแคม (Web cam)
 กล้องถ่ายวิดีโอประเภทหนึ่งที่ใช้สาหรับ
การถ่ายภาพเคลื่อนไหว
 ภาพที่ได้จะหยาบและมีขนาดไฟล์เล็ก
กว่ากล้องแบบ DV มาก
 นิยมใช้กับการติดต่อสื่อสารบนเครือข่าย
อินเทอร์เน็ต
 มีราคาถูก บางรุ่นสามารถถ่ายภาพนิ่งได้
ด้วย
ประเภทสแกนและอ่านข้อมูลด้วยแสง
(scanner and optical reader)
 สแกนเนอร์ (Scanner)
 อุปกรณ์อ่านข้อมูลประเภทภาพถ่าย
 เพียงแค่วางภาพถ่ายหรือเอกสารแล้ว
สั่งให้เครื่องอ่านหรือสแกนก็สามารถ
เก็บรูปภาพหรือเอกสารสาคัญไว้ใน
คอมพิวเตอร์ได้
 ทางานเหมือนกับเครื่องถ่ายเอกสาร
ประเภทสแกนและอ่านข้อมูลด้วยแสง
(scanner and optical reader)
 โอเอ็มอาร์ (OMR - Optical Mark
Reader)
 ใช้ประโยชน์ในการตรวจข้อสอบหรือคะแนน
ของกลุ่มบุคคลจานวนมาก
 เช่น การสอบเอ็นทรานซ์ การสอบวัดระดับ
ภาษาอังกฤษ
 เครื่องจะอ่านเครื่องหมาย (mark) ที่ผู้เข้า
สอบได้ระบายไว้ในกระดาษคาตอบเพื่อนาไป
ประมวลผลต่อ
ประเภทสแกนและอ่านข้อมูลด้วยแสง
(scanner and optical reader)
 เครื่องอ่านบาร์โค้ด (Bar code
reader)
 มีหลายรูปแบบ เช่น หัวอ่านมีด้ามจับ
คล้ายปืนหรือฝังอยู่ในแท่นของเครื่องเก็บ
เงินสด
 พบเห็นได้ตามจุดบริการเก็บเงิน(POS -
Point Of Sale) ร้านอาหาร ร้านสะดวกซื้อ
หรือห้างสรรพสินค้าทั่วไป
 สะดวกต่อการตรวจเช็คข้อมูลสินค้า
คงเหลือ และการชาระเงิน
ประเภทสแกนและอ่านข้อมูลด้วยแสง
(scanner and optical reader)
 เอ็มไอซีอาร์ (MICR – Magnetic-
Ink Character Recognition)
 มักเรียกย่อๆว่าเครื่อง เอ็มไอซีอาร์
 เป็นอุปกรณ์ที่ใช้อ่านตัวอักษรด้วย
แสงของเอกสารสาคัญ
 พบเห็นได้กับประมวลผลเช็คใน
ธุรกิจด้านธนาคารเป็นส่วนใหญ่
ประเภทตรวจสอบข้อมูลทางกายภาพ
(Biometric Input Device)
 ไบโอเมตริกส์ (biometric) เป็น
ลักษณะของการตรวจสอบข้อมูล
เฉพาะตัวของแต่ละคน
 เครื่องอ่านมีอยู่หลายประเภทขึ้นอยู่
กับลักษณะการตรวจสอบ เช่น เครื่อง
อ่านลายนิ้วมือ เครื่องตรวจสอบม่าน
ตา เครื่องวิเคราะห์เสียงพูด
 ป้องกันและรักษาความปลอดภัยใน
ระดับที่สูงมาก
2. อุปกรณ์ประมวลผล (Process Device)
 ซีพียู (CPU - Central Processing Unit)
 หน่วยประมวลผลกลาง หรือเรียกกัน
โดยทั่วไปว่าไมโครโพรเซสเซอร์
 เปรียบเหมือนกับสมองของมนุษย์ที่ใช้ใน
การคิดวิเคราะห์และประมวลผลเพื่อหา
ผลลัพธ์
 ทาหน้าที่ควบคุมการทางานและ
ประมวลผลข้อมูลที่ได้รับจากอุปกรณ์นา
ข้อมูลเข้า (input device) และส่งต่อไป
ยังอุปกรณ์ส่วนอื่น
ความเร็วของซีพียู
ความเร็วของซีพียูถูกควบคุมโดยระบบสัญญาณ
นาฬิกา (system clock)
สัญญาณมีการเข้ารหัสจังหวะเหมือนกับจังหวะการ
ทางานของเครื่องดนตรี
หน่วยวัดความเร็วเรียกว่า เฮิร์ตซ (Hz - Hertz )
Megahertz หรือ MHz = 1 000 000 ครั้งต่อวินาที
Gigahertz หรือ GHz = 1 000 000 000 ครั้งต่อ
วินาที
สถาปัตยกรรมที่ใช้สาหรับผลิตซีพียู
 RISC-Reduced Instruction Set Computer
ออกแบบมาโดยลดจานวนคาสั่งภายในซีพียูให้มีจานวน
และขนาดที่เล็กลง
ส่งผลให้ความเร็วในการทางานโดยรวมของซีพียูเพิ่มขึ้น
มีที่เหลือสาหรับทาวงจรอย่างอื่นในตัวซีพียู เช่น ทาที่พัก
ข้อมูล (cache) ขนาดใหญ่
สถาปัตยกรรมที่ใช้สาหรับผลิตซีพียู
CISC-Complex Instruction Set Computer
พยายามให้ชุดคาสั่งที่ซีพียูสามารถทางานได้นั้นมีคาสั่งในรูปแบบ
ต่างๆให้เลือกใช้มากมายหลายร้อยคาสั่ง
มีข้อจากัดคือวงจรภายในต้องมีความซับซ้อนและใช้เวลาในการ
ทางานแต่ละคาสั่งนายกว่าแบบ RISC
ซีพียูที่ออกแบบตามแนวทางนี้เช่น เพนเทียมรุ่นแรกๆของบริษัทอิน
เทล รวมถึงซีพียูจากค่าย AMD และ Cyrix เป็นต้น
* ปัจจุบันมักใช้แนวทางที่เริ่มปรับเข้าหากัน คือเอาส่วนดีของแต่ละ
แนวทางมาปรับใช้ เช่น ใน ซีพียูเพนเทียม 4 มีการเอาแนวคิดของ
RISC เข้าไปผสมด้วย
หน่วยความจาหลัก (Primary Storage)
 เรียกได้หลายชื่อเช่น main memory, primary
memory,internal memory, internal storage
 ทางานใกล้ชิดกับซีพียูมากที่สุด
 ช่วยเหลือการทางานของซีพียูให้มีประสิทธิภาพที่ดีขึ้น เช่น
การพักหรือเก็บข้อมูลขณะที่มีการประมวลผล
 แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ ROM และ RAM
หน่วยความจาแบบ ROM
 ไม่จาเป็นต้องใช้กระแสไฟฟ้าเลี้ยง (nonvolatile memory)
 ส่วนใหญ่มักถูกติดตั้งไว้เพื่อตรวจสอบความพร้อมในการ
ทางานของเครื่อง
 มักจะมีการผลิตชุดคาสั่งไว้ใน ROM อย่างถาวรมาแล้ว
(เรียกว่า firmware)
หน่วยความจาแบบ RAM
 ต้องอาศัยกระแสไฟฟ้าในการทางาน
(volatile memory)
 ใช้เป็นที่พักข้อมูลในขณะ
ประมวลผลของซีพียูเพื่อให้การ
ทางานเร็วขึ้น
 หากไฟดับหรือไม่มีกระแสไฟหล่อ
เลี้ยง ข้อมูลที่เก็บไว้จะสูญหายหมด
เมนบอร์ด (Main board)
 แผงควบคุมวงจรต่อเชื่อมอุปกรณ์ที่
เกี่ยวข้องกับการทางานของคอมพิวเตอร์
ทั้งหมด
 เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า แผงวงจรหลัก หรือ
mother board
 ภายในแผงวงจรจะมีเส้นบัสเพื่อใช้ส่ง
สัญญาณไฟฟ้าระหว่างอุปกรณ์ต่างๆ
ภายในตัวเครื่องให้ทางานร่วมกันได้
ชิปเซ็ต (Chip set)
 ชิปจานวนหนึ่งหรือหลายตัวที่บรรจุวงจร
สาคัญๆที่ช่วยการทางานของซีพียู
 ปกติจะติดตั้งมาพร้อมกับเมนบอร์ดหรือ
แผงวงจรหลักถอดเปลี่ยนไม่ได้
 ทาหน้าที่เป็นตัวกลางประสานงานและ
ควบคุมการทางานของหน่วยความจา
รวมถึงอุปกรณ์ต่อพ่วงทั้งแบบภายในหรือ
ภายนอกทุกชนิดตามคาสั่งของซีพียู
 ผู้ผลิตชิปเซ็ตส่วนมากจะผลิตซีพียูด้วย เช่น
SiS, Intel,VIA, AMD เป็นต้น
3.หน่วยเก็บข้อมูลสารอง
(Secondary Storage Device)
 สาหรับเก็บบันทึกข้อมูล
ต้องการใช้ประโยชน์ใน
ภายหลัง
 นิยมใช้ หน่วยความจาสารอง
หรือที่เรียกว่า secondary
storage
 มีหลากหลายประเภทให้
เลือกใช้มากในปัจจุบัน
ประเภทของสื่อเก็บบันทึกข้อมูล
แบ่งออกได้ตามรูปแบบของสื่อที่จัดเก็บ 4 ประเภทคือ
1.สื่อเก็บข้อมูลแบบจานแม่เหล็ก (magnetic disk
devices)
2.สื่อเก็บข้อมูลแสง (optical storage devices)
3. สื่อเก็บข้อมูลแบบเทป (tape devices)
4. สื่อเก็บข้อมูลอื่นๆ (other storage devices)
1.สื่อเก็บข้อมูลแบบจานแม่เหล็ก
(Magnetic Disk devices)
 1.1 ฟล็อปปี้ดิสก์(Floppy disks)
 ได้รับความนิยมและใช้งานอย่างแพร่หลาย
 เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า ดิสเก็ตต์หรือแผ่นดิสก์
 การเก็บข้อมูลจะมีแผ่นจานบันทึกเคลือบสาร
แม่เหล็กอยู่ด้านในที่ห่อหุ้มด้วยพลาสติกอีก
ชั้นหนึ่ง
การฟอร์แมตแผ่น (Format)
 กระบวนการจัดพื้นที่เก็บไฟล์ข้อมูลก่อนใช้งานหรือการ
เตรียมพื้นที่สาหรับเก็บบันทึกข้อมูล
 จะต้องมีการจัดการข้อมูลโดยการ ฟอร์แมต (format) เมื่อ
ใช้ครั้งแรกทุกครั้ง
* ปัจจุบันมีการฟอร์แมตตั้งแต่กระบวนการผลิตแล้ว
โครงสร้างของแผ่นจาน
โครงสร้างของแผ่นจาน
 แทรค (Track)
เส้นที่อยู่เป็นแนววงกลมรอบๆของจานแผ่นแม่เหล็ก จะมี
มากหรือน้อยขึ้นอยู่กับชนิดและประเภทของจาน
 เซกเตอร์ (Sector)
แทรคที่แบ่งออกเป็นส่วนๆสาหรับเก็บความจุของข้อมูล
เหมือนกับห้องพักต่างๆที่อยู่ในคอนโด
การคานวณความจุของแผ่นดิสก์
 แผ่นดิสเก็ตต์แบบ high-density ซึ่งมีพื้นที่เก็บข้อมูล 2
ด้าน แต่ละด้านมี 80 แทรค แต่ละแทรคแบ่งได้มากถึง
18 เซกเตอร์ และแต่ละเซกเตอร์สามารถเก็บข้อมูลได้
มากถึง 512 ไบต์
ความจุเท่ากับ 1.40625 MiB
หรือเท่ากับหน่วยวัด 1.44 MB
การป้องกันการเขียนทับ
1. สื่อเก็บข้อมูลแบบจานแม่เหล็ก
(Magnetic Disk devices)
 1.2 ฮาร์ดดิสก์ (Hard disks)
 อุปกรณ์เก็บบันทึกข้อมูลที่มีหลักการทางานและโครงสร้าง
คล้ายกับดิสเก็ตต์
 มีความจุข้อมูลและความเร็วในการเข้าถึงข้อมูลมากกว่าแผ่น
ดิสเก็ตต์
 ส่วนใหญ่จะติดตั้งอยู่ภายในเครื่องคอมพิวเตอร์
โครงสร้างของฮาร์ดดิสก์
 ฮาร์ดดิสก์ผลิตมาจากวัสดุแบบ
แข็งจานวนหลายแผ่นวางเรียงต่อ
กันเป็นชั้นๆเรียกว่า แพลตเตอร์
(platter)
โครงสร้างของฮาร์ดดิสก์
 โครงสร้างของฮาร์ดดิสก์โดยทั่วไปประกอบด้วย
platter - จานแม่เหล็กแต่ละจานบนฮาร์ดดิสก์
track - พื้นที่ตามแนวเส้นรอบวงบนแพลตเตอร์นั้น
sector – แทรคที่แบ่งย่อยออกเป็นท่อนเหมือนกับดิสเก็ตต์
cylinder - แทรคที่อยู่ตรงกันของแต่ละแพลตเตอร์
read/write head –หัวสาหรับการอ่าน/เขียนข้อมูล
การทางานของฮาร์ดดิสก์
 ตัวของแผ่นจานหมุนเร็วมากและหัวอ่านเขียนจะวาง
ลอยห่างเหนือแพลตเตอร์
 ระยะความห่างของแพลตเตอร์กับหัวอ่านมีค่าที่เล็ก
กว่าขนาดของเส้นผมหลายเท่า
 ใช้หลักการส่งกระแสไฟฟ้าเพื่อให้เกิดความ
เปลี่ยนแปลงของสนามแม่เหล็ก โดยหัวอ่านจะไม่มี
โอกาสสัมผัสกับแผ่น
ข้อแตกต่างระหว่างดิสก์เก็ตต์และฮาร์ดดิสก์
2. สื่อเก็บข้อมูลแบบแสง (Optical Storage
Device)
 การแบ่งวงของแทรคจะแบ่งเป็น
ลักษณะรูปก้นหอย
 เริ่มเก็บบันทึกข้อมูลจากส่วนด้านใน
ออกมาด้านนอก
 แบ่งส่วนย่อยของแทรคออกเป็น
เซกเตอร์เช่นเดียวกันกับแผ่นจาน
แม่เหล็ก
2.1 CD (Compact Disc)
 ปัจจุบันมีราคาถูกลงกว่าสมัยก่อนมาก
 อาจแยกออกได้ดังนี้
 CD-ROM (Compact disc read
only memory)
 CD-R (Compact disc
recordable)
 CD-RW (Compact disc
rewritable )
2.2 CD-ROM (Compact disc read only memory)
 นิยมใช้สาหรับการเก็บบันทึกข้อมูลทางคอมพิวเตอร์
 เช่น โปรแกรมโอเอส, โปรแกรมประยุกต์ ผลงานไฟล์มัลติมีเดียโปรแกรม
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน หรือ CD-Training
 อ่านข้อมูลได้อย่างเดียวแต่ไม่สามารถเขียนหรือบันทึกข้อมูลซ้าได้
 จุข้อมูลได้ถึง 650-750 MB
 มักเป็นแผ่นที่ปั๊มมาจากโรงงานหรือบริษัทผู้ผลิตโดยตรง
2.3 CD-R (Compact disc recordable)
 พบเห็นได้ตามร้านค้าจาหน่ายอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ทั่วไป
 มีราคาถูกลงอย่างมาก สามารถใช้เขียนบันทึกข้อมูลได้
 แต่ไม่สามารถลบข้อมูลที่เขียนไว้ได้
 เหมาะสาหรับบันทึกข้อมูลไฟล์ทั่วไป เช่น ภาพถ่ายจากกล้อง
ดิจิตอล เพลง MP3 หรือไฟล์งานในเครื่องส่วนตัว
2.4 CD-RW (Compact disc rewritable)
 ลักษณะแผ่นเหมือนกับแผ่น CD-R
 นอกจากเขียนบันทึกข้อมูลได้หลายครั้งแล้ว ยังสามารถลบ
ข้อมูลและเขียนซ้าใหม่ได้เรื่อยๆ
 ราคาแผ่นของ CD-RW ยังมีราคาสูงกว่า CD-R มาก
 เหมาะสาหรับเก็บไฟล์ที่เปลี่ยนแปลงบ่อยและเก็บข้อมูลนั้น
ไว้ในระยะเวลาอันสั้น ไม่ถาวร
 สามารถลบทิ้งแล้วเขียนใหม่อีกได้ถึงกว่า 1,000 ครั้ง
2.5 DVD (Digital Versatile Disc/Digital Video Disc)
 การเก็บข้อมูลจะแบ่งออกเป็นชั้น
เรียกว่า เลเยอร์ (layer)
 เก็บข้อมูลได้ทั้งสองด้าน (sides)
 ความจุของ DVD จะมีมากกว่า CD
หลายเท่าตัว
 รองรับกับงานด้านมัลติมีเดียได้เป็น
อย่างดี
ความจุของ DVD
มาตรฐานของแผ่น DVD
 ปัจจุบันมีการนาแผ่น DVD มาประยุกต์ใช้กันอย่างแพร่หลาย
 มีมาตรฐานที่ค่อนข้างแตกต่างกันไม่เหมือนกับ แผ่น CD พอจะ
แยกออกได้คือ
 DVD-ROM
 DVD-R และ DVD-RW
 DVD+R และ DVD+RW
2.5.1 DVD-ROM
 ผลิตจากบริษัทผู้ผลิตหรือโรงงานโดยตรง
 นิยมใช้เก็บข้อมูลขนาดใหญ่มาก เช่น ภาพยนตร์ความ
คมชัดสูงและต้องการเสียงที่สมจริง การสารองข้อมูลขนาด
ใหญ่
 ไม่สามารถเขียนหรือลบข้อมูลได้
2.5.2 DVD-R และ DVD-RW
 แผ่น DVD ประเภทเขียนข้อมูลได้ตามมาตรฐานขององค์กร DVD
 Forum (www.dvdforum.org)
 มีความจุข้อมูลสูงสุดคือ 4.7 GB
 DVD-R สามารถเขียนและบันทึกข้อมูลได้เพียงครั้งเดียว
 DVD-RW จะเขียนและบันทึกข้อมูลซ้าได้หลายๆครั้ง
2.5.3 DVD+R และ DVD+RW
 DVD ที่เขียนข้อมูลได้เช่นเดียวกันแต่เป็นมาตรฐานใหม่ของ
DVD+RW Alliance (www.dvdrw.com)
 มีความจุสูงสุดคือ 4.7 GB และอาจเพิ่มอีกในอนาคต
 การเขียนข้อมูลของ DVD+R และ DVD+RW จะคล้ายกับกลุ่ม
มาตรฐานเดิม
 แตกต่างที่ความเร็วในการเขียนแผ่นจะมีมากกว่า
3. สื่อเก็บข้อมูลแบบเทป (Tape device)
 เหมาะสาหรับการสารองข้อมูล (backup)
 มีราคาถูกและเก็บบันทึกข้อมูลได้จานวนมาก
 ลักษณะการเข้าถึงข้อมูลแบบเรียงลาดับต่อเนื่องกันไป
(sequential access)
 มีหลายขนาดแตกต่างกันไป
เทปบันทึกข้อมูลที่พบเห็นในปัจจุบัน
4. สื่อเก็บข้อมูลอื่นๆ (Other Storage Device)
 อุปกรณ์หน่วยความจาแบบแฟลช (Flash memory
Device)
 สื่อเก็บข้อมูลแบบใหม่ที่เริ่มนิยมใช้แทนแผ่นดิสเก็ตต์
 อาจอยู่ในรูปแบบของ memory card
4. อุปกรณ์แสดงผลลัพธ์ (Output Device)
 อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับการแสดงผลที่พบเห็นในปัจจุบันอาจแบ่ง
ออกได้เป็น 3 ประเภทดังนี้
 อุปกรณ์แสดงผลหน้าจอ (display devices)
 อุปกรณ์สาหรับพิมพ์งาน (print devices)
 อุปกรณ์ขับเสียง (audio devices)
อุปกรณ์แสดงผลหน้าจอ (Display devices)
 เทอร์มินอล (Terminals)
 พบเห็นได้กับจุดบริการขาย (POS -
Point Of Sale) ทั่วไป หรือจุดให้บริการ
ลูกค้าเพื่อทารายการบางประเภท เช่น ตู้
ฝากถอน ATM
 จอภาพมีขนาดเล็กกว่าจอภาพที่ใช้กับ
คอมพิวเตอร์โดยทั่วไป
อุปกรณ์แสดงผลหน้าจอ (Display devices)
 จอซีอาร์ที (CRT Monitors)
 ใช้กับเครื่องพีซีทั่วไป
 อาศัยหลอดแก้วแสดงผลขนาดใหญ่ที่
เรียกว่า หลอดรังสีคาโธด(cathode ray
tube)
 มีขนาดตั้งแต่ 14,15,16,17,19,20 และ21
นิ้ว เป็นต้น
อุปกรณ์แสดงผลหน้าจอ (Display devices)
 จอแอลซีดี (LCD Monitors)
 อาศัยการทางานของโมเลกุลชนิด
พิเศษที่เรียกว่า liquid crystal
 มีขนาดบางและสะดวกในการ
เคลื่อนย้ายมากกว่า
 ไม่เปลืองพื้นที่สาหรับการทางาน
 ปัจจุบันยังมีราคาที่แพงกว่าจอแบบ
ซีอาร์ทีมาก
อุปกรณ์แสดงผลหน้าจอ (Display devices)
 โปรเจคเตอร์ (Projectors)
 นิยมใช้สาหรับการจัดประชุม
สัมมนา หรือการนาเสนอผลงาน
(presentation)
 ทาหน้าที่เป็นเหมือนอุปกรณ์
ช่วยขยายภาพขนาดเล็กให้ไป
เป็นภาพขนาดใหญ่ที่บริเวณ
ฉากรับ
อุปกรณ์สาหรับพิมพ์งาน (Print Devices)
 เครื่องพิมพ์แบบดอทเมตริกซ์
(Dot matrix Printer)
 อาศัยหัวเข็มพิมพ์กระทบลงไปที่
ผ้าหมึกและตัวกระดาษโดยตรง
 เหมาะกับการพิมพ์เอกสาร
ประเภทมีสาเนา (copy)
 นิยมเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า
เครื่องพิมพ์แบบกระทบ (impact
printer)
อุปกรณ์สาหรับพิมพ์งาน (Print Devices)
 เครื่องพิมพ์แบบเลเซอร์ (Laser
Printer)
 มีความคมชัดมากกว่าเครื่องพิมพ์แบบอื่น
 อาศัยการทางานของแสงเลเซอร์
 ข้อเสียคือไม่สามารถพิมพ์เอกสารที่เป็น
แบบสาเนา (copy) เหมือนกับเครื่องพิมพ์
แบบดอทเมตริกซ์ได้
อุปกรณ์สาหรับพิมพ์งาน (Print Devices)
 เครื่องพิมพ์แบบอิงค์เจ็ต
(Ink-jet Printer)
 อาศัยน้าหมึกพ่นลงไปบนกระดาษ
 เลือกใช้ได้ทั้งหมึกสีและขาวดา
 มีทั้งแบบที่มีราคาถูกที่ใช้งานตาม
บ้านทั่วไปและเครื่องขนาดใหญ่
ราคาแพงสาหรับงานพิมพ์
โปสเตอร์ขนาดใหญ่
อุปกรณ์สาหรับพิมพ์งาน (Print Devices)
 พลอตเตอร์ (Plotter)
 นิยมใช้กับการพิมพ์เอกสารขนาด
ใหญ่ที่ต้องการความละเอียดสูง เช่น
ภาพโฆษณาแผนที่ แผนผัง แบบ
แปลน
 อาศัยการวาดภาพด้วยปากกาความ
ร้อนเขียนลงไปที่กระดาษ
 อาจพบเห็นได้น้อยลง เนื่องจากการ
เข้ามาแทนที่ของเครื่องพิมพ์แบบอิงค์
เจ็ต
อุปกรณ์ขับเสียง (Audio Devices)
 ลาโพง (Speaker)
 เป็นอุปกรณ์สาหรับช่วยขับเสียงออกจาก
คอมพิวเตอร์
 มีราคาถูกมากตั้งแต่ร้อยกว่าบาทจนถึง
หลักพัน
 เหมาะสาหรับฟังเสียงเพลงหรือเสียง
ประกอบภาพยนตร์รวมถึงเสียงที่ได้จาก
การพูดผ่านไมโครโฟน เป็นต้น
อุปกรณ์ขับเสียง (Audio Devices)
 หูฟัง (Headphone)
 นิยมใช้สาหรับการฟังเสียงแบบส่วนตัว
 บางรุ่นอาจพบได้ทั้งหูฟังและไมโครโฟนอยู่ในตัวเดียวกัน
 มีให้เลือกหลายชนิดทั้งที่แบบมีสายเชื่อมต่อและแบบไร้สาย
 ราคามีตั้งแต่ไม่กี่ร้อยบาทจนถึงหลักพันขึ้นอยู่กับคุณภาพและยี่ห้อ
ของบริษัทผู้ผลิต
แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 4
 คีย์บอร์ดแบบเออร์โกโนมิกส์ ช่วยลดปัญหาในการทางาน
กับคอมพิวเตอร์ได้อย่างไร จงยกตัวอย่างประกอบ
 ออปติคอลเมาส์มีหลักการทางานแตกต่างจากเมาส์แบบ
ทั่วไปอย่างไร
 OMR คืออะไร จงอธิบายพร้อมทั้งยกตัวอย่างประกอบของ
ลักษณะงานที่นาไปใช้
 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่ถือว่าเป็น หัวใจหลักของเครื่องพีซีทุก
เครื่อง คืออุปกรณ์ใด เหตุใดจึงเรียกเช่นนั้น
 หน่วยเก็บข้อมูลสารองแบ่งได้เป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง จงยกตัวอย่าง
มาประเภทละ 2 รายการ
 แทรคและเซกเตอร์ในสื่อเก็บข้อมูลจานแม่เหล็กคืออะไร
 แผ่นดิสก์เก็ตต์แผ่นหนึ่งเก็บข้อมูลได้ 2 ด้าน แต่ละด้านมี 80 แทรค
แต่ละแทรคแบ่งได้ 9 เซกเตอร์ และแต่ละเซกเตอร์สามารถเก็บข้อมูล
ได้มากถึง 512 ไบต์ จงคานวณหาความจุของแผ่นนี้
 ดิสเก็ตต์และฮาร์ดดิสก์ มีความแตกต่างกันอย่างไรบ้าง จงอธิบาย
แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 4
 สื่อเก็บข้อมูลประเภท CD และ DVD มีความแตกต่างกัน
อย่างไรบ้าง
 Point Of Sale คืออะไร
 งานเกี่ยวกับการออกใบเสร็จรับเงิน การออกใบกากับ
ภาษีที่ต้องมีสาเนาหลายใบ ควรใช้เครื่องพิมพ์แบบใด
เครื่องดังกล่าวมีหลักการทางานอย่างไรบ้าง
 เครื่องพิมพ์แบบอิงค์เจ็ตและแบบเลเซอร์ แตกต่างกัน
อย่างไรบ้าง จงอธิบาย
แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 4

More Related Content

What's hot

ส่วนประกอบComputer
ส่วนประกอบComputerส่วนประกอบComputer
ส่วนประกอบComputerPanurud Klom-on
 
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์Jit Khasana
 
มัลติมีเดีย
มัลติมีเดียมัลติมีเดีย
มัลติมีเดียBeerza Kub
 
Video Conference
Video ConferenceVideo Conference
Video ConferenceNong ton
 
À¸®à¸²à¸£à¹œà¸”แวร๜และอุปกรณ๜a...
À¸®à¸²à¸£à¹œà¸”แวร๜และอุปกรณ๜a...À¸®à¸²à¸£à¹œà¸”แวร๜และอุปกรณ๜a...
À¸®à¸²à¸£à¹œà¸”แวร๜และอุปกรณ๜a...greatncr
 
งานคอม ไม่บอก-หมก
งานคอม ไม่บอก-หมกงานคอม ไม่บอก-หมก
งานคอม ไม่บอก-หมกphatcharaphon srikaew
 
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์Oungink Natapha
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์prakaipet
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์Krusine soyo
 
2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์Chatree MChatree
 
เอกสารการบรรยาย เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
เอกสารการบรรยาย เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้นเอกสารการบรรยาย เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
เอกสารการบรรยาย เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้นPhicha Pintharong
 
ความรู้เบื้องต้นคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นคอมพิวเตอร์jumphu9
 

What's hot (16)

ส่วนประกอบComputer
ส่วนประกอบComputerส่วนประกอบComputer
ส่วนประกอบComputer
 
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
 
มัลติมีเดีย
มัลติมีเดียมัลติมีเดีย
มัลติมีเดีย
 
Video Conference
Video ConferenceVideo Conference
Video Conference
 
À¸®à¸²à¸£à¹œà¸”แวร๜และอุปกรณ๜a...
À¸®à¸²à¸£à¹œà¸”แวร๜และอุปกรณ๜a...À¸®à¸²à¸£à¹œà¸”แวร๜และอุปกรณ๜a...
À¸®à¸²à¸£à¹œà¸”แวร๜และอุปกรณ๜a...
 
งานคอม ไม่บอก-หมก
งานคอม ไม่บอก-หมกงานคอม ไม่บอก-หมก
งานคอม ไม่บอก-หมก
 
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 
''
''''
''
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
 
2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
 
เอกสารการบรรยาย เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
เอกสารการบรรยาย เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้นเอกสารการบรรยาย เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
เอกสารการบรรยาย เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
 
Intro to Comp
Intro to CompIntro to Comp
Intro to Comp
 
ความรู้เบื้องต้นคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นคอมพิวเตอร์
 
Com
ComCom
Com
 

Viewers also liked

หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1jzturbo
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศMeaw Sukee
 
1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศKrooIndy Csaru
 
คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศคอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศMameawjung ZaZa
 
ฮาร์ดแวร์
ฮาร์ดแวร์ฮาร์ดแวร์
ฮาร์ดแวร์jennysarida
 
Hardware&Utility
Hardware&UtilityHardware&Utility
Hardware&Utilityshadowrbac
 

Viewers also liked (7)

หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Hardware
HardwareHardware
Hardware
 
คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศคอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
 
ฮาร์ดแวร์
ฮาร์ดแวร์ฮาร์ดแวร์
ฮาร์ดแวร์
 
Hardware&Utility
Hardware&UtilityHardware&Utility
Hardware&Utility
 

Similar to หน่วยที่ 4

2. อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ (ใบความรู้)
2. อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ (ใบความรู้)2. อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ (ใบความรู้)
2. อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ (ใบความรู้)phatrinn555
 
Basiccom
BasiccomBasiccom
Basiccomkruniid
 
Basiccom
BasiccomBasiccom
Basiccomkruniid
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์Pavinee Weeranitiwechasarn
 
Basiccom1
Basiccom1Basiccom1
Basiccom1mod2may
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ยุทธกิจ สัตยาวุธ
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์MissOi1109
 
หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของระบบสารสนเทศหน่วยที่ 2 องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของระบบสารสนเทศsomdetpittayakom school
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ Radompon.com
 
เอกสารประกอบการสอน ซอฟต์แวร์ และฮาร์ดแวร์
เอกสารประกอบการสอน ซอฟต์แวร์ และฮาร์ดแวร์เอกสารประกอบการสอน ซอฟต์แวร์ และฮาร์ดแวร์
เอกสารประกอบการสอน ซอฟต์แวร์ และฮาร์ดแวร์Phicha Pintharong
 
Hardware2
Hardware2Hardware2
Hardware2Owat
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นFed Pij
 
ฮาร์ดแวร์
ฮาร์ดแวร์ฮาร์ดแวร์
ฮาร์ดแวร์Jintana Pandoung
 
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีtee0533
 

Similar to หน่วยที่ 4 (20)

Word3
Word3Word3
Word3
 
Word3 24
Word3 24Word3 24
Word3 24
 
Word3 24
Word3 24Word3 24
Word3 24
 
2. อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ (ใบความรู้)
2. อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ (ใบความรู้)2. อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ (ใบความรู้)
2. อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ (ใบความรู้)
 
Basiccom
BasiccomBasiccom
Basiccom
 
Basiccom
BasiccomBasiccom
Basiccom
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
Basiccom1
Basiccom1Basiccom1
Basiccom1
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของระบบสารสนเทศหน่วยที่ 2 องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
เอกสารประกอบการสอน ซอฟต์แวร์ และฮาร์ดแวร์
เอกสารประกอบการสอน ซอฟต์แวร์ และฮาร์ดแวร์เอกสารประกอบการสอน ซอฟต์แวร์ และฮาร์ดแวร์
เอกสารประกอบการสอน ซอฟต์แวร์ และฮาร์ดแวร์
 
Com
ComCom
Com
 
Hardware2
Hardware2Hardware2
Hardware2
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
ฮาร์ดแวร์
ฮาร์ดแวร์ฮาร์ดแวร์
ฮาร์ดแวร์
 
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 

More from jzturbo

หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์jzturbo
 
การจัดการข้อมูล
การจัดการข้อมูลการจัดการข้อมูล
การจัดการข้อมูลjzturbo
 
หน่วยที่ 6
หน่วยที่ 6หน่วยที่ 6
หน่วยที่ 6jzturbo
 
software
softwaresoftware
softwarejzturbo
 
software
softwaresoftware
softwarejzturbo
 
หน่วยที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์jzturbo
 
หน่วยที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์jzturbo
 
หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศหน่วยที่ 2 องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศjzturbo
 

More from jzturbo (8)

หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
การจัดการข้อมูล
การจัดการข้อมูลการจัดการข้อมูล
การจัดการข้อมูล
 
หน่วยที่ 6
หน่วยที่ 6หน่วยที่ 6
หน่วยที่ 6
 
software
softwaresoftware
software
 
software
softwaresoftware
software
 
หน่วยที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
หน่วยที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศหน่วยที่ 2 องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 

หน่วยที่ 4

  • 2. ฮาร์ดแวร์  อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับการใช้งานร่วมกันกับ คอมพิวเตอร์  มองเห็นและจับต้องได้ มีทั้งที่ติดตั้งอยู่ภายในและ ภายนอกตัวเครื่องคอมพิวเตอร์  นิยมเรียกว่า device ซึ่งจะทางานประสานกันตั้งแต่การ ป้อนข้อมูลเข้า (input) การประมวลผล (process) และการแสดงผลลัพธ์(output)
  • 3. แบ่งออกได้เป็น 4 ประเภท 1. อุปกรณ์นาข้อมูลเข้า (Input Device) 2. อุปกรณ์ประมวลผล (Process Device) 3. หน่วยความจาสารอง (Secondary Storage Device) 4. อุปกรณ์แสดงผลลัพธ์ (Output Device) ฮาร์ดแวร์
  • 4. 1. อุปกรณ์นาข้อมูลเข้า (Input Device)  อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับการ นาข้อมูลหรือชุดคาสั่งเข้า มายังระบบ  ข้อมูลที่นาเข้าอาจเป็น ตัวเลขตัวอักษร ภาพกราฟิก เสียงหรือวิดีโอ
  • 5. ประเภทการกด (Keyed Device)  คีย์บอร์ด (Keyboard) อุปกรณ์นาข้อมูลเข้าที่นิยมใช้กันมากที่สุดในปัจจุบัน รับข้อมูลป้อนเข้าที่เป็นตัวอักษร อักขระพิเศษ ตัวเลข รวมถึงชุดคาสั่งต่างๆ กลุ่มของแป้นพิมพ์วางเรียงต่อกันเหมือนกับเครื่องพิมพ์ดีด ข้อมูลที่ป้อนเข้าจะถูกเก็บไปยังหน่วยความจาของระบบ และแปลงให้เป็นรหัสที่คอมพิวเตอร์เข้าใจ
  • 7. คีย์บอร์ด (Keyboard)  คีย์บอร์ดติดตั้งภายใน (Built-in keyboard)  ขนาดของแป้นพิมพ์เล็กลงกว่า แบบมาตรฐานทั่วไป  พื้นที่ในการทางานจึงจากัดให้เล็ก ลงตามไปด้วย  มีอยู่ในคอมพิวเตอร์แบบพกพา เช่นโน้ตบุ๊คหรือ เดสก์โน้ต
  • 8. คีย์บอร์ด (Keyboard)  คีย์บอร์ดเออร์โกโนมิกส์ (Ergonomic keyboard)  ออกแบบโดยคานึงถึงความสะดวกสบาย และความปลอดภัยของผู้ใช้งานเป็นหลัก  ลดความเมื่อยล้าจากการพิมพ์ได้  เพิ่มอุปกรณ์สาหรับวางข้อมือและ ออกแบบแป้นพิมพ์ให้สัมพันธ์กับสรีระ ของมนุษย์
  • 9. คีย์บอร์ด (Keyboard)  คีย์บอร์ดไร้สาย (Cordless keyboard)  ส่งผ่านข้อมูลโดยใช้เทคโนโลยีไร้สาย  ทางานได้ภายใต้รัศมีของสัญญาณ นอกเหนือจากโต๊ะทางานได้  ดึง ย้าย หรือเปลี่ยนตาแหน่ง ทาได้ง่าย กว่า  ใช้พลังงานของแบตเตอรี
  • 10. คีย์บอร์ด (Keyboard)  คีย์บอร์ดพกพา (Portable keyboard)  ใช้กับอุปกรณ์ประเภทพีดีเอ  นิยมใช้กับการพิมพ์ข้อความแทนปากกาช่วย เขียน เช่น รายงานจดหมายหรือบันทึกการ ประชุม  สามารถพกพาไปยังที่ต่างๆได้  สามารพับเก็บและกางออกมาใช้ได้เมื่อ ต้องการ
  • 11. คีย์บอร์ด (Keyboard)  คีย์บอร์ดเสมือน (Virtual keyboard)  ทางานร่วมกันกับเครื่องพีดีเอ เช่นเดียวกัน  จาลองภาพให้เป็นเสมือนคีย์บอร์ดจริง  อาศัยการทางานของแสงเลเซอร์ยิงลง ไปบนบริเวณพื้นผิวเรียบ  เมื่อต้องการใช้งาน สามารถพิมพ์หรือ ป้อนข้อมูลที่เห็นเป็นภาพเหมือนแผง แป้นพิมพ์ได้เลยทันที
  • 13. เมาส์ (Mouse)  เมาส์แบบทั่วไป (Mechanical mouse)  มีการใช้ลูกบอลเป็นตัวขับเคลื่อนทิศทาง  มีลักษณะเป็นลูกกลมๆทาจากแผ่นยาง กลิ้งอยู่ส่วนด้านล่าง  ส่วนบนของเมาส์จะมีปุ่มให้เลือกกด ประมาณ 2-3 ปุ่ม ขึ้นอยู่กับบริษัทผู้ผลิต  เมาส์แบบใหม่สามารถควบคุมการทางาน ขึ้นลงของสโครลบาร์ในหน้าต่างของ โปรแกรมบางประเภทได้เรียกว่า scroll mouse
  • 14. เมาส์ (Mouse)  เมาส์แบบแสงหรือออปติคอลเมาส์ (Optical mouse)  ใช้แสงส่องกระทบพื้นผิวและแปลงทิศทางชี้ ตาแหน่งแทนการใช้ล้อหมุน  ไม่มีปัญหาเรื่องฝุ่นละอองจับ อันเป็นสาเหตุ ให้การบังคับทิศทางผิดพลาด  มักนิยมเรียกว่า ออปติคอลเมาส์ ซึ่ง ปัจจุบัน มีทั้งที่เป็นแบบต่อกับคอมพิวเตอร์โดยใช้สาย และไม่ใช้สาย
  • 15. แทรคบอล (Trackball)  หลักการทางานคล้ายกับเมาส์ โดยจะมี ลูกบอลติดตั้งไว้อยู่ส่วนบนเพื่อใช้ ควบคุมทิศทาง  เมื่อหมุนลูกบอลก็คือการย้ายตาแหน่ง ตัวชี้นั่นเอง  ลูกบอลมีขนาดใหญ่กว่าเมาส์มาก
  • 16. แผ่นรองสัมผัสหรือทัชแพด (touch pad)  เป็นแผ่นสี่เหลี่ยมบางๆติดตั้งไว้อยู่ใน คอมพิวเตอร์แบบพกพา  ใช้ทางานแทนเมาส์โดยกดสัมผัสหรือ ใช้นิ้วลากผ่าน  ส่วนมากจะติดตั้งไว้บริเวณด้านล่าง ของแป้นพิมพ์ในคอมพิวเตอร์แบบ พกพา
  • 17. แท่งชี้ควบคุมหรือพอยติงสติ๊ก (pointing stick)  มีลักษณะเป็นก้อนเล็กๆคล้ายกับ ยางลบดินสอ เพื่อช่วยชี้ตาแหน่งของ ข้อมูล  ติดตั้งอยู่ตรงส่วนกลางของแป้นพิมพ์ ในคอมพิวเตอร์แบบพกพา  ใช้นิ้วมือเป็นตัวบังคับเพื่อทางานแทน เมาส์
  • 18. จอยสติ๊ก (Joystick)  พบเห็นได้กับการใช้เล่นเกม คอมพิวเตอร์  การควบคุมทิศทางทาได้ง่ายและ สะดวกกว่าเมาส์  บังคับได้หลายทิศทาง เช่น การบังคับ ทิศทางซ้าย ขวา หน้า หลัง หรือบังคับ ทิศทางในระดับองศาที่แตกต่างกัน  ทาให้การเล่มเกมมีความสนุกและ สมจริงมาก
  • 19. พวงมาลัยบังคับทิศทาง (Wheel)  สาหรับเล่นเกมจาลองประเภทการ แข่งรถหรือควบคุมทิศทางของ ยานพาหนะ  ลักษณะเหมือนกับพวงมาลัยบังคับ ทิศทางในรถยนต์จริง  อาจใช้งานร่วมกันกับอุปกรณ์เหยียบ เบรกจาลอง (pedal) และตัวเร่ง ความเร็วจาลอง(accelerator) ใน เกมประเภทรถแข่งได้
  • 20. จอสัมผัสหรือทัชสกรีน (Touch screen)  สามารถใช้นิ้วมือแตะบังคับลงไปยังหน้า จอคอมพิวเตอร์ได้  ทางานแทนเมาส์และคีย์บอร์ด และสร้าง ปฏิสัมพันธ์กับผู้ใช้ (interactive)ได้เป็น อย่างดี  นิยมใช้กับตู้ให้บริการข้อมูลนักท่องเที่ยว ตู้เกมบางประเภท เช่น เกมประเภท จับผิดภาพ เกมประเภททานายดวงชะตา
  • 21. ประเภทปากกา (Pen-Based Device)  ปากกาแสง (Light pen)  สาหรับการกาหนดตาแหน่งบนจอภาพ รวมถึงการป้อนข้อมูลเข้าแทน แป้นพิมพ์  สามารถลากหรือวาดทิศทางได้ง่ายกว่า เมาส์ ทาให้การทางานสะดวกกว่า  มักใช้ร่วมกับโปรแกรมประเภทช่วย สาหรับการออกแบบหรือ CAD (computer aided design)
  • 22. ประเภทปากกา (Pen-Based Device)  สไตล์ลัส (Stylus)  นิยมใช้กันมากในคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก เช่น พีดีเอและแท็บเล็ตพีซี  ใช้เลือกรายการ เขียนตัวหนังสือหรือวาดลายเส้นลงบนหน้าจอ อุปกรณ์นั้นๆได้โดยตรง  อาจพบเห็นได้ในสมาร์ทโฟนบางรุ่น
  • 23. ประเภทปากกา (Pen-Based Device)  ดิจิไทเซอร์ (Digitizer)  อุปกรณ์อ่านพิกัดซึ่งมักใช้งาน ร่วมกับอุปกรณ์ประเภทปากกา  ทาหน้าที่เป็นเสมือนกระดานรองรับ สาหรับการป้อนข้อความ วาดภาพ หรือออกแบบงานที่เกี่ยวกับกราฟิก  มีความคล่องตัวและสะดวกต่อการ ใช้งานมาก
  • 24. ประเภทข้อมูลมัลติมีเดีย (Multimedia Input Device)  ไมโครโฟน (Microphone)  รับข้อมูลประเภทเสียงพูด (voice) เข้าสู่ ระบบ  บันทึกหรืออัดข้อมูลเสียงเพื่อใช้งานในสตูดิโอ ตัดต่อเสียงได้  อาจนาไปใช้กับการสนทนาบนอินเทอร์เน็ตได้ ด้วย
  • 25. ประเภทข้อมูลมัลติมีเดีย (Multimedia Input Device)  กล้องถ่ายรูปดิติตอล (Digital camera)  รับข้อมูลประเภทภาพถ่ายดิจิตอล  ภาพที่ได้สามารถบันทึกเก็บหรือถ่าย โอนลงคอมพิวเตอร์โดยง่าย  อัดหรือขยายต่อเป็นภาพถ่ายปกติไว้ได้
  • 26. ประเภทข้อมูลมัลติมีเดีย (Multimedia Input Device)  กล้องถ่ายวิดีโอดิจิตอล (Digital Video camera)  มักเรียกย่อๆว่ากล้องประเภท DV  สามารถถ่ายภาพเคลื่อนไหวและ ภาพนิ่งได้  บันทึกเก็บหรือถ่ายโอนลง คอมพิวเตอร์ได้  หากเป็นภาพเคลื่อนไหวจะใช้พื้นที่ เก็บข้อมูลมากกว่าภาพนิ่ง
  • 27. ประเภทข้อมูลมัลติมีเดีย (Multimedia Input Device)  เว็บแคม (Web cam)  กล้องถ่ายวิดีโอประเภทหนึ่งที่ใช้สาหรับ การถ่ายภาพเคลื่อนไหว  ภาพที่ได้จะหยาบและมีขนาดไฟล์เล็ก กว่ากล้องแบบ DV มาก  นิยมใช้กับการติดต่อสื่อสารบนเครือข่าย อินเทอร์เน็ต  มีราคาถูก บางรุ่นสามารถถ่ายภาพนิ่งได้ ด้วย
  • 28. ประเภทสแกนและอ่านข้อมูลด้วยแสง (scanner and optical reader)  สแกนเนอร์ (Scanner)  อุปกรณ์อ่านข้อมูลประเภทภาพถ่าย  เพียงแค่วางภาพถ่ายหรือเอกสารแล้ว สั่งให้เครื่องอ่านหรือสแกนก็สามารถ เก็บรูปภาพหรือเอกสารสาคัญไว้ใน คอมพิวเตอร์ได้  ทางานเหมือนกับเครื่องถ่ายเอกสาร
  • 29. ประเภทสแกนและอ่านข้อมูลด้วยแสง (scanner and optical reader)  โอเอ็มอาร์ (OMR - Optical Mark Reader)  ใช้ประโยชน์ในการตรวจข้อสอบหรือคะแนน ของกลุ่มบุคคลจานวนมาก  เช่น การสอบเอ็นทรานซ์ การสอบวัดระดับ ภาษาอังกฤษ  เครื่องจะอ่านเครื่องหมาย (mark) ที่ผู้เข้า สอบได้ระบายไว้ในกระดาษคาตอบเพื่อนาไป ประมวลผลต่อ
  • 30. ประเภทสแกนและอ่านข้อมูลด้วยแสง (scanner and optical reader)  เครื่องอ่านบาร์โค้ด (Bar code reader)  มีหลายรูปแบบ เช่น หัวอ่านมีด้ามจับ คล้ายปืนหรือฝังอยู่ในแท่นของเครื่องเก็บ เงินสด  พบเห็นได้ตามจุดบริการเก็บเงิน(POS - Point Of Sale) ร้านอาหาร ร้านสะดวกซื้อ หรือห้างสรรพสินค้าทั่วไป  สะดวกต่อการตรวจเช็คข้อมูลสินค้า คงเหลือ และการชาระเงิน
  • 31. ประเภทสแกนและอ่านข้อมูลด้วยแสง (scanner and optical reader)  เอ็มไอซีอาร์ (MICR – Magnetic- Ink Character Recognition)  มักเรียกย่อๆว่าเครื่อง เอ็มไอซีอาร์  เป็นอุปกรณ์ที่ใช้อ่านตัวอักษรด้วย แสงของเอกสารสาคัญ  พบเห็นได้กับประมวลผลเช็คใน ธุรกิจด้านธนาคารเป็นส่วนใหญ่
  • 32. ประเภทตรวจสอบข้อมูลทางกายภาพ (Biometric Input Device)  ไบโอเมตริกส์ (biometric) เป็น ลักษณะของการตรวจสอบข้อมูล เฉพาะตัวของแต่ละคน  เครื่องอ่านมีอยู่หลายประเภทขึ้นอยู่ กับลักษณะการตรวจสอบ เช่น เครื่อง อ่านลายนิ้วมือ เครื่องตรวจสอบม่าน ตา เครื่องวิเคราะห์เสียงพูด  ป้องกันและรักษาความปลอดภัยใน ระดับที่สูงมาก
  • 33. 2. อุปกรณ์ประมวลผล (Process Device)  ซีพียู (CPU - Central Processing Unit)  หน่วยประมวลผลกลาง หรือเรียกกัน โดยทั่วไปว่าไมโครโพรเซสเซอร์  เปรียบเหมือนกับสมองของมนุษย์ที่ใช้ใน การคิดวิเคราะห์และประมวลผลเพื่อหา ผลลัพธ์  ทาหน้าที่ควบคุมการทางานและ ประมวลผลข้อมูลที่ได้รับจากอุปกรณ์นา ข้อมูลเข้า (input device) และส่งต่อไป ยังอุปกรณ์ส่วนอื่น
  • 35. สถาปัตยกรรมที่ใช้สาหรับผลิตซีพียู  RISC-Reduced Instruction Set Computer ออกแบบมาโดยลดจานวนคาสั่งภายในซีพียูให้มีจานวน และขนาดที่เล็กลง ส่งผลให้ความเร็วในการทางานโดยรวมของซีพียูเพิ่มขึ้น มีที่เหลือสาหรับทาวงจรอย่างอื่นในตัวซีพียู เช่น ทาที่พัก ข้อมูล (cache) ขนาดใหญ่
  • 36. สถาปัตยกรรมที่ใช้สาหรับผลิตซีพียู CISC-Complex Instruction Set Computer พยายามให้ชุดคาสั่งที่ซีพียูสามารถทางานได้นั้นมีคาสั่งในรูปแบบ ต่างๆให้เลือกใช้มากมายหลายร้อยคาสั่ง มีข้อจากัดคือวงจรภายในต้องมีความซับซ้อนและใช้เวลาในการ ทางานแต่ละคาสั่งนายกว่าแบบ RISC ซีพียูที่ออกแบบตามแนวทางนี้เช่น เพนเทียมรุ่นแรกๆของบริษัทอิน เทล รวมถึงซีพียูจากค่าย AMD และ Cyrix เป็นต้น * ปัจจุบันมักใช้แนวทางที่เริ่มปรับเข้าหากัน คือเอาส่วนดีของแต่ละ แนวทางมาปรับใช้ เช่น ใน ซีพียูเพนเทียม 4 มีการเอาแนวคิดของ RISC เข้าไปผสมด้วย
  • 37. หน่วยความจาหลัก (Primary Storage)  เรียกได้หลายชื่อเช่น main memory, primary memory,internal memory, internal storage  ทางานใกล้ชิดกับซีพียูมากที่สุด  ช่วยเหลือการทางานของซีพียูให้มีประสิทธิภาพที่ดีขึ้น เช่น การพักหรือเก็บข้อมูลขณะที่มีการประมวลผล  แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ ROM และ RAM
  • 38. หน่วยความจาแบบ ROM  ไม่จาเป็นต้องใช้กระแสไฟฟ้าเลี้ยง (nonvolatile memory)  ส่วนใหญ่มักถูกติดตั้งไว้เพื่อตรวจสอบความพร้อมในการ ทางานของเครื่อง  มักจะมีการผลิตชุดคาสั่งไว้ใน ROM อย่างถาวรมาแล้ว (เรียกว่า firmware)
  • 39. หน่วยความจาแบบ RAM  ต้องอาศัยกระแสไฟฟ้าในการทางาน (volatile memory)  ใช้เป็นที่พักข้อมูลในขณะ ประมวลผลของซีพียูเพื่อให้การ ทางานเร็วขึ้น  หากไฟดับหรือไม่มีกระแสไฟหล่อ เลี้ยง ข้อมูลที่เก็บไว้จะสูญหายหมด
  • 40. เมนบอร์ด (Main board)  แผงควบคุมวงจรต่อเชื่อมอุปกรณ์ที่ เกี่ยวข้องกับการทางานของคอมพิวเตอร์ ทั้งหมด  เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า แผงวงจรหลัก หรือ mother board  ภายในแผงวงจรจะมีเส้นบัสเพื่อใช้ส่ง สัญญาณไฟฟ้าระหว่างอุปกรณ์ต่างๆ ภายในตัวเครื่องให้ทางานร่วมกันได้
  • 41. ชิปเซ็ต (Chip set)  ชิปจานวนหนึ่งหรือหลายตัวที่บรรจุวงจร สาคัญๆที่ช่วยการทางานของซีพียู  ปกติจะติดตั้งมาพร้อมกับเมนบอร์ดหรือ แผงวงจรหลักถอดเปลี่ยนไม่ได้  ทาหน้าที่เป็นตัวกลางประสานงานและ ควบคุมการทางานของหน่วยความจา รวมถึงอุปกรณ์ต่อพ่วงทั้งแบบภายในหรือ ภายนอกทุกชนิดตามคาสั่งของซีพียู  ผู้ผลิตชิปเซ็ตส่วนมากจะผลิตซีพียูด้วย เช่น SiS, Intel,VIA, AMD เป็นต้น
  • 42. 3.หน่วยเก็บข้อมูลสารอง (Secondary Storage Device)  สาหรับเก็บบันทึกข้อมูล ต้องการใช้ประโยชน์ใน ภายหลัง  นิยมใช้ หน่วยความจาสารอง หรือที่เรียกว่า secondary storage  มีหลากหลายประเภทให้ เลือกใช้มากในปัจจุบัน
  • 43. ประเภทของสื่อเก็บบันทึกข้อมูล แบ่งออกได้ตามรูปแบบของสื่อที่จัดเก็บ 4 ประเภทคือ 1.สื่อเก็บข้อมูลแบบจานแม่เหล็ก (magnetic disk devices) 2.สื่อเก็บข้อมูลแสง (optical storage devices) 3. สื่อเก็บข้อมูลแบบเทป (tape devices) 4. สื่อเก็บข้อมูลอื่นๆ (other storage devices)
  • 44. 1.สื่อเก็บข้อมูลแบบจานแม่เหล็ก (Magnetic Disk devices)  1.1 ฟล็อปปี้ดิสก์(Floppy disks)  ได้รับความนิยมและใช้งานอย่างแพร่หลาย  เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า ดิสเก็ตต์หรือแผ่นดิสก์  การเก็บข้อมูลจะมีแผ่นจานบันทึกเคลือบสาร แม่เหล็กอยู่ด้านในที่ห่อหุ้มด้วยพลาสติกอีก ชั้นหนึ่ง
  • 45. การฟอร์แมตแผ่น (Format)  กระบวนการจัดพื้นที่เก็บไฟล์ข้อมูลก่อนใช้งานหรือการ เตรียมพื้นที่สาหรับเก็บบันทึกข้อมูล  จะต้องมีการจัดการข้อมูลโดยการ ฟอร์แมต (format) เมื่อ ใช้ครั้งแรกทุกครั้ง * ปัจจุบันมีการฟอร์แมตตั้งแต่กระบวนการผลิตแล้ว
  • 47. โครงสร้างของแผ่นจาน  แทรค (Track) เส้นที่อยู่เป็นแนววงกลมรอบๆของจานแผ่นแม่เหล็ก จะมี มากหรือน้อยขึ้นอยู่กับชนิดและประเภทของจาน  เซกเตอร์ (Sector) แทรคที่แบ่งออกเป็นส่วนๆสาหรับเก็บความจุของข้อมูล เหมือนกับห้องพักต่างๆที่อยู่ในคอนโด
  • 48. การคานวณความจุของแผ่นดิสก์  แผ่นดิสเก็ตต์แบบ high-density ซึ่งมีพื้นที่เก็บข้อมูล 2 ด้าน แต่ละด้านมี 80 แทรค แต่ละแทรคแบ่งได้มากถึง 18 เซกเตอร์ และแต่ละเซกเตอร์สามารถเก็บข้อมูลได้ มากถึง 512 ไบต์ ความจุเท่ากับ 1.40625 MiB หรือเท่ากับหน่วยวัด 1.44 MB
  • 50. 1. สื่อเก็บข้อมูลแบบจานแม่เหล็ก (Magnetic Disk devices)  1.2 ฮาร์ดดิสก์ (Hard disks)  อุปกรณ์เก็บบันทึกข้อมูลที่มีหลักการทางานและโครงสร้าง คล้ายกับดิสเก็ตต์  มีความจุข้อมูลและความเร็วในการเข้าถึงข้อมูลมากกว่าแผ่น ดิสเก็ตต์  ส่วนใหญ่จะติดตั้งอยู่ภายในเครื่องคอมพิวเตอร์
  • 52. โครงสร้างของฮาร์ดดิสก์  โครงสร้างของฮาร์ดดิสก์โดยทั่วไปประกอบด้วย platter - จานแม่เหล็กแต่ละจานบนฮาร์ดดิสก์ track - พื้นที่ตามแนวเส้นรอบวงบนแพลตเตอร์นั้น sector – แทรคที่แบ่งย่อยออกเป็นท่อนเหมือนกับดิสเก็ตต์ cylinder - แทรคที่อยู่ตรงกันของแต่ละแพลตเตอร์ read/write head –หัวสาหรับการอ่าน/เขียนข้อมูล
  • 55. 2. สื่อเก็บข้อมูลแบบแสง (Optical Storage Device)  การแบ่งวงของแทรคจะแบ่งเป็น ลักษณะรูปก้นหอย  เริ่มเก็บบันทึกข้อมูลจากส่วนด้านใน ออกมาด้านนอก  แบ่งส่วนย่อยของแทรคออกเป็น เซกเตอร์เช่นเดียวกันกับแผ่นจาน แม่เหล็ก
  • 56. 2.1 CD (Compact Disc)  ปัจจุบันมีราคาถูกลงกว่าสมัยก่อนมาก  อาจแยกออกได้ดังนี้  CD-ROM (Compact disc read only memory)  CD-R (Compact disc recordable)  CD-RW (Compact disc rewritable )
  • 57. 2.2 CD-ROM (Compact disc read only memory)  นิยมใช้สาหรับการเก็บบันทึกข้อมูลทางคอมพิวเตอร์  เช่น โปรแกรมโอเอส, โปรแกรมประยุกต์ ผลงานไฟล์มัลติมีเดียโปรแกรม คอมพิวเตอร์ช่วยสอน หรือ CD-Training  อ่านข้อมูลได้อย่างเดียวแต่ไม่สามารถเขียนหรือบันทึกข้อมูลซ้าได้  จุข้อมูลได้ถึง 650-750 MB  มักเป็นแผ่นที่ปั๊มมาจากโรงงานหรือบริษัทผู้ผลิตโดยตรง
  • 58. 2.3 CD-R (Compact disc recordable)  พบเห็นได้ตามร้านค้าจาหน่ายอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ทั่วไป  มีราคาถูกลงอย่างมาก สามารถใช้เขียนบันทึกข้อมูลได้  แต่ไม่สามารถลบข้อมูลที่เขียนไว้ได้  เหมาะสาหรับบันทึกข้อมูลไฟล์ทั่วไป เช่น ภาพถ่ายจากกล้อง ดิจิตอล เพลง MP3 หรือไฟล์งานในเครื่องส่วนตัว
  • 59. 2.4 CD-RW (Compact disc rewritable)  ลักษณะแผ่นเหมือนกับแผ่น CD-R  นอกจากเขียนบันทึกข้อมูลได้หลายครั้งแล้ว ยังสามารถลบ ข้อมูลและเขียนซ้าใหม่ได้เรื่อยๆ  ราคาแผ่นของ CD-RW ยังมีราคาสูงกว่า CD-R มาก  เหมาะสาหรับเก็บไฟล์ที่เปลี่ยนแปลงบ่อยและเก็บข้อมูลนั้น ไว้ในระยะเวลาอันสั้น ไม่ถาวร  สามารถลบทิ้งแล้วเขียนใหม่อีกได้ถึงกว่า 1,000 ครั้ง
  • 60. 2.5 DVD (Digital Versatile Disc/Digital Video Disc)  การเก็บข้อมูลจะแบ่งออกเป็นชั้น เรียกว่า เลเยอร์ (layer)  เก็บข้อมูลได้ทั้งสองด้าน (sides)  ความจุของ DVD จะมีมากกว่า CD หลายเท่าตัว  รองรับกับงานด้านมัลติมีเดียได้เป็น อย่างดี
  • 62. มาตรฐานของแผ่น DVD  ปัจจุบันมีการนาแผ่น DVD มาประยุกต์ใช้กันอย่างแพร่หลาย  มีมาตรฐานที่ค่อนข้างแตกต่างกันไม่เหมือนกับ แผ่น CD พอจะ แยกออกได้คือ  DVD-ROM  DVD-R และ DVD-RW  DVD+R และ DVD+RW
  • 63. 2.5.1 DVD-ROM  ผลิตจากบริษัทผู้ผลิตหรือโรงงานโดยตรง  นิยมใช้เก็บข้อมูลขนาดใหญ่มาก เช่น ภาพยนตร์ความ คมชัดสูงและต้องการเสียงที่สมจริง การสารองข้อมูลขนาด ใหญ่  ไม่สามารถเขียนหรือลบข้อมูลได้
  • 64. 2.5.2 DVD-R และ DVD-RW  แผ่น DVD ประเภทเขียนข้อมูลได้ตามมาตรฐานขององค์กร DVD  Forum (www.dvdforum.org)  มีความจุข้อมูลสูงสุดคือ 4.7 GB  DVD-R สามารถเขียนและบันทึกข้อมูลได้เพียงครั้งเดียว  DVD-RW จะเขียนและบันทึกข้อมูลซ้าได้หลายๆครั้ง
  • 65. 2.5.3 DVD+R และ DVD+RW  DVD ที่เขียนข้อมูลได้เช่นเดียวกันแต่เป็นมาตรฐานใหม่ของ DVD+RW Alliance (www.dvdrw.com)  มีความจุสูงสุดคือ 4.7 GB และอาจเพิ่มอีกในอนาคต  การเขียนข้อมูลของ DVD+R และ DVD+RW จะคล้ายกับกลุ่ม มาตรฐานเดิม  แตกต่างที่ความเร็วในการเขียนแผ่นจะมีมากกว่า
  • 66. 3. สื่อเก็บข้อมูลแบบเทป (Tape device)  เหมาะสาหรับการสารองข้อมูล (backup)  มีราคาถูกและเก็บบันทึกข้อมูลได้จานวนมาก  ลักษณะการเข้าถึงข้อมูลแบบเรียงลาดับต่อเนื่องกันไป (sequential access)  มีหลายขนาดแตกต่างกันไป
  • 68. 4. สื่อเก็บข้อมูลอื่นๆ (Other Storage Device)  อุปกรณ์หน่วยความจาแบบแฟลช (Flash memory Device)  สื่อเก็บข้อมูลแบบใหม่ที่เริ่มนิยมใช้แทนแผ่นดิสเก็ตต์  อาจอยู่ในรูปแบบของ memory card
  • 69. 4. อุปกรณ์แสดงผลลัพธ์ (Output Device)  อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับการแสดงผลที่พบเห็นในปัจจุบันอาจแบ่ง ออกได้เป็น 3 ประเภทดังนี้  อุปกรณ์แสดงผลหน้าจอ (display devices)  อุปกรณ์สาหรับพิมพ์งาน (print devices)  อุปกรณ์ขับเสียง (audio devices)
  • 70. อุปกรณ์แสดงผลหน้าจอ (Display devices)  เทอร์มินอล (Terminals)  พบเห็นได้กับจุดบริการขาย (POS - Point Of Sale) ทั่วไป หรือจุดให้บริการ ลูกค้าเพื่อทารายการบางประเภท เช่น ตู้ ฝากถอน ATM  จอภาพมีขนาดเล็กกว่าจอภาพที่ใช้กับ คอมพิวเตอร์โดยทั่วไป
  • 71. อุปกรณ์แสดงผลหน้าจอ (Display devices)  จอซีอาร์ที (CRT Monitors)  ใช้กับเครื่องพีซีทั่วไป  อาศัยหลอดแก้วแสดงผลขนาดใหญ่ที่ เรียกว่า หลอดรังสีคาโธด(cathode ray tube)  มีขนาดตั้งแต่ 14,15,16,17,19,20 และ21 นิ้ว เป็นต้น
  • 72. อุปกรณ์แสดงผลหน้าจอ (Display devices)  จอแอลซีดี (LCD Monitors)  อาศัยการทางานของโมเลกุลชนิด พิเศษที่เรียกว่า liquid crystal  มีขนาดบางและสะดวกในการ เคลื่อนย้ายมากกว่า  ไม่เปลืองพื้นที่สาหรับการทางาน  ปัจจุบันยังมีราคาที่แพงกว่าจอแบบ ซีอาร์ทีมาก
  • 73. อุปกรณ์แสดงผลหน้าจอ (Display devices)  โปรเจคเตอร์ (Projectors)  นิยมใช้สาหรับการจัดประชุม สัมมนา หรือการนาเสนอผลงาน (presentation)  ทาหน้าที่เป็นเหมือนอุปกรณ์ ช่วยขยายภาพขนาดเล็กให้ไป เป็นภาพขนาดใหญ่ที่บริเวณ ฉากรับ
  • 74. อุปกรณ์สาหรับพิมพ์งาน (Print Devices)  เครื่องพิมพ์แบบดอทเมตริกซ์ (Dot matrix Printer)  อาศัยหัวเข็มพิมพ์กระทบลงไปที่ ผ้าหมึกและตัวกระดาษโดยตรง  เหมาะกับการพิมพ์เอกสาร ประเภทมีสาเนา (copy)  นิยมเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า เครื่องพิมพ์แบบกระทบ (impact printer)
  • 75. อุปกรณ์สาหรับพิมพ์งาน (Print Devices)  เครื่องพิมพ์แบบเลเซอร์ (Laser Printer)  มีความคมชัดมากกว่าเครื่องพิมพ์แบบอื่น  อาศัยการทางานของแสงเลเซอร์  ข้อเสียคือไม่สามารถพิมพ์เอกสารที่เป็น แบบสาเนา (copy) เหมือนกับเครื่องพิมพ์ แบบดอทเมตริกซ์ได้
  • 76. อุปกรณ์สาหรับพิมพ์งาน (Print Devices)  เครื่องพิมพ์แบบอิงค์เจ็ต (Ink-jet Printer)  อาศัยน้าหมึกพ่นลงไปบนกระดาษ  เลือกใช้ได้ทั้งหมึกสีและขาวดา  มีทั้งแบบที่มีราคาถูกที่ใช้งานตาม บ้านทั่วไปและเครื่องขนาดใหญ่ ราคาแพงสาหรับงานพิมพ์ โปสเตอร์ขนาดใหญ่
  • 77. อุปกรณ์สาหรับพิมพ์งาน (Print Devices)  พลอตเตอร์ (Plotter)  นิยมใช้กับการพิมพ์เอกสารขนาด ใหญ่ที่ต้องการความละเอียดสูง เช่น ภาพโฆษณาแผนที่ แผนผัง แบบ แปลน  อาศัยการวาดภาพด้วยปากกาความ ร้อนเขียนลงไปที่กระดาษ  อาจพบเห็นได้น้อยลง เนื่องจากการ เข้ามาแทนที่ของเครื่องพิมพ์แบบอิงค์ เจ็ต
  • 78. อุปกรณ์ขับเสียง (Audio Devices)  ลาโพง (Speaker)  เป็นอุปกรณ์สาหรับช่วยขับเสียงออกจาก คอมพิวเตอร์  มีราคาถูกมากตั้งแต่ร้อยกว่าบาทจนถึง หลักพัน  เหมาะสาหรับฟังเสียงเพลงหรือเสียง ประกอบภาพยนตร์รวมถึงเสียงที่ได้จาก การพูดผ่านไมโครโฟน เป็นต้น
  • 79. อุปกรณ์ขับเสียง (Audio Devices)  หูฟัง (Headphone)  นิยมใช้สาหรับการฟังเสียงแบบส่วนตัว  บางรุ่นอาจพบได้ทั้งหูฟังและไมโครโฟนอยู่ในตัวเดียวกัน  มีให้เลือกหลายชนิดทั้งที่แบบมีสายเชื่อมต่อและแบบไร้สาย  ราคามีตั้งแต่ไม่กี่ร้อยบาทจนถึงหลักพันขึ้นอยู่กับคุณภาพและยี่ห้อ ของบริษัทผู้ผลิต
  • 80. แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 4  คีย์บอร์ดแบบเออร์โกโนมิกส์ ช่วยลดปัญหาในการทางาน กับคอมพิวเตอร์ได้อย่างไร จงยกตัวอย่างประกอบ  ออปติคอลเมาส์มีหลักการทางานแตกต่างจากเมาส์แบบ ทั่วไปอย่างไร  OMR คืออะไร จงอธิบายพร้อมทั้งยกตัวอย่างประกอบของ ลักษณะงานที่นาไปใช้  อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่ถือว่าเป็น หัวใจหลักของเครื่องพีซีทุก เครื่อง คืออุปกรณ์ใด เหตุใดจึงเรียกเช่นนั้น
  • 81.  หน่วยเก็บข้อมูลสารองแบ่งได้เป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง จงยกตัวอย่าง มาประเภทละ 2 รายการ  แทรคและเซกเตอร์ในสื่อเก็บข้อมูลจานแม่เหล็กคืออะไร  แผ่นดิสก์เก็ตต์แผ่นหนึ่งเก็บข้อมูลได้ 2 ด้าน แต่ละด้านมี 80 แทรค แต่ละแทรคแบ่งได้ 9 เซกเตอร์ และแต่ละเซกเตอร์สามารถเก็บข้อมูล ได้มากถึง 512 ไบต์ จงคานวณหาความจุของแผ่นนี้  ดิสเก็ตต์และฮาร์ดดิสก์ มีความแตกต่างกันอย่างไรบ้าง จงอธิบาย แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 4
  • 82.  สื่อเก็บข้อมูลประเภท CD และ DVD มีความแตกต่างกัน อย่างไรบ้าง  Point Of Sale คืออะไร  งานเกี่ยวกับการออกใบเสร็จรับเงิน การออกใบกากับ ภาษีที่ต้องมีสาเนาหลายใบ ควรใช้เครื่องพิมพ์แบบใด เครื่องดังกล่าวมีหลักการทางานอย่างไรบ้าง  เครื่องพิมพ์แบบอิงค์เจ็ตและแบบเลเซอร์ แตกต่างกัน อย่างไรบ้าง จงอธิบาย แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 4