SlideShare a Scribd company logo
บทที่ 4 การลาดับเหตุการณ์ทางธรณีวิทยา
(Sequence of Geological Event )
บทนา
เจมส์ ฮัตตัน (James Hutton) บิดาแห่งธรณีวิทยา ได้รวบรวมข้อมูลทาง
ธรณีวิทยาจาก หลักฐานที่เกิดขึ้นในอดีตเปรียบเทียบกับ เหตุการณ์ที่
เกิดขึ้นในปัจจุบัน พบว่า "เหตุการณ์ต่าง ๆ บนโลกที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน
เคยเกิดขึ้นแล้วในอดีต” จึงเสนอเป็นหลักการสาคัญที่เรียกว่า เอกรูปนิยม
(uniformitarianism) ของประโยคที่กล่าวว่า “ปัจจุบันเป็นกุญแจไขสู่
อดีต” (the present is the key to the past) นักธรณีวิทยาจึงใช้หลักฐาน
ทางธรณีต่าง ๆ ในการศึกษาลาดับเหตุการณ์ทางธรณีวิทยาของพื้นที่
เจมส์ ฮัตตัน (James Hutton)
1. การลาดับชั้นหิน
กฎการลาดับชั้นหิน (law of superposition) นาเสนอโดย นิโคลัส สเตโน โดยอธิบายว่า ชั้นหินตะกอนใดๆ ที่ไม่ถูก
รบกวนจากกระบวนการต่างๆ ที่เกิดภายหลังนั้น ชั้นหินที่วางตัวอยู่บนจะมีอายุอ่อนกว่า และชั้นหินที่วางตัวอยู่ล่างจะ
มีอายุแก่กว่า (ระยะที่ 1-2 ในรูปวิวัฒนาการการลาดับชั้นหิน)
อายุอ่อน
อายุแก่
ชั้นหินที่วางตัวอยู่บนจะมีอายุอ่อนกว่า และชั้นหินที่วางตัวอยู่ล่างจะมีอายุแก่กว่า
ในธรรมชาติลักษณะการวางตัวของชั้นหินที่พบไม่ได้
วางตัวในแนวนอนและ ขนานหรือเกือบขนานกับ
พื้นผิวโลกเหมือนในตอนแรกเสมอไป เนื่องจากมี
กระบวนการทางธรณีวิทยาที่มากระทากับชั้นหินทาให้เกิด
การเปลี่ยนแปลงลักษณะไปจากเดิม เช่น ชั้นหินคดโค้ง การ
เอียงเทของชั้นหิน การเหลื่อมกันของชั้นหิน ซึ่งเกิดได้จาก
หลายสาเหตุ เช่น การกระทาของแรง จากการเคลื่อนที่ของ
แผ่นธรณี การแทรกดันของหินอัคนี การเกิดรอยเลื่อนตัด
ผ่าน ซึ่งเป็นไปตามกฏการวางตัวตามแนวนอน (law of
original horizontality) อธิบายว่าตะกอนจะสะสมตัวใน
แนวระนาบ ซึ่งหากมีการเอียงเทหรือคดโค้งของชั้นหิน
แสดงว่าชั้นหินนั้นถูกรบกวนจากกระบวนการอื่น ๆ ใน
ภายหลังการสะสมตัว
ชั้นหินคดโค้งปะทุนคว่ำ
ในธรรมชาติแรงที่มากระทาต่อชั้นหินอาจเกิดจากแรงจากการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีหรือการแทรก
ตัวของหินอัคนีมวลไพศาล ทาให้แมกมาแทรกขึ้นตามรอยแตกของขั้นหิน ต่อมาเมื่อแมกมาเย็นตัว
ลงจึงกลายเป็นหินอัคนีแทรกอยู่ในชั้นหินนั้น การลาดับเหตุการณ์ทางธรณีวิทยาที่เกิดจากการแทรก
ตัวของหินอัคนีหรือรอยเลื่อนตัดผ่านชั้นหิน เหตุการณ์ดังกล่าวเป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นภายหลังจาก
การเกิดขึ้นหิน จึงกล่าวได้ว่าหินอัคนีหรือรอยเลื่อนนั้นมีอายุอ่อนกว่าชั้นหินเดิมที่หินอัคนีแทรก
หรือที่รอยเลื่อนตัดผ่านจึงสรุปเป็นกฎความสัมพันธ์การตัดผ่าน
หินอัคนีที่มีอำยุอ่อนกว่ำชั้นหินเดิม
กฎการลาดับชั้นหิน กฏการวางตัวตามแนวนอน
กฎความสัมพันธ์การตัดผ่าน
2. ลักษณะโครงสร้างทางธรณีที่ส่งผลต่อการลาดับชั้นหิน
เมื่อมีการหยุดสะสมตัวของตะกอนช่วงระยะเวลาหนึ่งและเกิดการกร่อนบนชั้นหินตะกอนเดิม ก่อนมีการสะสมตัว
ของตะกอนใหม่มาปิดทับบนชั้นหินเดิมที่ถูกกร่อน ทาให้ชั้นหินเดิมและชั้นหินที่มาปิดทับภายหลังขาดความต่อเนื่อง
ของการสะสมตัวของชั้นตะกอน ร่องรอยที่แสดงการขาดหายไปของการสะสมตัว เรียกว่า รอยชั้นไม่ต่อเนื่อง
(unconformity)
อายุแก่
1. ตะกอนมีการสะสมทับถมเป็น
ชั้น ๆ และแข็งตัวกลายเป็นหิน
2. เปลือกโลกเกิดจากการเปลี่ยนแปลงจากการแทรกดันของหินอัคนี
มวลไพศาลทาให้เกิดการคดโค้ง โดยพื้นที่แกนกลางจะไม่เหมาะสมใน
การสะสมตะกอนส่งผลให้หยุดการสะสมตัว และเริ่มมีการผุกร่อน
3. เมื่อเวลาผ่านไป ลมอาจาให้ชั้นหินแกนกลาง
กร่อน แล้วนาพาออกไปทาให้ภูมิประเทศ
เปลี่ยนเป็นที่ราบ
4. เมื่อสภาพแวดล้อมเปลี่ยนจนเหมาะแก่การสะสมตัวของ
ตะกอน จะมีการสะสมตัวของตะกอนใหม่ เรียกชั้นรอยต่อว่า
รอบชั้นไม่ต่อเนื่อง
3. อายุทางธรณีวิทยา (geological age)
อายุทางธรณีวิทยาเป็ นการบอกช่วงเวลาของ
เหตุการณ์ ลักษณะทางธรณีวิทยาหรือซากดึกดา
บรรพ์ที่ได้ปรากฏหรือเกิดขึ้นบนโลก โดยศึกษาจาก
หลักฐานที่ได้จากการสารวจภาคสุ เช่น ลาดับชั้นหิน
โครงสร้างทางธรณี ซากดึกดาบรรพ์ และอาจนา
หลักฐานดังกล่าวมาศึกษ เพิ่มเติมให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น
ในห้องปฏิบัติการ นักธรณีวิทยามีการบอกอายุทาง
ธรณีวิทยา 2 แบบ คิอ อายุเปรียบเทียบ (relative age)
และอายุสัมบูรณ์ (absolute age)
3.1 อายุเปรียบเทียบ
อายุเปรียบเทียบเป็นการบอกอายุของหิน เหตุการณ์ทางธรณีวิทยา หรือซากดึกดาบรรท์ เมื่อเทียบกับ
หินเหตุการณ์ทางธรณีวิทยา หรือซากดึกดาบรรพ์อื่น ๆ ซึ่งอายุเปรียบเทียบไม่ระบุ เป็นตัวเลข แต่เป็น
การบอกลาดับการเกิดก่อนหลังของสิ่งที่ศึกษาโดยอาศัยการลาดับชั้นหิน
อายุอ่อน
อายุแก่
3.2 อายุสัมบูรณ์
อายุสัมบูรณ์ เป็นการบอกอายุของหิน แร่ และซากตึกดาบรรพ์ ที่สามารถบอกเป็น จานวนปีที่ค่อนข้าง
แน่นอน หินบางชนิด เช่น หินแกรนิต มีแร่ประกอบหินที่มีธาตุกัมมันตรังสีเป็นองค์ประกอบ ซึ่งธาตุ
กัมมันตรังสีมีนิวเคลียสไม่เสถียรเกิดการสลาย ได้เป็นธาตุใหม่ที่เสถียรกว่า ดังนั้นนักวิทยาศาสตร์ จึง
หาอายุสัมบูรณ์โดยการคานวณหาระยะเวลาที่ ธาตุกัมมันตรังสีในหินเกิดการสลายตัวจาก ชีวิต (half
life) ของธาตุกัมมันตรังสีที่อยู่ในหิน
ซากดึกดาบรรพ์ดัชนี
การศึกษาทางธรณีวิทยาพบว่าในชั้นหินมีซากดึกดา
บรรพ์หลายชนิด แต่มีซากดึกดาบรรพ์ของสิ่งมีชีวิตบาง
ชนิดที่มีลักษณะเฉพาะที่เด่นชัด มีการกระจายตัวอยู่ทั่ว
ภูมิภาคของโลก และมี วิวัฒนาการจนกระทั่งสูญพันธุ์
ในช่วงเวลาสั้น ๆ สามารถนามาบอกอายุของชั้นหินที่
พบซากดึกดาบรรพ์นั้นได้ เรียกซากดึกดาบรรพ์
ดังกล่าวว่า “ซากดึกดาบรรพ์ดัชนี" (index fossil) เช่น
ซากดึกดาบรรพ์ฟิวซูลินิด สกุล Monodiexodina sp.
เป็ นสิ่งมีชีวิตตึกดาบรรพ์ที่อาศัยอยู่ในทะเลใน
ยุคเพอร์เมียน ถ้าพบฟิ วซูลินิดสกุลดังกล่าวในชั้นหิน
แสดงว่าชั้นหินนั้นมีอายุอยู่ในช่วง ยุคเพอร์เมียน
ซำกดึกดำบรรพ์ฟิวซูลินิด สกุล Monodiexodina sp.
ซึ่งมีชีวิตอยู่ในยุดเพอร์เมียน
ซากดึกดาบรรพ์ดัชนี
มหำยุค ยุค ตัวอย่ำงซำกดึกดำบรรพ์ดัชนี
4. การเทียบสัมพันธ์ทางลาดับชั้นหิน (stratigraphic correlation)
การลาดับชั้นหิน อายุทางธรณีวิทยา ซากดึกดาบรรพ์และชากดึกดาบรรพ์ดัชนีของแต่ละพื้นที่ทาให้ทราบ
ลาดับเหตุการณ์ทางธรณีวิทยาที่เกิดขึ้นในพื้นที่นั้น ๆ และเมื่อนาการลาดับขั้นหิน อายุทางธรณีวิทยา
ซากดึกดาบรรพ์และซากดึกดาบรรพ์ดัชนีของแต่ละพื้นที่มาเปรียบเทียบกัน ทาให้นักธรณีวิทยาสามารถ
อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างพื้นที่ต่าง ๆ ได้ วิธีการดังกล่าวเรียกว่า การเทียบสัมพันธ์
ตัวอย่ำงสถำนกำรณ์
พื้นที่ ก และ ข อยู่ห่ำงกัน 15 กิโลเมตร จำก
กำรวิเครำะห์พบว่ำ พื้นที่ทั้ง 2 อำจเกิดใน
ช่วงเวลำเดียวกัน เนื่องจำกมีลำดับชั้นหินและมี
อำยุเดียวกัน
จำกภำพ มีกำรลำกเส้นเชื่อมโยงหินที่มีอำยุเดียวกัน โดยเชื่อมขอบ
บนและขอบล่ำงของชั้นหินทั้งสำมพื้นที่ ทำให้ทรำบว่ำพื้นที่ทั้ง
สำมอำจเกิดใชช่วงเวลำเดียวกันและสภำพแวดล้อมเดียวกัน
เนื่องจำกทั้งสำมพื้นที่มีชั้นหินเหมือนกันและมีอำยุเดียวกัน
จากการศึกษาลาดับชั้นหิน ซากดึกดาบรรพ์
และ การเทียบสัมพันธ์ชั้นหินระหว่างพื้นที่
ต่าง ๆ บนโลก นักธรณีวิทยาจึงได้นาข้อมูล
ดังกล่าวมาอธิบาย ลาดับเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่
เกิดขึ้นบนโลก เช่น การเปลี่ยนแปลงทางธรณี
วิวัฒนาการ ของสิ่งมีชีวิตตามเวลาแต่ละช่วง
ตั้งแต่โลกเริ่มกาเนิดจนถึงปัจจุบัน และนามา
จัดเรียงลาดับเป็ น “มาตราธรณีกาล"
(geological time scale) ซึ่งแบ่งออกเป็น บรม
ยุค (eon) มหายุค (era) ยุค (period) และสมัย
(epoch)
มาตราธรณีกาล" (geological time scale)
“มาตราธรณีกาล" (geological time scale)
บทที่ 4 การลาดับเหตุการณ์ทางธรณีวิทยา
(Sequence of Geological Event )

More Related Content

What's hot

บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
Ta Lattapol
 
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลงบทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
Ta Lattapol
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
Thanyamon Chat.
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
Supaluk Juntap
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลก
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลกโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลก
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลก
soysuwanyuennan
 
เรื่องที่13แสง
เรื่องที่13แสงเรื่องที่13แสง
เรื่องที่13แสงApinya Phuadsing
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศ
Supaluk Juntap
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
Wijitta DevilTeacher
 
บทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5  เอกภพบทที่ 5  เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพ
Pinutchaya Nakchumroon
 
งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
หินอัคนี หินแปร หินตะกอน
หินอัคนี หินแปร หินตะกอนหินอัคนี หินแปร หินตะกอน
หินอัคนี หินแปร หินตะกอนwebsite22556
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
sukanya petin
 
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิตเซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
Popeye Kotchakorn
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)สำเร็จ นางสีคุณ
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
Pinutchaya Nakchumroon
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์สำเร็จ นางสีคุณ
 
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
เอเดียน คุณาสิทธิ์
 
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
บทที่  16  ยีนและโครโมโซมบทที่  16  ยีนและโครโมโซม
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
Pinutchaya Nakchumroon
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
dalarat
 
ทฤษฎีอะตอมของโบร์
ทฤษฎีอะตอมของโบร์ทฤษฎีอะตอมของโบร์
ทฤษฎีอะตอมของโบร์
Chanthawan Suwanhitathorn
 

What's hot (20)

บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
 
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลงบทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลก
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลกโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลก
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลก
 
เรื่องที่13แสง
เรื่องที่13แสงเรื่องที่13แสง
เรื่องที่13แสง
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศ
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
 
บทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5  เอกภพบทที่ 5  เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพ
 
งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)
 
หินอัคนี หินแปร หินตะกอน
หินอัคนี หินแปร หินตะกอนหินอัคนี หินแปร หินตะกอน
หินอัคนี หินแปร หินตะกอน
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
 
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิตเซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
 
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
 
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
บทที่  16  ยีนและโครโมโซมบทที่  16  ยีนและโครโมโซม
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
 
ทฤษฎีอะตอมของโบร์
ทฤษฎีอะตอมของโบร์ทฤษฎีอะตอมของโบร์
ทฤษฎีอะตอมของโบร์
 

More from soysuwanyuennan

บทที่ 2 ธรณีแปรสัณฐาน
บทที่ 2 ธรณีแปรสัณฐานบทที่ 2 ธรณีแปรสัณฐาน
บทที่ 2 ธรณีแปรสัณฐาน
soysuwanyuennan
 
เอกสารประกอบกิจกรรม หน่วยที่ 2 กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลก
เอกสารประกอบกิจกรรม หน่วยที่ 2 กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลกเอกสารประกอบกิจกรรม หน่วยที่ 2 กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลก
เอกสารประกอบกิจกรรม หน่วยที่ 2 กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลก
soysuwanyuennan
 
เอกสารประกอบกิจกรรม หน่วยที่ 2 กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลก
เอกสารประกอบกิจกรรม หน่วยที่ 2 กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลกเอกสารประกอบกิจกรรม หน่วยที่ 2 กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลก
เอกสารประกอบกิจกรรม หน่วยที่ 2 กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลก
soysuwanyuennan
 
เอกสารประกอบกิจกรรม 7.1
เอกสารประกอบกิจกรรม 7.1เอกสารประกอบกิจกรรม 7.1
เอกสารประกอบกิจกรรม 7.1
soysuwanyuennan
 
เอกสารประกอบกิจกรรม 6.3
เอกสารประกอบกิจกรรม 6.3เอกสารประกอบกิจกรรม 6.3
เอกสารประกอบกิจกรรม 6.3
soysuwanyuennan
 
เอกสารประกอบกิจกรรม 6.1
เอกสารประกอบกิจกรรม 6.1เอกสารประกอบกิจกรรม 6.1
เอกสารประกอบกิจกรรม 6.1
soysuwanyuennan
 
ภูเขาไฟ
ภูเขาไฟภูเขาไฟ
ภูเขาไฟ
soysuwanyuennan
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณีโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
soysuwanyuennan
 

More from soysuwanyuennan (8)

บทที่ 2 ธรณีแปรสัณฐาน
บทที่ 2 ธรณีแปรสัณฐานบทที่ 2 ธรณีแปรสัณฐาน
บทที่ 2 ธรณีแปรสัณฐาน
 
เอกสารประกอบกิจกรรม หน่วยที่ 2 กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลก
เอกสารประกอบกิจกรรม หน่วยที่ 2 กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลกเอกสารประกอบกิจกรรม หน่วยที่ 2 กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลก
เอกสารประกอบกิจกรรม หน่วยที่ 2 กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลก
 
เอกสารประกอบกิจกรรม หน่วยที่ 2 กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลก
เอกสารประกอบกิจกรรม หน่วยที่ 2 กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลกเอกสารประกอบกิจกรรม หน่วยที่ 2 กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลก
เอกสารประกอบกิจกรรม หน่วยที่ 2 กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลก
 
เอกสารประกอบกิจกรรม 7.1
เอกสารประกอบกิจกรรม 7.1เอกสารประกอบกิจกรรม 7.1
เอกสารประกอบกิจกรรม 7.1
 
เอกสารประกอบกิจกรรม 6.3
เอกสารประกอบกิจกรรม 6.3เอกสารประกอบกิจกรรม 6.3
เอกสารประกอบกิจกรรม 6.3
 
เอกสารประกอบกิจกรรม 6.1
เอกสารประกอบกิจกรรม 6.1เอกสารประกอบกิจกรรม 6.1
เอกสารประกอบกิจกรรม 6.1
 
ภูเขาไฟ
ภูเขาไฟภูเขาไฟ
ภูเขาไฟ
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณีโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
 

โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 4 การลำดับเหตุการณ์ทางธรณีวิทยา