SlideShare a Scribd company logo
1 of 161
Download to read offline
หนังสือเรียนสาระการประกอบอาชีพ
รายวิชา ทักษะการขยายอาชีพ
(อช31002)
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. )
หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขันพืนฐาน
พุทธศักราช
สํานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงศึกษาธิการ
ห้ามจําหน่าย
หนังสือเรียนเล่มนีจัดพิมพ์ด้วยเงินงบประมาณแผ่นดินเพือการศึกษาตลอดชีวิตสําหรับประชาชน
ลิขสิทธิเป็นของ สํานักงาน กศน. สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
เอกสารทางวิชาการลําดับที /
หนังสือเรียนสาระการประกอบอาชีพ
รายวิชา ทักษะการขยายอาชีพ (อช31002)
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
ฉบับปรับปรุง พ.ศ.
ลิขสิทธิเป็นของ สํานักงาน กศน. สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
เอกสารทางวิชาการลําดับที 29/2555
คํานํา
กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขันพืนฐาน
พุทธศักราช เมือวันที กันยายน พ.ศ. แทนหลักเกณฑ์และวิธีการจัดการศึกษานอกโรงเรียน
ตามหลักสูตรการศึกษาขันพืนฐาน พุทธศักราช ซึงเป็นหลักสูตรทีพัฒนาขึนตามหลักปรัชญาและ
ความเชือพืนฐานในการจัดการศึกษานอกโรงเรียนทีมีกลุ่มเป้ าหมายเป็นผู้ใหญ่มีการเรียนรู้และสังสม
ความรู้ และประสบการณ์อย่างต่อเนือง
ในปีงบประมาณ กระทรวงศึกษาธิการได้กําหนดแผนยุทธศาสตร์ในการขับเคลือน
นโยบายทางการศึกษาเพือเพิมศักยภาพและขีดความสามารถในการแข่งขันให้ประชาชนได้มีอาชีพ ที
สามารถสร้างรายได้ทีมังคังและมันคง เป็นบุคลากรทีมีวินัย เปียมไปด้วยคุณธรรมและจริยธรรม และมี
จิตสํานึกรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อืน สํานักงาน กศน. จึงได้พิจารณาทบทวนหลักการ จุดหมาย
มาตรฐาน ผลการเรียนรู้ทีคาดหวัง และเนือหาสาระ ทัง กลุ่มสาระการเรียนรู้ ของหลักสูตรการศึกษา
นอกระบบระดับการศึกษาขันพืนฐาน พุทธศักราช ให้มีความสอดคล้องตอบสนองนโยบาย
กระทรวงศึกษาธิการ ซึงส่งผลให้ต้องปรับปรุงหนังสือเรียน โดยการเพิมและสอดแทรกเนือหาสาระ
เกียวกับอาชีพ คุณธรรม จริยธรรมและการเตรียมพร้อม เพือเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ในรายวิชาทีมีความ
เกียวข้องสัมพันธ์กัน แต่ยังคงหลักการและวิธีการเดิมในการพัฒนาหนังสือทีให้ผู้เรียนศึกษาค้นคว้า
ความรู้ด้วยตนเอง ปฏิบัติกิจกรรม ทําแบบฝึกหัด เพือทดสอบความรู้ความเข้าใจ มีการอภิปราย
แลกเปลียนเรียนรู้กับกลุ่ม หรือศึกษาเพิมเติมจากภูมิปัญญาท้องถิน แหล่งการเรียนรู้และสืออืน
การปรับปรุงหนังสือเรียนในครังนี ได้รับความร่วมมืออย่างดียิงจากผู้ทรงคุณวุฒิในแต่ละ
สาขาวิชา และผู้เกียวข้องในการจัดการเรียนการสอนทีศึกษาค้นคว้า รวบรวมข้อมูลองค์ความรู้จากสือ
ต่าง ๆ มาเรียบเรียงเนือหาให้ครบถ้วนสอดคล้องกับมาตรฐาน ผลการเรียนรู้ทีคาดหวัง ตัวชีวัดและกรอบ
เนือหาสาระของรายวิชาสํานักงาน กศน. ขอขอบคุณผู้มีส่วนเกียวข้องทุกท่านไว้ณ โอกาสนี และหวังว่า
หนังสือเรียนชุดนีจะเป็นประโยชน์แก่ผู้เรียน ครู ผู้สอน และผู้เกียวข้องในทุกระดับ หากมีข้อเสนอแนะ
ประการใด สํานักงาน กศน. ขอน้อมรับด้วยความขอบคุณยิง
สารบัญ
หน้า
คํานํา
คําแนะนําการใช้หนังสือเรียน
โครงสร้างรายวิชาทักษะการขยายอาชีพ
บทที ทักษะในการขยายอาชีพ 7
เรืองที ความจําเป็นในการฝึกทักษะอาชีพ
เรืองที ทักษะการใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพือการขยายอาชีพ 22
บทที ตรวจสอบระบบความพร้อมการสร้างอาชีพให้มีความมันคง
เรืองที การตรวจสอบระบบความพร้อมการสร้างอาชีพให้มันคง
บทที การพัฒนาตนเองเพือการขยายอาชีพ
เรืองที การวิเคราะห์ทําความเข้าใจและรู้จักตัวตนทีแท้จริง
เรืองที การพัฒนาทักษะการขยายอาชีพให้เป็นลักษณะนิสัย
บทที ความหมาย ความสําคัญของการขยายอาชีพ
เรืองที ความหมายของการจัดการขยายอาชีพ
ตามแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
เรืองที ความสําคัญของการจัดการขยายอาชีพ เพือความมันคง
ตามแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
บทที ความรู้เบืองต้นเกียวกับการบริหารจัดการในการขยายอาชีพ
บทที การจัดทําและพัฒนาระบบการขยายอาชีพ
ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
เรืองที 1 องค์ประกอบของระบบขยายอาชีพ 96
ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
เรืองที การจัดทําแผนธุรกิจ
บทที การขับเคลือนธุรกิจเพือการขยายอาชีพ
เรืองที การควบคุมให้การขยายอาชีพเป็นไปตามแผนกลยุทธ์
เรืองที การตรวจสอบให้การปฏิบัติการขยายอาชีพเกิดผลตามแผนปฏิบัติการ
บทที โครงการขยายอาชีพ
เรืองที การจัดทําโครงการขยายอาชีพเพือนําเสนอแหล่งทุน
คําแนะนําการใช้หนังสือเรียน
หนังสือเรียนสาระการประกอบอาชีพรายวิชาทักษะการขยายอาชีพ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
เป็นแบบเรียนทีจัดทําขึน สําหรับผู้เรียนทีเป็นนักศึกษานอกระบบ
ในการศึกษาหนังสือเรียนสาระการประกอบอาชีพ รายวิชาทักษะการขยายอาชีพ ผู้เรียนควร
ปฏิบัติดังนี
1. ศึกษาโครงสร้างรายวิชาให้เข้าใจในหัวข้อและสาระสําคัญ มาตรฐานการเรียนรู้ระดับ และ
ผลการเรียนรู้ทีคาดหวัง และขอบข่ายเนือหาของรายวิชานัน ๆ โดยละเอียด
2. ศึกษารายละเอียดเนือหาของแต่ละบทอย่างละเอียด และทํากิจกรรมตามทีกําหนด ถ้าผู้เรียน
ไม่เข้าใจควรกลับไปศึกษาและทําความเข้าใจในเนือหานันใหม่ให้เข้าใจ ก่อนทีจะศึกษาเรืองต่อ ๆ ไป
3. ครูควรทบทวนสาระสําคัญของรายวิชาช่องทางการขยายอาชีพ (อช ) ให้ผู้เรียน
สามารถเชือมโยงระหว่างรายวิชาได้ทําให้เกิดความเข้าใจต่อเนืองกับรายวิชาทักษะการขยายอาชีพ
4. หนังสือเรียนเล่มนีเน้นการจัดการเรียนรู้ในลักษณะกระบวนการส่วนใหญ่ จะยกตัวอย่าง
อาชีพเกษตรกรรมแต่อาชีพอืนๆ ก็สามารถนํากระบวนการไปใช้ได้
5. หนังสือเรียนเล่มนีมี บท คือ
บทที ทักษะในการขยายอาชีพ
บทที ตรวจสอบระบบความพร้อมการสร้างอาชีพให้มีความมันคง
บทที การพัฒนาตนเองเพือการขยายอาชีพ
บทที ความหมาย ความสําคัญของการขยายอาชีพ
บทที ความรู้เบืองต้นเกียวกับการบริหารจัดการในการขยายอาชีพ
บทที การจัดทําและพัฒนาระบบการขยายอาชีพ
ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
บทที การขับเคลือนธุรกิจเพือการขยายอาชีพ
บทที โครงการขยายอาชีพ
โครงสร้างรายวิชาทักษะการขยายอาชีพ (อช )
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
มาตรฐานการเรียนรู้ระดับและผลการเรียนรู้ทีคาดหวัง
มาตรฐานการเรียนรู้ระดับ
1. มีความรู้ ความเข้าใจ ทักษะในการขยายอาชีพ เพือสร้างความมันคงบนพืนฐานความรู้ใน
กระบวนการผลิต กระบวนการตลาด ทีใช้นวัตกรรม เทคโนโลยีทีเหมาะสม มีความ
หลากหลายทางชีวภาพ พัฒนาต่อยอดและประยุกต์ใช้ภูมิปัญญา
2. มีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถจัดทําแผนงานและโครงการธุรกิจเพือขยายอาชีพเข้าสู่
ตลาดการแข่งขัน ตามแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพือสู่ความมันคง
ผลการเรียนรู้ทีคาดหวัง
1. อธิบายทักษะทีเกียวข้องในกระบวนการผลิตและการตลาดทีใช้นวัตกรรมเทคโนโลยีในการ
ขยายอาชีพทีตัดสินใจเลือก
2. ตรวจสอบระบบความพร้อมในการขยายอาชีพให้มีความมันคง
3. ปฏิบัติการวิเคราะห์ตนเองและพัฒนาทักษะการขยายอาชีพให้เป็นลักษณะนิสัย
4. อธิบายความหมาย ความสําคัญของการจัดการอาชีพเพือการขยายอาชีพได้
5. ดําเนินการจัดทําและหรือปรับปรุงแผนธุรกิจด้านการจัดการ การผลิตหรือ การบริการและ
ด้านการจัดการ การตลาด ตามแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้
6. ตรวจสอบระบบธุรกิจเพือการขยายอาชีพได้
7. ปฏิบัติการจัดทําแผนและโครงการขยายอาชีพได้
ขอบข่ายเนือหา
บทที ทักษะในการขยายอาชีพ
บทที ตรวจสอบระบบความพร้อมการสร้างอาชีพให้มีความมันคง
บทที การพัฒนาตนเองเพือการขยายอาชีพ
บทที ความหมาย ความสําคัญของการขยายอาชีพ
บทที ความรู้เบืองต้นเกียวกับการบริหารจัดการในการขยายอาชีพ
บทที การจัดทําและพัฒนาระบบการขยายอาชีพ
ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
บทที การขับเคลือนธุรกิจเพือการขยายอาชีพ
บทที โครงการขยายอาชีพ
7
บทที
ทักษะในการขยายอาชีพ
ผลการเรียนรู้ทีคาดหวัง
อธิบายทักษะทีเกียวข้องในกระบวนการผลิตและการตลาดทีใช้นวัตกรรม เทคโนโลยีในการ
ขยายอาชีพทีตัดสินใจเลือก
ขอบข่ายเนือหา
เรืองที . ความจําเป็นในการฝึกทักษะอาชีพ
เรืองที . ทักษะการใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพือการขยายอาชีพ
สือประกอบการเรียนรู้
1. เอกสารหมายเลข ใบความรู้เรืองทักษะการทํางานบนฐานข้อมูล
2. เอกสารหมายเลข ใบความรู้เรืองการต่อยอดภูมิปัญญายกระดับความรู้ให้สูงขึน
3. เอกสารหมายเลข ใบความรู้เรืองการสร้างความหลากหลาย เพือความมันคงในอาชีพ
4. เอกสารหมายเลข ใบความรู้เรืองการประเมินประสิทธิภาพ นวัตกรรม เทคโนโลยี
5. เอกสารหมายเลข ใบความรู้เรืองการวิเคราะห์เพือจําแนกบทบาทหน้าทีของนวัตกรรม
เทคโนโลยี
8
เรืองที ความจําเป็นในการฝึกทักษะอาชีพ
ลักษณะบ่งชีความสําเร็จของการเรียนรู้
1. มีความเข้าใจทักษะการทํางานบนฐานความรู้
2. เข้าใจการเรียนรู้ต่อยอดภูมิปัญญา ยกระดับความรู้ให้สูงขึน
3. เข้าใจความหลากหลายทางชีวภาพ และกิจกรรม เพือความมันคงของอาชีพ
แผนปฏิบัติการเรียนรู้
ลักษณะบ่งชีความสําเร็จ
ของการเรียนรู้
กิจกรรม การวัดผล ประเมินผล สือการเรียน
. มีความเข้าใจทักษะ
การทํางานบนฐานความรู้
เรียนด้วยตนเอง
. ผู้เรียนแต่ละคนทําความเข้าใจ
เรืองทักษะการทํางานบน
ฐานข้อมูลจากเอกสารใบความรู้
. ทบทวนประสบการณ์การ
ทํางานบนฐานข้อมูลของ
ตนเองแล้วบูรณาการความรู้
เข้าด้วยกัน หาแนวทาง
วิธีการทํางานบนฐานข้อมูลเพือ
ขยายขอบข่ายอาชีพของตนเอง
. การระบุเหตุการณ์ของ
การประกอบอาชีพที
ต้องใช้ความรู้ข้อมูล
สารสนเทศ
เอกสารหมายเลข
ใบความรู้เรืองทักษะการ
ทํางานบนฐานข้อมูล
. เข้าใจการเรียนรู้ต่อ
ยอดภูมิปัญญา
ยกระดับความรู้ให้สูงขึน
เรียนด้วยตนเอง
. ผู้เรียนแต่ละคนทําความเข้าใจ
เรืองการต่อยอดภูมิปัญญา
ยกระดับความรู้ให้สูงขึน
เรียนโดยกลุ่ม
. ให้คณะผู้เรียนทีเป็นกลุ่มอาชีพ
ลักษณะเดียวกันรวมกลุ่มกัน
ค้นหาภูมิปัญญาทีจะต้องใช้เป็น
ความสามารถหลักและกําหนด
แนวทางยกระดับความรู้ให้สูงขึน
. การระบุภูมิปัญญาที
จะใช้เป็นความสามารถ
หลักของการขยาย
ขอบข่ายอาชีพ
. การกําหนดแนวทาง
การยกระดับความรู้
ให้สูงขึน
เอกสารหมายเลข
ใบความรู้เรืองการ
ต่อยอดภูมิปัญญา
ยกระดับความรู้ให้สูงขึน
. เข้าใจความ
หลากหลายทางชีวภาพ
และกิจกรรมเพือความ
มันคงของอาชีพ
เรียนรู้ด้วยตนเอง
ทําความเข้าใจเรืองการสร้างความ
หลากหลายในอาชีพ เพือความ
มันคง ลดอัตราเสียงของตลาด
1. ไม่คิดเชิงเดียว
. การบูรณาการความ
หลากหลาย สร้าง
ความมันคง
เอกสารหมายเลข
ใบความรู้เรืองการสร้าง
ความหลากหลาย เพือ
ความมันคงในอาชีพ
9
เอกสารหมายเลข : ใบความรู้ เรือง ทักษะการทํางานบนฐานข้อมูล
การขยายอาชีพหลายคนใช้วิธีทําตามกระแสความนิยม เห็นเขาได้ดีก็จะทําตามเขาด้วย
คิดตัดสินใจด้วยความรู้สึก บางคนก็ประสบผลสําเร็จแต่หลายคนพบความล้มเหลว แต่หากเราหันมามอง
คนประสบความสําเร็จอาชีพมันคง เราจะเห็นว่าบุคคลเหล่านีจะทําอะไรต้องคิดอย่างถีถ้วน หาความรู้
ข้อมูลมากมายมาใช้คิดชังนําหนักโอกาสความสําเร็จ จัดระบบทําการทดลองสรุปผลจนมันใจจึงจะมีการ
ลงทุน การกระทําลักษณะนีเป็นลักษณะของคนทํางานบนฐานข้อมูล ผู้เรียนการศึกษานอกระบบจึงมี
ความจําเป็นทีจะต้องพัฒนาทักษะการทํางานบนฐานข้อมูล เพือให้การขยายอาชีพเริมต้นได้เหมาะสม
เฉพาะกับตนเอง
กรอบแนวคิดการทํางานบนฐานข้อมูล


แผนภูมิกรอบแนวคิดการทํางานบนฐานข้อมูล
จากแผนภูมิกรอบแนวคิดการทํางานบนฐานข้อมูล แสดงให้เห็นว่า การทํางานบน
ฐานข้อมูลจะมีกิจกรรมอย่างน้อย กิจกรรมทีจําเป็นสําหรับการพัฒนาตนเองของผู้เรียนทีจะต้องเรียนรู้
สร้างเป็นพฤติกรรมให้เป็นลักษณะนิสัยในอันทีจะเปลียนแปลงหรือขยายขอบข่ายอาชีพสู่ความมันคง
ฐานข้อมูลอาชีพ
การดําเนินการทางธุรกิจ มีองค์ประกอบร่วม องค์ประกอบด้วยกัน คือ
(1) องค์ประกอบด้านทุน
(2) องค์ประกอบด้านผลิตภัณฑ์
(3) องค์ประกอบด้านลูกค้า
(4) องค์ประกอบด้านตนเอง
องค์ประกอบดังกล่าวเป็นฐานข้อมูลอาชีพทีผู้เรียนจะต้องจัดระบบข้อมูลไว้ใช้ทํางาน
โดยมีรายละเอียดดังนี

ทุน
ฐานข้อมูลอาชีพ ผลิตภัณฑ์
ลูกค้า
ตนเอง
สร้างแบบจําลอง
อาชีพสําหรับตนเอง
ปฏิบัติการใช้และ
สรุปบทเรียน
10
. องค์ประกอบด้านทุน ประกอบด้วย
. ทุนอสังหาริมทรัพย์ได้แก่ บ้าน ทีดิน โรงงาน ของทีเรามีอยู่ หรือต้องจัดซือ จัดทํา
ไว้ใช้ทําธุรกิจ
. ทุนเงิน มีหรือยัง ถ้ายังไม่มีแหล่งเงินทุนอยู่ทีไหน จะเข้าถึงได้อย่างไร จะสู้กับ
ดอกเบียได้หรือไม่
. องค์ประกอบด้านผลิตภัณฑ์ ประกอบด้วย
. คุณภาพของผลิตภัณฑ์ ตลาดต้องการอย่างไร
. กระบวนการผลิตทีต้องใช้
. นวัตกรรม เทคโนโลยี การลดต้นทุน เป็นอย่างไร
. นวัตกรรม เทคโนโลยี การผลิตจะเข้าถึงได้ระดับใด
. บรรจุภัณฑ์
. การเก็บรักษา
. องค์ประกอบด้านลูกค้า ประกอบด้วย
. ค่านิยมเป็นอย่างไร
. ช่องทางเข้าถึงลูกค้า
. การสร้างความภักดีให้เกิดกับลูกค้า
. การส่งเสริมการขาย
. องค์ประกอบด้านตนเอง ประกอบด้วย
. ความรู้ทักษะการดําเนินงาน ต้องมีอะไรบ้าง
. การพัฒนาทีมงาน คนงาน จะต้องทําอะไร อย่างไร
. ความน่าเชือถือของเรา
. สังคมสิงแวดล้อม กับสถานประกอบการของเรา
จากรายละเอียดพอสังเขปดังกล่าวข้างต้น ผู้เรียนจะต้องสืบค้น เรียนรู้ ทําความเข้าใจ
อย่างลึกซึง สําหรับตัดสินใจออกแบบระบบทํางานหรือจะค่อย ๆ ศึกษา สร้างความมันใจด้านการจัดทํา
แบบจําลองอาชีพแล้วทดลองทําเพือสรุปผล ตัดสินใจกําหนดขนาดธุรกิจ หรือจะยกเลิกเปลียนความคิด
11
การสร้างแบบจําลองอาชีพ
แบบจําลองอาชีพ เป็นเหมือนสมมติฐาน เพือการพิสูจน์ของการทําอาชีพ โดยมีขันตอน
ดําเนินการดังนี
ขันตอนที การศึกษาเบืองต้นเพือสรุปข้อมูล สร้างแบบจําลองอาชีพ
โดยเริมต้นวิเคราะห์ฐานข้อมูลอาชีพทีเราจะทําทัง องค์ประกอบ แล้วนําข้อมูลมา
กําหนดรูปแบบเบืองต้น เพือการทดลองสรุปข้อมูลสารสนเทศ ดังตัวอย่าง
ปลูกมะเดือฝรังอบแห้ง - ขยายพันธุ์ . ให้ผลผลิตลูกสด . มะเดือฝรังสาย
เข้าสู่ตลาด - งานผลิตปุ๋ ยหมัก กก./ต้น/ปี พันธุ์ญีปุ่น
- งานผลิตจุลินทรีย์ 2. ได้ผลผลิตแห้ง . ขีไก่ทําปุ๋ ยหมัก
- งานปลูกบํารุงรักษา . กก./ต้น/ปี . จุลินทรีย์พด.
- งานอารักขาต้นพืช . พืนที ไร่สามารถ พด. และ พด.
- งานเก็บเกียว ปลูกได้ ต้น . พืนทีดิน ไร่
- งานอบแห้ง
- งานบรรจุหีบห่อ
ขันตอนที การจัดทําแบบจําลอง
หลังจากการศึกษาเบืองต้นผลการทดลองได้ข้อมูลสารสนเทศตามทีกําหนดแล้วนํามาจัดทํา
แบบจําลองธุรกิจ การผลิตลูกมะเดือฝรังอบแห้ง (Fix)เข้าสู่ตลาดให้ได้สัปดาห์ละ กก.ดังตัวอย่างนี
. รูปแบบการดําเนินงาน
ผลิตมะเดือฝรังอบแห้ง 1. ผลผลิตสดได้ กก./ . ขยายพันธุ์โดยวิธีปักชํา . สารเคมีเร่งรากพืช
(Fix) เข้าสู่ตลาด ต้น/ปี แปรรูปเป็น . ผลิตปุ๋ ยหมักจากมูลไก่ ตัน/ปี .ถุงและขุยมะพร้าว ปักชํา
สัปดาห์ละ กก. ผลแห้งได้ . กก./ต้น/ปี . งานผลิตจุลินทรีย์ , ลิตร/ปี . มูลไก่ ตัน
. ต้องปลูกต้นมะเดือฝรัง . งานปลูกบํารุงรักษา ไร่ . จุลินทรีย์
จํานวน , ต้น . งานอารักขาพืช - พด.
. ใช้พืนที ไร่ . งานเก็บเกียว - พด.
. งานอบแห้ง - พด.
. งานบรรจุหีบห่อ . ทีดินพัฒนา
คุณภาพแล้ว ไร่
ธุรกิจเป้าหมาย กิจกรรม วิธีการทํางาน สมมติฐาน ปัจจัยนําเข้า
เป้าหมาย เกณฑ์ชีวัด
ความสําเร็จ
กิจกรรมวิธีการทํางาน ปัจจัยดําเนินงาน
12
. เอกสารขันตอนการทํางาน เป็นการนํากิจกรรมวิธีการไปจัดทํารายละเอียดวิธีการ
ขันตอนการทํางานเป็นเอกสาร เพือให้คนทํางานได้ใช้ปฏิบัติตาม ปฏิบัติการใช้และสรุปบทเรียน
ขันตอนนีเป็นการปฏิบัติการเริมต้นทดลองเต็มรูปแบบการทําธุรกิจจริงด้านการวางแผน
ปฏิบัติการ(Plan) ทํางานตามแผนปฏิบัติการ(Do) ติดตามตรวจสอบหาข้อบกพร่อง (Check) ปฏิบัติการ
แก้ไขข้อบกพร่อง (Action) เป็นวงจร PDCA โดยในทุกขันตอนต้องมีการจดบันทึกข้อมูลเกียวกับ
ปรากฏการณ์ ผลทีเกิดและผลกระทบอย่างเป็นระบบ เพือนํามาสรุปบทเรียนพัฒนาระบบธุรกิจให้มี
ประสิทธิภาพอย่างต่อเนืองเข้าสู่ความมันคง
สรุป
การประกอบธุรกิจทังภาคการผลิต ภาคบริการ เป็นอาชีพอิสระทีผู้ประกอบการต้อง
สร้างภูมิคุ้มกันให้กับธุรกิจของตนเอง จะต้องอาศัยข้อมูลสารสนเทศทางอาชีพมากมาย ซึงสามารถจํากัด
ขอบเขตลงได้ องค์ประกอบ คือ ( ) ทุน ( ) ผลิตภัณฑ์หรือบริการทีจะทํา ( ) ลูกค้า และ ( ) ตนเอง มา
ใช้ตังแต่เริมต้นคิดตัดสินใจ กําหนดแบบจําลองอาชีพให้เหมาะสมกับตนเอง และปฏิบัติการใช้สรุป
บทเรียนเป็นองค์ความรู้ทีจะต้องถูกพัฒนาให้สูงสุดเป็นระยะ ๆ ด้วยตนเอง การกระทําดังกล่าวหรือเรือง
ของการใช้ข้อมูลสารสนเทศเข้ามาใช้ทํางานทังสินจําเป็นทีผู้เรียนจะต้องพัฒนาทักษะการทํางานบน
ฐานข้อมูลไปอย่างต่อเนือง
13
กิจกรรมที
1. ผู้เรียนพิจารณาอาชีพของตนเอง หรืออาชีพทีสนใจว่ามีความจําเป็นต้องฝึกทักษะเพือขยายอาชีพ
ด้านใดบ้าง อย่างไร
2. ผู้เรียนสร้างแบบจําลองอาชีพทีตนเองประกอบอยู่ หรืออาชีพตามความสนใจ หรือถอดบทเรียน
การจําลองอาชีพจากภูมิปัญญามา อาชีพ โดยมีองค์ประกอบ ขันตอน คือการศึกษาเบืองต้น
เพือสรุปข้อมูล สร้างแบบจําลองอาชีพ และการจัดทําแบบจําลอง
14
เอกสารหมายเลข : ใบความรู้ เรือง การต่อยอดภูมิปัญญายกระดับความรู้ให้สูงขึน
การถ่ายทอดภูมิปัญญาจากเจ้าขององค์ความรู้ไปสู่บุคคลทีรับการถ่ายทอด ส่วนใหญ่จะ
ให้ความสําคัญกับเทคนิค ขันตอน วิธีการของการทํางานหรือการแก้ปัญหา แต่ในความเป็นจริงแล้ว
ภูมิปัญญายังมีองค์ประกอบอืน ๆ อีกมากมาย เป็นองค์รวมทีจะนําไปสู่ความสําเร็จ มันคง ยังยืนได้
แต่ผู้รับการถ่ายทอดมักจะมุ่งไปรับเทคนิควิธีการมากกว่า เช่น ภูมิปัญญาแยกอินทรีย์ก็จะให้ความสําคัญ
กับวิธีการทําปุ๋ ยหมัก ปุ๋ ยนํา เท่านัน ทัง ๆ ยังมีส่วนประกอบอืน ๆ ทีสําคัญมากมาย ดังนัน การต่อยอด
ภูมิปัญญาจึงเป็นเรืองทีจะต้องมีกระบวนการคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ เพือยกระดับความรู้ให้สูงขึน
สอดคล้องไปกับยุคสมัย
กรอบความคิด
การถ่ายทอดภูมิปัญญาน่าจะมีกรอบแนวคิด ดังนี
. วิเคราะห์ภูมิปัญญาระบุภารกิจ ระบุความรู้สารสนเทศ ต่อยอดภูมิปัญญา
. วิเคราะห์ภารกิจระบุกิจกรรม และข้อมูล ศึกษาทบทวน ปรับแต่งพัฒนาเข้าสู่ยุคสมัย
. วิเคราะห์กิจกรรมระบุขันตอนระบบ ทําความเข้าใจให้กระจ่าง
. วิเคราะห์ขันตอนระบบ ระบุเทคนิควิธีการ
ขันตอนการวิเคราะห์
ภูมิปัญญา
ขันตอนศึกษา
เจาะลึก
ขันตอนพัฒนา
15
. กรอบการคิดวิเคราะห์ ภูมิปัญญาและการศึกษาเจาะลึก กรณีการผลิตผลมะเดือฝรังอบแห้ง
ผลิตผลสด การขยายพันธุ์ . การควันกิง 1.1.1 เลือกตําแหน่งใต้ตา
. . ใช้มีดควันรอบกิง
. . ขูดเยือเจริญออก
. ทาฮอร์โมนเร่งราก ชนิดของฮอร์โมน
ให้ปิดทับรอยแผล เร่งรากและวิธีใช้
ด้านบน ทีมีจําหน่ายใน
ท้องตลาด
การปลูกบํารุงรักษา . การห่อวัสดุตอน
การอารักขาพืช
ผลิตผล การเก็บเกียว
อบแห้ง การแปรรูป
การบรรจุภัณฑ์
. กรอบการคิดพัฒนาต่อยอดภูมิปัญญาเข้าสู่ยุคสมัย
. ภารกิจของภูมิปัญญา . ความเหมาะสมของ . บทบาทหน้าทีของ
การบริหารจัดการคุณภาพ ผู้ประกอบการธุรกิจ
. การบริหารทรัพยากรดําเนินงาน
. การบริหารการผลิต
. การควบคุมคุณภาพ
. กิจกรรม ขันตอนระบบ . ความเหมาะสมของ . คุณภาพผลผลิต
ของภูมิปัญญา ระบบการผลิต . ประสิทธิภาพของกระบวนการผลิต
. ความสามารถของปัจจัยนําเข้า
. เทคนิควิธีการ . ความเหมาะสมของ 3.1 ความสามารถลดต้นทุนและเวลา
เทคนิควิธีการ . มีความถูกต้อง เสียหายน้อย
. สิงแวดล้อมปลอดภัย
ภารกิจ กิจกรรม ขันตอนระบบของภูมิปัญญา เทคนิควิธีการ สารสนเทศ
ความรู้ทีจําเป็น
ภูมิปัญญา ทฤษฎีแนวคิดยุคใหม่
16
จากกรอบแนวคิดดังกล่าว ผู้เรียนจะพบว่า การขยายอาชีพหรือพัฒนาอาชีพเข้าสู่ความ
มันคงเป็นเรืองของการคิด วิเคราะห์ การใช้สารสนเทศข้อมูล การประยุกต์ใช้ความรู้ เป็นเรืองสําคัญของ
การต่อยอดภูมิปัญญามายกระดับความรู้ให้สูงขึน
การต่อยอดภูมิปัญญายกระดับความรู้ให้สูงขึน
เป็นกระบวนการขันตอนการวิเคราะห์ภูมิปัญญาท้องถิน เพือให้มีความรู้เกิดความ
กระจ่างในองค์ความรู้ของภูมิปัญญานําไปสู่การวิเคราะห์ ระบุ ทฤษฎีแนวคิดยุคใหม่ใช้ยกระดับความรู้
ให้สูงขึนดังแผนภูมินี
17
แผนภูมิต่อยอดภูมิปัญญายกระดับความรู้
ภูมิปัญญาผลิตผลมะเดือฝรังอบแห้ง การวิเคราะห์ระบบ เพือระบุทฤษฎีแนวคิด
ยุคใหม่ใช้ยกระดับความรู้ให้สูงขึน
ภารกิจ ความเหมาะสมของ
การบริหารจัดการ
. การผลิตผลสด
. การผลิตผลแห้ง
- บทบาทเจ้าของธุรกิจ
- การบริหารทรัพยากร
- การบริหารการผลิต
- การควบคุมคุณภาพ
ข้อมูลสารสนเทศ
ยกระดับความรู้ให้สูงขึน
. การบริหารจัดการคุณภาพ
ISO 90001/2000
กิจกรรมระบบ
การดําเนินงาน
ความเหมาะสมของระบบ
- คุณภาพผลผลิต
- ประสิทธิภาพของ
กระบวนการ
- ความสามารถของ
ปัจจัยดําเนินการ
ข้อมูลสารสนเทศ
ยกระดับความรู้ให้สูงขึน
. การกําหนดมาตรฐานผลผลิต
. การจัดการระบบISO
3. การควบคุมเชิงกลยุทธ์
. การขยายพันธุ์
. การปลูก
. การอารักขาพืช
ปัจจัย
นําเข้า
การควัน
กิง
กิงพันธุ์
พร้อมปลูก
การห่อ
วัสดุ
ขันตอน
วิธีการ
ทํางาน
. เลือกตําแหน่งใต้ตา
. ควันเปลือกใต้ตา
3. ขูดเยือเจริญ
. ทาฮอร์โมนเร่งราก
. นําถุงขนาด 2” บรรจุขุย
มะพร้าวมีความชืนมัดปากถุงให้
แน่น
. ผ่าถุงมีความยาวหุ้มรอยแผล
ให้มิดชิด
3. มัดตุ้มด้วยเชือกฟางติดกับกิง
ให้แน่น
. ทาฮอร์โมนเร่งราก
ความเหมาะสมของ
เทคนิควิธีการ
18
เอกสารหมายเลข : ใบความรู้ เรือง การสร้างความหลากหลายเพือความมันคงในอาชีพ
กรอบความคิด
รูปแสดงผังความสัมพันธ์ของการสร้างความหลากหลายสู่ความมันคงในอาชีพ
การสร้างความหลากหลาย
การสร้างความหลากหลายในอาชีพเป็นภูมิปัญญา เพือใช้สร้างภูมิคุ้มกันให้กับการดํารง
อาชีพตามหลักทฤษฎีใหม่ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลปัจจุบัน มีพระราชประสงค์ทีจะให้
อาชีพเกษตรกรสู่ความเข้มแข็งมันคงยังยืน ด้วยการให้ปลูกข้าว ปลูกผัก ผลไม้ และเลียงไก่ ไว้กินใน
ครอบครัวเหลือขาย เลียงหมูไว้เป็นเงินเก็บ เงินออม ปลูกไม้ใช้งาน ใช้เป็นเชือเพลิง ให้ร่มเงา จัดการ
บ้านเรือนให้สะอาด ชีวิตก็จะรํารวยความสุข (จากความจําของผู้เขียน เมือครังเข้าเฝ้าถวายงานโครงการ
เกษตรธรรมชาติถาวรนิมิตอันเนืองมาจากพระราชดําริ จังหวัดนครนายก พ.ศ. โดยมีพระมหาถาวร
จิตตภาวโรวงศ์มาลัยเป็นผู้อุปถัมภ์)
พระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว บ่งชีถึงการสร้างความหลากหลายทาง
ชีวภาพ การหมุนเวียนเปลียนรูปบนความหลากหลายได้ผลผลิตพอเพียงกับการกินอยู่ และเหลือขายเป็น
รายได้ใช้ดํารงชีวิต
ความหลากหลาย
ทางชีวภาพและ
กิจกรรม
การหมุนเวียน
เปลียนรูปบน
ความหลากหลาย
ผลผลิตเพิม มีรายได้
อาชีพ
มันคง
ยังยืน
19
ตัวอย่าง การหมุนเวียนบนความหลากหลายทางชีวภาพของอาชีพเกษตรกร
การหมุนเวียนระหว่างชีวภาพ
ประโยชน์จากการหมุนเวียน
ผู้ให้
ผู้รับ
ชีวภาพ สิงทีได้
ข้าว
รําข้าว
ฟางข้าว
ผัก
ไม้ผล
ไม้ใช้งาน
- รําข้าวใช้เป็นอาหารจุลินทรีย์พัฒนาดิน
- ฟางข้างเป็นอินทรียวัตถุใช้ทําปุ๋ ยหมัก
รําข้าว
ฟางข้าว
เป็ด
ไก่
หมู
ปลา
- หมุนเวียนเป็นอาหารสัตว์
ผัก
ไม้ผล
เศษผักผลไม้
ส่วนกินไม่ได้
ขายไม่ได้
เป็ด
ไก่
หมู
ปลา
- หมุนเวียนเป็นอาหารสัตว์
ไม้ใช้งาน
(ไม้ป่าตระกูลถัว)
ใบร่วงหล่นลงหน้าดิน ข้าว
ผัก
ไม้ผล
- ใบตกลงดินย่อยสลายเป็นปุ๋ ยอินทรีย์
เป็ด
ไก่
หมู
อุจจาระ
ปัสสาวะ
ขน
ข้าว
ผัก
ไม้ผล
ไม้ใช้งาน
- ใช้ทําปุ๋ ยหมักบํารุงดินให้ธาตุอาหาร
แก่พืช
จากตัวอย่างการหมุนเวียนดังกล่าวทําให้เกษตรกรสามารถลดต้นทุนลงได้ หากมีการ
จัดการวางแผนการทํางานตามสูตรพระราชทาน + + + ประกอบด้วยพืนทีนํา ส่วน ใช้กักเก็บนํา
เลียงปลา พืนทีทํานา ส่วน จะมีผลผลิตพอเพียงหมุนเวียนระหว่างชีวภาพ พืนทีปลูกผักผลไม้และไม้ใช้
งาน ส่วน และพืนทีอยู่อาศัย เลียงสัตว์และทางเดินอีก ส่วน โครงสร้างสูตรพระราชทานดังกล่าวจะ
สามารถจัดระบบการผลิตทีพึงพาปัจจัยภายนอกได้น้อยทีสุด
20
ตัวอย่าง การเปลียนรูป แปรรูป ยกระดับมูลค่าผลผลิต
ชีวภาพ ผลผลิต การแปรรูปยกระดับมูลค่า
ข้าว
ข้าวเปลือก - ข้าวกล้อง
- ข้าวขาว
รํา - ธัญพืชเพือสุขภาพ
แกลบ - เชีอเพลิงแท่ง
ผัก
หัวผักกาดขาว - หัวไชโป้วหวาน
ผักกาดเขียว - เกียมฉ่าย
- ก๊งฉ่าย
- ผักกาดดอง
พริกชีฟ้า
หัวหอม
หัวกระเทียม
- นําพริกเผา
- นําพริกตาแดง
- กระเทียมดอง
ไม้ผล
ผลไม้ - ผลไม้อบแห้ง
- ผลไม้กวน
- นําส้มสายชูหมัก
ไม้โตเร็ว
ไม้เชือเพลิง - ถ่าน
- นําส้มควันไม้
ไม้ใช้งาน - เครืองเรือน
- กระดาน
หมู
เนือหมู - หมูส้ม
- หมูแหนม
- หมูกุนเชียง
มันหมู - สบู่เหลวอาบนํา
- สบู่ล้างชาม
- แคบหมู
จากตัวอย่าง จะเห็นว่า การแปรรูปทําให้เกิดความหลากหลายทางกิจกรรมมากมายทีจะ
ทําให้เกิดการเพิมผลผลิตและผลิตภัณฑ์สามารถใช้อยู่ ใช้กินเหลือขาย เพิมมูลค่าสร้างให้เกิดรายได้สู่
ความมันคงยังยืนได้
21
ปัจจัยแห่งความสําเร็จ
ปัจจัยแห่งความสําเร็จของการสร้างความหลากหลายทางชีวภาพและกิจกรรมทีจะ
จัดการให้ความหลากหลายต่าง ๆ นันลงตัว คงไม่มีสูตรสําเร็จเป็นเรืองทีผู้เรียนจะต้องเรียนรู้ค้นพบได้
ด้วยตนเองจากวิธีการต่าง ๆ เช่น
. การสืบค้นข้อมูลสารสนเทศต่าง ๆ นํามาวิเคราะห์หาความลงตัวแล้วจัดระบบการ
ดําเนินงาน
. การถอดบทเรียนจากผู้ประสบความสําเร็จนําข้อมูลสารสนเทศทีได้มาจัดระบบให้
เหมาะสมกับตนเอง
. การทดลอง เพือตรวจสอบระบบการดําเนินงานทีได้มาจากข้อมูลสารสนเทศว่า
เกิดผลตามความรู้เพียงใดจะต้องเพิมเติมพัฒนาอะไร
จึงอาจจะสรุปได้ว่า ปัจจัยแห่งความสําเร็จของการใช้ความหลากหลายทางชีวภาพและ
กิจกรรมมาสร้างความมันคงยังยืนในอาชีพได้อย่างลงตัว คือ การทํางานบนฐานข้อมูลและใช้
กระบวนการวิจัยมาเป็นเครืองมือของผู้เรียนนันเอง
กิจกรรมที
ให้ผู้เรียนบอกการหมุนเวียนบนความหลากหลายทางชีวภาพ หรือกิจกรรมในอาชีพของตนเอง
หรือสัมภาษณ์ผู้ประกอบอาชีพทีสนใจมา อาชีพ ตามรูปแบบ ดังนี
การหมุนเวียนระหว่างชีวภาพหรือกิจกรรม
ประโยชน์จากการ
หมุนเวียน
ผู้ให้
ผู้รับ
ชีวภาพ สิงทีได้
22
เรืองที ทักษะการใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพือการขยายอาชีพ
ลักษณะบ่งชีความสําเร็จของการเรียนรู้
1. ประเมินประสิทธิภาพตัดสินใจยอมรับหรือปฏิเสธนวัตกรรมหรือเทคโนโลยีได้
2. มีความรู้ ความเข้าใจและจําแนกบทบาทหน้าทีของนวัตกรรมหรือเทคโนโลยีได้
3. ปฏิบัติการใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีได้อย่างคล่องแคล่ว
แผนปฏิบัติการเรียนรู้
ลักษณะบ่งชีความสําเร็จ
ของการเรียนรู้
กิจกรรม การวัดผล ประเมินผล สือการเรียนรู้
. ประเมินประสิทธิภาพ
ตัดสินใจ ยอมรับ หรือ
ปฏิเสธนวัตกรรมหรือ
เทคโนโลยีได้
เรียนด้วยตนเอง
. ผู้เรียนทําความเข้าใจเกียวกับ
การประเมินประสิทธิภาพ
นวัตกรรมหรือเทคโนโลยีจาก
เอกสารใบความรู้
. ปฏิบัติการประเมินนวัตกรรม
เทคโนโลยีทีภาครัฐและ
เอกชนเสนอให้ใช้
. ความสามารถตอบสนอง
วัตถุประสงค์
. ประหยัดค่าใช้จ่าย
. ทําให้งานดําเนินไปอย่าง
รวดเร็ว
เอกสารหมายเลข
เรือง การประเมิน
ประสิทธิภาพ
นวัตกรรมเทคโนโลยี
. มีความเข้าใจ สามารถ
จําแนกบทบาท หน้าที
ของนวัตกรรมหรือ
เทคโนโลยีได้
เรียนด้วยตนเอง
. ผู้เรียนนํานวัตกรรมหรือ
เทคโนโลยีทีตัดสินใจใช้มา
วิเคราะห์ ศึกษา บทบาท หน้าที
เพือทราบรายละเอียดและ
ประยุกต์ใช้ให้ถูกต้องได้ด้วย
การศึกษาตัวอย่างการวิเคราะห์
จากเอกสารใบความรู้
. บอกบทบาท
. บอกหน้าที
เอกสารหมายเลข
เรือง การวิเคราะห์เพือ
จําแนก
บทบาทหน้าทีของ
นวัตกรรมเทคโนโลยี
. ปฏิบัติการใช้นวัตกรรม
และเทคโนโลยีได้อย่าง
คล่องแคล่ว
เรียนด้วยตนเอง
ให้ผู้เรียนศึกษาขันตอนการทํางาน
ของนวัตกรรม เทคโนโลยี แล้ว
ทําตาม ตรวจสอบหาข้อบกพร่อง
ของตนเองในการใช้นวัตกรรม
เทคโนโลยี แล้วฝึกการใช้งานจน
คล่องแคล่ว
. ใช้นวัตกรรม เทคโนโลยี
อย่างคล่องแคล่ว
-
23
เอกสารหมายเลข : ใบความรู้ เรือง การประเมินประสิทธิภาพนวัตกรรม เทคโนโลยี
กรอบความคิด
จากแผนภูมิสามารถอธิบายได้ว่า ประสิทธิภาพมีองค์ประกอบร่วมอย่างน้อย
องค์ประกอบ คือ ( ) ความถูกต้องเป็นไปตามวัตถุประสงค์ ( ) มีความรวดเร็ว และ ( ) สามารถลด
ต้นทุนรายจ่ายได้นอกจากนันในแต่ละองค์ประกอบจะต้องมีความสัมพันธ์ต่อกัน หากนํากรอบแนวคิดนี
มาอธิบายกับประสิทธิภาพของนวัตกรรมหรือเทคโนโลยีอาจจะสรุปได้ว่า
ประสิทธิภาพของนวัตกรรม เทคโนโลยีการประกอบอาชีพขึนอยู่กับองค์ประกอบ ดังนี
1 ความสามารถทํางานได้ถูกต้องตามวัตถุประสงค์และมีข้อเสียน้อย
2 ประหยัดค่าใช้จ่าย
3 ทํางานได้รวดเร็ว
ความถูกต้องได้
ตามวัตถุประสงค์
ประสิทธิภาพ
ลดต้นทุน รวดเร็ว
24
ประเมินการทํางานให้ถูกต้องตามวัตถุประสงค์ของเทคโนโลยี
การประเมินความสามารถทํางานได้ตามวัตถุประสงค์ของนวัตกรรม เทคโนโลยี ผู้เรียน
ต้องคิดลักษณะบ่งชีความสําเร็จ และตัวชีวัดความสําเร็จด้วยตนเอง ดังตัวอย่างนี
ตัวอย่าง การประเมินการทํางานให้ถูกต้องตามวัตถุประสงค์
องค์ประกอบการประเมิน ลักษณะบ่งชีความสําเร็จ เกณฑ์ชีวัดความสําเร็จของงาน
. การทําได้ตามวัตถุประสงค์ . เนืองานทีนวัตกรรม เทคโนโลยี
ทําได้
. ความสามารถขันตําทียอมรับได้
ร้อยละ ของเนืองาน
. ความเสียหายของผลงาน . ผลงานทีเสียหายหรือไม่ผ่าน
คุณภาพ
. ความเสียหายขันสูงสุดทียอมรับ
ได้ร้อยละ ของงาน
จากตัวอย่างเกณฑ์การประเมิน เพือให้เห็นรูปธรรมจึงขอยกตัวอย่างการกําหนดเกณฑ์การ
ประเมินการทํางานได้ถูกต้องของนวัตกรรม เทคโนโลยี ดังนี
ตัวอย่าง เกณฑ์การประเมินการทํางานได้ถูกต้องของนวัตกรรมจุลินทรีย์
องค์ประกอบการประเมิน ลักษณะบ่งชีความสําเร็จ เกณฑ์ชีวัดความสําเร็จของงาน
. การหมักสังเคราะห์
อินทรียวัตถุให้เป็นปุ๋ ยหมัก
หลังจากปรุงส่วนผสมกับจุลินทรีย์
เสร็จแล้ว กระบวนการหมักต้อง
ดําเนินการแล้วเสร็จภายใน –
วัน โดยกระบวนการของจุลินทรีย์
กระบวนการหมักต้องแล้วเสร็จ
ภายใน – วัน โดยกระบวนการ
จุลินทรีย์ %
. ความเสียหายของปุ๋ ยหมัก อินทรียวัตถุควรจะได้รับการย่อย
สลายให้มากทีสุด
จะมีอินทรียวัตถุทียังไม่ย่อยสลาย
ได้ไม่เกินร้อยละ
ตัวอย่าง การประเมินเทียบเคียงการทํางานได้ตามจุดประสงค์ของจุลินทรีย์ สํานัก
องค์ประกอบการประเมิน เทคนิคการใช้ พด. + พด. จุลินทรีย์เอกชน
กระบวนการหมักต้อง
ดําเนินการแล้วเสร็จภายใน
– วัน โดยกระบวนการ
ของจุลินทรีย์
กระบวนการหมักความร้อน
°C - °C และเย็นลงทังหมด
ภายใน – วัน เป็นกระบวนการ
ทํางานของจุลินทรีย์ %
กระบวนการหมักความร้อนสูงมาก
ต้องใช้แรงงานคนเข้าไปกลับกอง
ปุ๋ ยทุก ๆ ชัวโมง เพือรักษา
อุณหภูมิต้อง °C - °C
อินทรียวัตถุควรจะได้รับ
การย่อยสลายให้มากทีสุด
มีอินทรียวัตถุทีราเดินมากกว่า
ร้อยละ
มีอินทรียวัตถุทีราเดินได้เพียงร้อย
ละ
จากตาราง บ่งชีให้เห็นว่า จุลินทรีย์ พด. + พด. สามารถทํางานได้ถูกต้องตาม
วัตถุประสงค์มากกว่าชนิดอืน
25
ประเมินความประหยัดค่าใช้จ่าย
เป็นการประเมินเทียบเคียงระหว่างนวัตกรรมเทคโนโลยีอันใหม่ทีจะนําเข้ามาใช้
เทียบเคียงกับนวัตกรรม เทคโนโลยีเก่า โดยมีตัวแปรการประเมินประกอบการ
1 ราคานวัตกรรม เทคโนโลยีต้องจ่ายเท่าไร
2 ค่าใช้จ่ายระหว่างการใช้เท่าไร
3 ลดรายจ่ายจากเดิมเท่าไร
ตัวอย่าง การประเมินเทียบเคียงค่าใช้จ่ายนวัตกรรม เทคโนโลยี
เป้าหมาย : พรวนดินให้ละเอียดบนพืนที ไร่ ให้แล้วเสร็จไม่เกิน ชัวโมง ( วัน)
ใช้แรงงาน คน ขุด พรวน ด้วยจอบ ใช้เครืองจอบหมุนแบบเดินตามเครืองยนต์ แรงม้า
. ราคานวัตกรรมเทคโนโลยี
- ต้องใช้คน คน ค่าแรงงาน
คน/ บาท/วัน ต้องจ่าย
ค่าแรงงาน , บาท
. ราคานวัตกรรมเทคโนโลยี
- รถพรวนแบบเดินตามราคาคันละ , บาท ทํางานได้
, ชัวโมง คิดค่าใช้จ่ายชัวโมงละ บาท
- พืนทีขนาด ไร่ ใช้เวลาทํางาน ชัวโมง
ต้องเสียค่าใช้จ่าย บาท
. ค่าใช้จ่ายระหว่างการใช้งาน
- เครืองดืมชูกําลัง 15 ขวด บาท
- นําเย็น บาท
รวม บาท
. ค่าใช้จ่ายระหว่างใช้งาน
- ค่านํามันเชือเพลิง ชัวโมง ขนาด ลิตร
เป็นเงิน บาท
- ค่าใบมีดพรวนเสียหาย ประมาณ บาท
- ค่าแรงคนงาน คน บาท
รวม บาท
รวมรายจ่ายทังหมด , บาท รวมรายจ่ายทังหมดเป็นเงิน บาท
4. ลดรายจ่ายจากเดิม
ค่าใช้จ่ายโดยแรงงานคน , บาท
ค่าใช้จ่ายโดยเครืองจอบหมุนแบบเดินตาม บาท
จึงสามารถลดรายจ่ายได้ , บาท
26
ประเมินความรวดเร็ว
เป็นการประเมินเทียบเคียงหรือเปรียบเทียบระหว่างการใช้เวลาทํางานจากนวัตกรรม
เทคโนโลยีทีจะนําเข้ากับนวัตกรรม เทคโนโลยีทีใช้อยู่เดิม ดังตัวอย่างการพรวนดินการใช้แรงงานคนกับ
เครืองจักรกลขนาดเล็ก พบว่า เครืองจักรกลขนาดเล็กพรวนดิน ใช้เวลาเพียง ชัวโมง แต่แรงงานคน
จะต้องใช้เวลาถึง ชัวโมง ต้องพบกับความยุ่งยากในการจัดการคนให้ทํางานไปตามเป้าหมาย
สรุป
การตัดสินใจนํานวัตกรรม เทคโนโลยีเข้ามาใช้ประกอบอาชีพ จําเป็นต้องประเมินให้
มองเห็นเหตุผลการนําเข้ามา ความคุ้มค่า และศักยภาพในการเป็นภูมิคุ้มกันให้อาชีพมันคงยังยืน จึงต้องมี
การประเมินด้วยองค์ประกอบทัง ด้านและตัวแปรร่วมต่าง ๆ จึงมีความจําเป็นทีจะต้องแสวงหาความรู้
ข้อมูลให้มากพอทีจะใช้ประเมินตัดสินใจ ดังนัน การประเมินประสิทธิภาพนวัตกรรม เทคโนโลยีจึงเป็น
ส่วนหนึงของการทํางานบนฐานความรู้
27
เอกสารหมายเลข : ใบความรู้ เรือง การวิเคราะห์เพือจําแนกบทบาทหน้าทีของนวัตกรรมเทคโนโลยี
การเข้าสู่อาชีพเมือดําเนินธุรกิจไปจนประสบผลสําเร็จ มักจะถูกจับตามอง ทําตามกัน
มาก ส่วนแบ่งการตลาดจึงมีขนาดเล็กลงโดยลําดับ จนถึงวันหนึงจะเกิดวิกฤติ จึงมีความจําเป็นทีจะต้อง
พัฒนาหรือขยายขอบข่ายอาชีพออกไปหรือเรียนรู้ทําในสิงทีคนอืนทําไม่ได้ เพือให้อยู่ได้อย่างมันคง
ยังยืน การพัฒนาหรือขยายอาชีพจะต้องใช้นวัตกรรม เทคโนโลยีเข้ามาช่วย
ปัญหาดังกล่าวสามารถแสดงให้เห็นขันตอนของพัฒนาการได้ดังนี
ถ้าไม่มีการพัฒนาธุรกิจจะเป็น
ขาลง จําเป็นต้องขยายขอบข่าย
จึงมีความต้องการใช้นวัตกรรม
เทคโนโลยีเข้ามาใช้งาน
3 ธุรกิจในอนาคตจะมีผู้คนเข้ามาเรียนรู้ทําตาม
ทําให้เกิดวิกฤติส่วนแบ่งตลาด
ธุรกิจอยู่ในช่วงพัฒนาขยายตัว
จะมีคนจับตามองพร้อมทําตาม
1 ธุรกิจระยะฟักตัวของ
การเข้าสู่อาชีพ
แผนภูมิแสดงวงจรชีวิตของอาชีพ
ปัญหาทีต้องการคําตอบของผู้ประกอบธุรกิจ
ปัญหาการเลือกนวัตกรรม เทคโนโลยีของผู้ประกอบอาชีพ การตัดสินใจเลือก
นวัตกรรม เทคโนโลยีได้ตรงกับปัญหาความต้องการในธุรกิจให้มากทีสุด ตรงนีเป็นจุดกําเนิดภูมิปัญญา
แต่เรายังอยู่ในสภาวะทีทําเองไม่ได้อาศัยการนําเข้าด้วยตัวเราเอง เพือให้ได้นวัตกรรม เทคโนโลยีที
เหมาะสมลงตัวกับงานอาชีพของเรามากทีสุด
28
กรอบแนวคิด
กรอบแนวคิดการจัดการให้ได้นวัตกรรมเทคโนโลยีทีเหมาะสมลงตัวกับธุรกิจมากทีสุด
มีกรอบแนวคิดการดําเนินการดังนี
. กําหนดความต้องการ
ระบุสิงทีจะต้องทําต้อง 2 แสวงหาความรู้ ประเมินความสามารถ ตัดสินใจ
ใช้นวัตกรรม เทคโนโลยี ความเข้าใจ เพือระบุ ในการทํางานได้แท้จริง นําเข้ามาใช้
เข้ามาทํางาน นวัตกรรม เทคโนโลยี ของนวัตกรรมให้ งานให้เหมาะสม
กระจ่างด้วยตนเอง
วิธีการกําหนดความต้องการ
. ระบุสิงทีจะต้องทําและจําเป็นจะต้องใช้นวัตกรรม เทคโนโลยีเข้ามาใช้ เพือลดต้นทุน ลด
ระยะเวลา การทํางานและสร้างงานให้มีของเสียหายเกิดขึนน้อยทีสุด
ตัวอย่าง สิงทีจะต้องทํา และจําเป็นต้องใช้นวัตกรรม เทคโนโลยี
( ) การพรวนดินให้ละเอียดและผสมปุ๋ ยหมักคลุกเคล้าลงดินให้กระจายสมําเสมอต้องใช้
แรงงานคนจํานวนมาก ค่าใช้จ่ายสูง งานหนัก คนงานสู้ไม่ไหว ทิงงานลาออก จําเป็นต้องใช้เทคโนโลยี
การพัฒนาดิน
( ) ช่วงฤดูหนาวเบญจมาศไม่ออกดอก ถ้าสามารถทําให้ออกดอกได้จะทําให้การป้ อนสินค้าเข้า
ตลาดไม่ขาดช่วง จําเป็นต้องใช้เทคโนโลยีการบังคับพืชให้ออกดอกนอกฤดูกาล
. บอกบทบาทหน้าทีทีจะต้องนํานวัตกรรม เทคโนโลยีเข้ามาใช้
ตัวอย่าง
( ) ทําให้แสงของวันในช่วงเดือนธันวาคม–กุมภาพันธ์มีความยาวขึนเพือกระตุ้นตาดอกเบญจมาศ
( ) เกษตรอินทรีย์พืชขาดไนโตรเจน แต่ข้อกําหนดห้ามใช้ปุ๋ ยเคมี จําเป็นต้องใช้ไนโตรเจนจาก
ธรรมชาติ
แสวงหาความรู้ ความเข้าใจเพือระบุ นวัตกรรม เทคโนโลยีทีเหมาะสม
ด้วยการนําผลการวิเคราะห์ ( ) ระบุสิงทีต้องทําและ ( ) บทบาทหน้าทีทีจะต้องนํา
นวัตกรรมเทคโนโลยีเข้ามาใช้ไปสืบค้นข้อมูลสารสนเทศและศึกษาสังเกตจากผู้รู้ภูมิปัญญาต่าง ๆ ต้องสรุป
ด้วยตนเองว่าควรจะใช้เทคโนโลยีอะไรและจําแนกบทบาทหน้าทีให้ชัดเจนดังตัวอย่าง
ตัวอย่างที เทคโนโลยีการหมักดอง
เทคโนโลยี บทบาท หน้าที
ลูกแป้งข้าวหมาก ย่อยแป้ง สร้างนําตาล
ลูกแป้งเหล้า ย่อยนําตาล สร้างแอลกอฮอล์
แลคโตบาซิลลัสในเครืองดืม
ยาคูลท์
ย่อยโปรตีน ย่อยถัวเหลืองให้เป็นกรดยูริค
ย่อยปลาให้เป็นนําปลา
29
ตัวอย่างที เทคโนโลยีบังคับพืชออกผลนอกฤดูกาล
เทคโนโลยี บทบาท หน้าที
แสงหลอดฟลูออเรสเซนท์ สร้างแสงให้วันยาวขึน กระตุ้นให้พืชต้องการวันแสงยาว
ออกดอก
นําหมักพืชผักผลไม้ เร่งใบพืชให้สะสมอาหารแก่ตัว
อย่างรวดเร็ว
กระตุ้นผักกินดอกให้ออกดอก
สมําเสมอทังแปลง
ฮอร์โมนเร่งการออกดอก เร่งใบไม้ผลให้แก่เร็วขึน กระตุ้นไม้ผล (มะม่วง) ออกดอก
นอกฤดูกาล
การงดนําต้นไม้ ทําให้ต้นโทรม ใบร่วง กระตุ้นให้ต้นส้มทิงใบออกจาก
ดอกพร้อมกัน
ตัวอย่างที เทคโนโลยีพัฒนาดินด้วยแทรกเตอร์
เทคโนโลยี บทบาท หน้าที
ผานกระทะ ไถบุกเบิก พลิกหน้าดินจากล่างขึนบน
ผานหัวสิว ไถแหวกดินระดับลึก สลายดินดานให้แตกนําซึมลึกลง
ในดินได้
โรตารี ตีสับดิน สับดินให้ละเอียด เพือการปลูก
ผักและนาข้าว
ประเมินความเหมาะสมและตัดสินใจ
เมือได้ศึกษาบทบาทหน้าทีของนวัตกรรม เทคโนโลยีแล้ว ต่อไปเป็นขันตอนการประเมินความ
เหมาะสมด้วยการเทียบเคียงกับเทคโนโลยีทีเคยใช้ว่าจะทําให้ดีขึนแตกต่างจากเดิมได้มากหรือปานกลาง
ดังตัวอย่าง
ตัวอย่างที มะม่วงนําดอกไม้ถ้าเกษตรกรให้นําให้อาหารพืชอย่างต่อเนืองอย่างสมบูรณ์ มะม่วง
นําดอกไม้จะออกลูกต่อเนืองให้ลูกต่อเนืองให้ลูกรุ่นพีรุ่นน้องในปริมาณพอเหมาะนําเข้าสู่ตลาดได้เป็นระยะ ๆ
อย่างต่อเนืองกับการทีเราต้องลงทุนให้สารเคมีบังคับให้ออกดอกติดผลพร้อมกันนอกฤดูกาลเหมาะสมกับ
ลักษณะตลาดทีเรามีอยู่หรือไม่
ตัวอย่างที หมักนําปลา เดิมเพียงเติมเกลือกับปลาในอัตราส่วนทีเหมาะสม หมักทิงข้ามปีก็จะได้
นําปลา แต่ถ้าเราใช้เทคโนโลยีจุลินทรีย์แลคโตบาซิลลัสทีต้องบดปลาให้ละเอียดผสมแลคโตบาซิลลัส
เพิมเข้ามาจะใช้เวลาหกเดือนได้นําปลา แบบใดจะเหมาะสมกว่ากัน เพราะถ้าใช้เทคโนโลยีแลคโต
บาซิลลัสจะต้องเพิมค่าใช้จ่ายบดปลาและค่าจุลินทรีย์
30
สรุป
การตัดสินใจนํานวัตกรรม เทคโนโลยีเข้ามาใช้โดยไม่ผ่านการวิเคราะห์เพือศึกษา
บทบาทหน้าทีและความเหมาะสมมีโอกาสทีจะเสียงต่อความเสียหายสินเปลืองได้ หากเราหันมาให้
ความสําคัญเกียวกับข้อมูลสารสนเทศของนวัตกรรม เทคโนโลยี เรียนรู้ทําความกระจ่างก็จะลดอัตราการ
เสียงได้ดี
กิจกรรมที
1. ผู้เรียนปฏิบัติการประเมินนวัตกรรม เทคโนโลยีทีภาครัฐและเอกชนเสนอให้ใช้
2. ผู้เรียนนํานวัตกรรมหรือเทคโนโลยีทีตัดสินใจใช้มาวิเคราะห์ ศึกษา บทบาท หน้าที เพือ
ทราบรายละเอียดและประยุกต์ใช้ให้ถูกต้องได้ด้วยการศึกษาตัวอย่าง
3. ผู้เรียนศึกษาขันตอนการทํางานของนวัตกรรม เทคโนโลยี แล้วทําตาม ตรวจสอบหา
ข้อบกพร่องของตนเองในการใช้นวัตกรรม เทคโนโลยี แล้วฝึกการใช้งานจนคล่องแคล่ว
4. ผู้เรียนวางแผนการฝึกทักษะทีจําเป็นต่อการขยายอาชีพโดยรวมแหล่งฝึกความรู้ทีต้องการฝึก
วิธีการฝึก และผลการฝึก
31
บทที
ตรวจสอบระบบความพร้อมการสร้างอาชีพให้มีความมันคง
ผลการเรียนรู้ทีคาดหวัง
สามารถตรวจสอบระบบความพร้อมในการขยายอาชีพให้มีความมันคง
ขอบข่ายเนือหา
เรือง การตรวจสอบระบบความพร้อมการสร้างอาชีพให้มันคง
สือประกอบการเรียนรู้
1. เอกสารหมายเลข ใบความรู้ เรือง ความหมายและลักษณะองค์ประกอบในขอบข่ายอาชีพ
2. เอกสารหมายเลข 7 ใบความรู้ เรือง การวิเคราะห์ชุมชน
3. เอกสารหมายเลข ใบความรู้ เรือง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
4. เอกสารหมายเลข ใบความรู้ เรือง การวิเคราะห์ ตรวจสอบระบบความพร้อมในการสร้าง
อาชีพ
32
เรืองที การตรวจสอบระบบความพร้อมการสร้างอาชีพให้มันคง
ลักษณะบ่งชีความสําเร็จของการเรียนรู้
1. เข้าใจขอบข่ายระบบธุรกิจ
2. เข้าใจขอบข่ายระบบเศรษฐกิจพอเพียง
3. เข้าใจการวิเคราะห์ตรวจสอบปฏิสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบในขอบข่ายระบบ
ธุรกิจกับเศรษฐกิจพอเพียงเพือประเมินระบุความพร้อมการสร้างอาชีพให้มันคง
แผนปฏิบัติการเรียนรู้
ลักษณะบ่งชีความสําเร็จ
ของการเรียนรู้
กิจกรรม
การวัดผลและ
ประเมินผล
สือการเรียน
. เข้าใจขอบข่ายระบบ
ธุรกิจ
เรียนรู้ด้วยตนเอง
ให้ผู้เรียนศึกษาความหมายและ
ลักษณะองค์ประกอบร่วมใน
ขอบข่ายระบบอาชีพจาก
ใบความรู้
การระบุองค์ประกอบ
ร่วมในขอบข่ายระบบ
ธุรกิจ
เอกสารหมายเลข
ใบความรู้ เรือง
ความหมายและ
ลักษณะของ
องค์ประกอบใน
ขอบข่ายอาชีพ
2. เข้าใจขอบข่ายระบบ
เศรษฐกิจพอเพียง
เรียนรู้ด้วยตนเอง
ให้ผู้เรียนศึกษาความหมายและ
ลักษณะองค์ประกอบการคิดใน
ระบบเศรษฐกิจพอเพียงจาก
ใบความรู้
การระบุองค์ประกอบ
การคิดในระบอบ
เศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารหมายเลข
ใบความรู้ เรือง ปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง
3. เข้าใจวิเคราะห์
ตรวจสอบปฏิสัมพันธ์
ระหว่างองค์ประกอบ
ในขอบข่ายระบบ
เศรษฐกิจพอเพียง เพือ
ประเมินระบุความ
พร้อมการสร้างอาชีพ
ให้มันคง
เรียนรู้ด้วยตนเอง
. ให้ผู้เรียนศึกษา วิเคราะห์การ
ประกอบอาชีพ โดยยึดหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ความคิดรวบยอดของ
ปฏิสัมพันธ์ระหว่าง
องค์ประกอบในอาชีพ
กับเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารหมายเลข
ใบความรู้ เรือง การ
วิเคราะห์ ตรวจสอบ
ระบบความพร้อมใน
การสร้างอาชีพ
. ผู้เรียนทําบันทึกความพร้อมใน
การสร้างอาชีพตามความคิดรวบ
ยอดของปฏิสัมพันธ์ ระหว่าง
เศรษฐกิจพอเพียงกับ
องค์ประกอบการทําอาชีพ
การระบุปฏิสัมพันธ์บอก
ข้อบกพร่องทีต้องพัฒนา
ให้เกิดความพร้อม
33
เอกสารหมายเลข : ใบความรู้ เรือง ความหมายและลักษณะองค์ประกอบในขอบข่ายอาชีพ
องค์ประกอบในระบบอาชีพ
แผนภูมิแสดงความสัมพันธ์องค์ประกอบภายในระบบอาชีพ
จากแผนภูมิความสัมพันธ์องค์ประกอบภายในระบบอาชีพ มีองค์ประกอบทีสําคัญและส่งผล
กระทบความมันคงของอาชีพ องค์ประกอบด้วยกันคือ ( ) ทุน ( ) ผลผลิต ( ) ลูกค้า และ ( ) การ
เรียนรู้พัฒนาตนเองของสถานประกอบการ
ทุน
ในการประกอบอาชีพ การจัดการทุนเป็นเรืองสําคัญ เพราะทุนจะต้องผันแปรสําคัญต่อความ
มันคงของอาชีพ ทุนมีหลายประเภททีผู้ประกอบอาชีพจะนําเข้ามาบูรณาการใช้ลงทุนประกอบการ เช่น
. เงินทุน ได้มาจากการออม จากการสะสมทุน จากการกู้ยืมสถาบันการเงิน
. ทุนทีดิน เป็นทีตังสถานประกอบการ เป็นฐานการผลิตทีจะต้องมีการจัดการให้การใช้ทีดิน
เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
. ทุนทางสิงแวดล้อม เช่น การเกษตรอินทรีย์ตังบนพืนทีป่าเขาโดยรอบ ทําให้ได้ความชืนและ
ปุ๋ ยธรรมชาติมาตามลม และไหลมากับนําฝน ทําให้ลดต้นทุนเกียวกับปุ๋ ยหมักและจุลินทรีย์ลงได้
ทุน
การพัฒนา
ตนเอง
ผลผลิต
ลูกค้า
อาชีพมันคง
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002
อช31002

More Related Content

What's hot

ศิลปศึกษา ม.ปลาย ทช31003
ศิลปศึกษา ม.ปลาย ทช31003ศิลปศึกษา ม.ปลาย ทช31003
ศิลปศึกษา ม.ปลาย ทช31003
Thidarat Termphon
 
สุขศึกษา พลศึกษา ม.ต้น ทช21002
สุขศึกษา พลศึกษา ม.ต้น ทช21002สุขศึกษา พลศึกษา ม.ต้น ทช21002
สุขศึกษา พลศึกษา ม.ต้น ทช21002
Thidarat Termphon
 
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
Thidarat Termphon
 
ช่องทางการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21001
ช่องทางการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21001ช่องทางการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21001
ช่องทางการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21001
Thidarat Termphon
 
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001
Thidarat Termphon
 
โครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร 02006
โครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร 02006โครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร 02006
โครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร 02006
Thidarat Termphon
 
การพัฒนาอาชีพให้มีความเข้มแข็ง ม.ต้น อช21003
การพัฒนาอาชีพให้มีความเข้มแข็ง ม.ต้น อช21003การพัฒนาอาชีพให้มีความเข้มแข็ง ม.ต้น อช21003
การพัฒนาอาชีพให้มีความเข้มแข็ง ม.ต้น อช21003
Thidarat Termphon
 
ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001
ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001
ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001
Thidarat Termphon
 
การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003
การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003
การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003
Thidarat Termphon
 
ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002
ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002
ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002
Thidarat Termphon
 
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
Thidarat Termphon
 
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
Thidarat Termphon
 
สังคมศึกษา ม.ต้น สค21001
สังคมศึกษา ม.ต้น สค21001สังคมศึกษา ม.ต้น สค21001
สังคมศึกษา ม.ต้น สค21001
Thidarat Termphon
 
สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001
สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001
สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001
Thidarat Termphon
 
ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001
ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001
ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001
Thidarat Termphon
 
หลักการเกษตรอินทรีย์ ม.ต้น อช02007
หลักการเกษตรอินทรีย์ ม.ต้น อช02007หลักการเกษตรอินทรีย์ ม.ต้น อช02007
หลักการเกษตรอินทรีย์ ม.ต้น อช02007
Thidarat Termphon
 
การพัฒนาตนอง ชุมชน สังคม ม.ปลาย สค31003
การพัฒนาตนอง ชุมชน สังคม ม.ปลาย สค31003การพัฒนาตนอง ชุมชน สังคม ม.ปลาย สค31003
การพัฒนาตนอง ชุมชน สังคม ม.ปลาย สค31003
Thidarat Termphon
 

What's hot (20)

ศิลปศึกษา ม.ปลาย ทช31003
ศิลปศึกษา ม.ปลาย ทช31003ศิลปศึกษา ม.ปลาย ทช31003
ศิลปศึกษา ม.ปลาย ทช31003
 
สุขศึกษา พลศึกษา ม.ต้น ทช21002
สุขศึกษา พลศึกษา ม.ต้น ทช21002สุขศึกษา พลศึกษา ม.ต้น ทช21002
สุขศึกษา พลศึกษา ม.ต้น ทช21002
 
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
 
ช่องทางการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21001
ช่องทางการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21001ช่องทางการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21001
ช่องทางการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21001
 
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001
 
โครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร 02006
โครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร 02006โครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร 02006
โครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร 02006
 
การพัฒนาอาชีพให้มีความเข้มแข็ง ม.ต้น อช21003
การพัฒนาอาชีพให้มีความเข้มแข็ง ม.ต้น อช21003การพัฒนาอาชีพให้มีความเข้มแข็ง ม.ต้น อช21003
การพัฒนาอาชีพให้มีความเข้มแข็ง ม.ต้น อช21003
 
ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001
ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001
ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001
 
การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003
การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003
การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003
 
ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002
ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002
ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002
 
ทักษะการเรียนรู้ ม ต้น ทร21001
ทักษะการเรียนรู้ ม ต้น ทร21001ทักษะการเรียนรู้ ม ต้น ทร21001
ทักษะการเรียนรู้ ม ต้น ทร21001
 
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
 
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
 
สังคมศึกษา ม.ต้น สค21001
สังคมศึกษา ม.ต้น สค21001สังคมศึกษา ม.ต้น สค21001
สังคมศึกษา ม.ต้น สค21001
 
สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001
สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001
สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001
 
ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001
ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001
ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001
 
หลักการเกษตรอินทรีย์ ม.ต้น อช02007
หลักการเกษตรอินทรีย์ ม.ต้น อช02007หลักการเกษตรอินทรีย์ ม.ต้น อช02007
หลักการเกษตรอินทรีย์ ม.ต้น อช02007
 
ทช31003
ทช31003ทช31003
ทช31003
 
การพัฒนาตนอง ชุมชน สังคม ม.ปลาย สค31003
การพัฒนาตนอง ชุมชน สังคม ม.ปลาย สค31003การพัฒนาตนอง ชุมชน สังคม ม.ปลาย สค31003
การพัฒนาตนอง ชุมชน สังคม ม.ปลาย สค31003
 
ศิลปะ ม.ต้น กศน.
ศิลปะ ม.ต้น กศน.ศิลปะ ม.ต้น กศน.
ศิลปะ ม.ต้น กศน.
 

More from patara4

More from patara4 (7)

อช31003
อช31003อช31003
อช31003
 
อช21003
อช21003อช21003
อช21003
 
อช21002
อช21002อช21002
อช21002
 
อช21001
อช21001อช21001
อช21001
 
อช11003
อช11003อช11003
อช11003
 
อช11002
อช11002อช11002
อช11002
 
ช่องทางการเข้าสู่อาชีพ
ช่องทางการเข้าสู่อาชีพช่องทางการเข้าสู่อาชีพ
ช่องทางการเข้าสู่อาชีพ
 

อช31002

  • 1. หนังสือเรียนสาระการประกอบอาชีพ รายวิชา ทักษะการขยายอาชีพ (อช31002) ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ) หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขันพืนฐาน พุทธศักราช สํานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ ห้ามจําหน่าย หนังสือเรียนเล่มนีจัดพิมพ์ด้วยเงินงบประมาณแผ่นดินเพือการศึกษาตลอดชีวิตสําหรับประชาชน ลิขสิทธิเป็นของ สํานักงาน กศน. สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เอกสารทางวิชาการลําดับที /
  • 2. หนังสือเรียนสาระการประกอบอาชีพ รายวิชา ทักษะการขยายอาชีพ (อช31002) ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ลิขสิทธิเป็นของ สํานักงาน กศน. สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เอกสารทางวิชาการลําดับที 29/2555
  • 3. คํานํา กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขันพืนฐาน พุทธศักราช เมือวันที กันยายน พ.ศ. แทนหลักเกณฑ์และวิธีการจัดการศึกษานอกโรงเรียน ตามหลักสูตรการศึกษาขันพืนฐาน พุทธศักราช ซึงเป็นหลักสูตรทีพัฒนาขึนตามหลักปรัชญาและ ความเชือพืนฐานในการจัดการศึกษานอกโรงเรียนทีมีกลุ่มเป้ าหมายเป็นผู้ใหญ่มีการเรียนรู้และสังสม ความรู้ และประสบการณ์อย่างต่อเนือง ในปีงบประมาณ กระทรวงศึกษาธิการได้กําหนดแผนยุทธศาสตร์ในการขับเคลือน นโยบายทางการศึกษาเพือเพิมศักยภาพและขีดความสามารถในการแข่งขันให้ประชาชนได้มีอาชีพ ที สามารถสร้างรายได้ทีมังคังและมันคง เป็นบุคลากรทีมีวินัย เปียมไปด้วยคุณธรรมและจริยธรรม และมี จิตสํานึกรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อืน สํานักงาน กศน. จึงได้พิจารณาทบทวนหลักการ จุดหมาย มาตรฐาน ผลการเรียนรู้ทีคาดหวัง และเนือหาสาระ ทัง กลุ่มสาระการเรียนรู้ ของหลักสูตรการศึกษา นอกระบบระดับการศึกษาขันพืนฐาน พุทธศักราช ให้มีความสอดคล้องตอบสนองนโยบาย กระทรวงศึกษาธิการ ซึงส่งผลให้ต้องปรับปรุงหนังสือเรียน โดยการเพิมและสอดแทรกเนือหาสาระ เกียวกับอาชีพ คุณธรรม จริยธรรมและการเตรียมพร้อม เพือเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ในรายวิชาทีมีความ เกียวข้องสัมพันธ์กัน แต่ยังคงหลักการและวิธีการเดิมในการพัฒนาหนังสือทีให้ผู้เรียนศึกษาค้นคว้า ความรู้ด้วยตนเอง ปฏิบัติกิจกรรม ทําแบบฝึกหัด เพือทดสอบความรู้ความเข้าใจ มีการอภิปราย แลกเปลียนเรียนรู้กับกลุ่ม หรือศึกษาเพิมเติมจากภูมิปัญญาท้องถิน แหล่งการเรียนรู้และสืออืน การปรับปรุงหนังสือเรียนในครังนี ได้รับความร่วมมืออย่างดียิงจากผู้ทรงคุณวุฒิในแต่ละ สาขาวิชา และผู้เกียวข้องในการจัดการเรียนการสอนทีศึกษาค้นคว้า รวบรวมข้อมูลองค์ความรู้จากสือ ต่าง ๆ มาเรียบเรียงเนือหาให้ครบถ้วนสอดคล้องกับมาตรฐาน ผลการเรียนรู้ทีคาดหวัง ตัวชีวัดและกรอบ เนือหาสาระของรายวิชาสํานักงาน กศน. ขอขอบคุณผู้มีส่วนเกียวข้องทุกท่านไว้ณ โอกาสนี และหวังว่า หนังสือเรียนชุดนีจะเป็นประโยชน์แก่ผู้เรียน ครู ผู้สอน และผู้เกียวข้องในทุกระดับ หากมีข้อเสนอแนะ ประการใด สํานักงาน กศน. ขอน้อมรับด้วยความขอบคุณยิง
  • 4. สารบัญ หน้า คํานํา คําแนะนําการใช้หนังสือเรียน โครงสร้างรายวิชาทักษะการขยายอาชีพ บทที ทักษะในการขยายอาชีพ 7 เรืองที ความจําเป็นในการฝึกทักษะอาชีพ เรืองที ทักษะการใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพือการขยายอาชีพ 22 บทที ตรวจสอบระบบความพร้อมการสร้างอาชีพให้มีความมันคง เรืองที การตรวจสอบระบบความพร้อมการสร้างอาชีพให้มันคง บทที การพัฒนาตนเองเพือการขยายอาชีพ เรืองที การวิเคราะห์ทําความเข้าใจและรู้จักตัวตนทีแท้จริง เรืองที การพัฒนาทักษะการขยายอาชีพให้เป็นลักษณะนิสัย บทที ความหมาย ความสําคัญของการขยายอาชีพ เรืองที ความหมายของการจัดการขยายอาชีพ ตามแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เรืองที ความสําคัญของการจัดการขยายอาชีพ เพือความมันคง ตามแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง บทที ความรู้เบืองต้นเกียวกับการบริหารจัดการในการขยายอาชีพ บทที การจัดทําและพัฒนาระบบการขยายอาชีพ ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เรืองที 1 องค์ประกอบของระบบขยายอาชีพ 96 ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เรืองที การจัดทําแผนธุรกิจ บทที การขับเคลือนธุรกิจเพือการขยายอาชีพ เรืองที การควบคุมให้การขยายอาชีพเป็นไปตามแผนกลยุทธ์ เรืองที การตรวจสอบให้การปฏิบัติการขยายอาชีพเกิดผลตามแผนปฏิบัติการ บทที โครงการขยายอาชีพ เรืองที การจัดทําโครงการขยายอาชีพเพือนําเสนอแหล่งทุน
  • 5. คําแนะนําการใช้หนังสือเรียน หนังสือเรียนสาระการประกอบอาชีพรายวิชาทักษะการขยายอาชีพ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เป็นแบบเรียนทีจัดทําขึน สําหรับผู้เรียนทีเป็นนักศึกษานอกระบบ ในการศึกษาหนังสือเรียนสาระการประกอบอาชีพ รายวิชาทักษะการขยายอาชีพ ผู้เรียนควร ปฏิบัติดังนี 1. ศึกษาโครงสร้างรายวิชาให้เข้าใจในหัวข้อและสาระสําคัญ มาตรฐานการเรียนรู้ระดับ และ ผลการเรียนรู้ทีคาดหวัง และขอบข่ายเนือหาของรายวิชานัน ๆ โดยละเอียด 2. ศึกษารายละเอียดเนือหาของแต่ละบทอย่างละเอียด และทํากิจกรรมตามทีกําหนด ถ้าผู้เรียน ไม่เข้าใจควรกลับไปศึกษาและทําความเข้าใจในเนือหานันใหม่ให้เข้าใจ ก่อนทีจะศึกษาเรืองต่อ ๆ ไป 3. ครูควรทบทวนสาระสําคัญของรายวิชาช่องทางการขยายอาชีพ (อช ) ให้ผู้เรียน สามารถเชือมโยงระหว่างรายวิชาได้ทําให้เกิดความเข้าใจต่อเนืองกับรายวิชาทักษะการขยายอาชีพ 4. หนังสือเรียนเล่มนีเน้นการจัดการเรียนรู้ในลักษณะกระบวนการส่วนใหญ่ จะยกตัวอย่าง อาชีพเกษตรกรรมแต่อาชีพอืนๆ ก็สามารถนํากระบวนการไปใช้ได้ 5. หนังสือเรียนเล่มนีมี บท คือ บทที ทักษะในการขยายอาชีพ บทที ตรวจสอบระบบความพร้อมการสร้างอาชีพให้มีความมันคง บทที การพัฒนาตนเองเพือการขยายอาชีพ บทที ความหมาย ความสําคัญของการขยายอาชีพ บทที ความรู้เบืองต้นเกียวกับการบริหารจัดการในการขยายอาชีพ บทที การจัดทําและพัฒนาระบบการขยายอาชีพ ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง บทที การขับเคลือนธุรกิจเพือการขยายอาชีพ บทที โครงการขยายอาชีพ
  • 6. โครงสร้างรายวิชาทักษะการขยายอาชีพ (อช ) ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย มาตรฐานการเรียนรู้ระดับและผลการเรียนรู้ทีคาดหวัง มาตรฐานการเรียนรู้ระดับ 1. มีความรู้ ความเข้าใจ ทักษะในการขยายอาชีพ เพือสร้างความมันคงบนพืนฐานความรู้ใน กระบวนการผลิต กระบวนการตลาด ทีใช้นวัตกรรม เทคโนโลยีทีเหมาะสม มีความ หลากหลายทางชีวภาพ พัฒนาต่อยอดและประยุกต์ใช้ภูมิปัญญา 2. มีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถจัดทําแผนงานและโครงการธุรกิจเพือขยายอาชีพเข้าสู่ ตลาดการแข่งขัน ตามแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพือสู่ความมันคง ผลการเรียนรู้ทีคาดหวัง 1. อธิบายทักษะทีเกียวข้องในกระบวนการผลิตและการตลาดทีใช้นวัตกรรมเทคโนโลยีในการ ขยายอาชีพทีตัดสินใจเลือก 2. ตรวจสอบระบบความพร้อมในการขยายอาชีพให้มีความมันคง 3. ปฏิบัติการวิเคราะห์ตนเองและพัฒนาทักษะการขยายอาชีพให้เป็นลักษณะนิสัย 4. อธิบายความหมาย ความสําคัญของการจัดการอาชีพเพือการขยายอาชีพได้ 5. ดําเนินการจัดทําและหรือปรับปรุงแผนธุรกิจด้านการจัดการ การผลิตหรือ การบริการและ ด้านการจัดการ การตลาด ตามแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้ 6. ตรวจสอบระบบธุรกิจเพือการขยายอาชีพได้ 7. ปฏิบัติการจัดทําแผนและโครงการขยายอาชีพได้ ขอบข่ายเนือหา บทที ทักษะในการขยายอาชีพ บทที ตรวจสอบระบบความพร้อมการสร้างอาชีพให้มีความมันคง บทที การพัฒนาตนเองเพือการขยายอาชีพ บทที ความหมาย ความสําคัญของการขยายอาชีพ บทที ความรู้เบืองต้นเกียวกับการบริหารจัดการในการขยายอาชีพ บทที การจัดทําและพัฒนาระบบการขยายอาชีพ ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง บทที การขับเคลือนธุรกิจเพือการขยายอาชีพ บทที โครงการขยายอาชีพ
  • 7. 7 บทที ทักษะในการขยายอาชีพ ผลการเรียนรู้ทีคาดหวัง อธิบายทักษะทีเกียวข้องในกระบวนการผลิตและการตลาดทีใช้นวัตกรรม เทคโนโลยีในการ ขยายอาชีพทีตัดสินใจเลือก ขอบข่ายเนือหา เรืองที . ความจําเป็นในการฝึกทักษะอาชีพ เรืองที . ทักษะการใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพือการขยายอาชีพ สือประกอบการเรียนรู้ 1. เอกสารหมายเลข ใบความรู้เรืองทักษะการทํางานบนฐานข้อมูล 2. เอกสารหมายเลข ใบความรู้เรืองการต่อยอดภูมิปัญญายกระดับความรู้ให้สูงขึน 3. เอกสารหมายเลข ใบความรู้เรืองการสร้างความหลากหลาย เพือความมันคงในอาชีพ 4. เอกสารหมายเลข ใบความรู้เรืองการประเมินประสิทธิภาพ นวัตกรรม เทคโนโลยี 5. เอกสารหมายเลข ใบความรู้เรืองการวิเคราะห์เพือจําแนกบทบาทหน้าทีของนวัตกรรม เทคโนโลยี
  • 8. 8 เรืองที ความจําเป็นในการฝึกทักษะอาชีพ ลักษณะบ่งชีความสําเร็จของการเรียนรู้ 1. มีความเข้าใจทักษะการทํางานบนฐานความรู้ 2. เข้าใจการเรียนรู้ต่อยอดภูมิปัญญา ยกระดับความรู้ให้สูงขึน 3. เข้าใจความหลากหลายทางชีวภาพ และกิจกรรม เพือความมันคงของอาชีพ แผนปฏิบัติการเรียนรู้ ลักษณะบ่งชีความสําเร็จ ของการเรียนรู้ กิจกรรม การวัดผล ประเมินผล สือการเรียน . มีความเข้าใจทักษะ การทํางานบนฐานความรู้ เรียนด้วยตนเอง . ผู้เรียนแต่ละคนทําความเข้าใจ เรืองทักษะการทํางานบน ฐานข้อมูลจากเอกสารใบความรู้ . ทบทวนประสบการณ์การ ทํางานบนฐานข้อมูลของ ตนเองแล้วบูรณาการความรู้ เข้าด้วยกัน หาแนวทาง วิธีการทํางานบนฐานข้อมูลเพือ ขยายขอบข่ายอาชีพของตนเอง . การระบุเหตุการณ์ของ การประกอบอาชีพที ต้องใช้ความรู้ข้อมูล สารสนเทศ เอกสารหมายเลข ใบความรู้เรืองทักษะการ ทํางานบนฐานข้อมูล . เข้าใจการเรียนรู้ต่อ ยอดภูมิปัญญา ยกระดับความรู้ให้สูงขึน เรียนด้วยตนเอง . ผู้เรียนแต่ละคนทําความเข้าใจ เรืองการต่อยอดภูมิปัญญา ยกระดับความรู้ให้สูงขึน เรียนโดยกลุ่ม . ให้คณะผู้เรียนทีเป็นกลุ่มอาชีพ ลักษณะเดียวกันรวมกลุ่มกัน ค้นหาภูมิปัญญาทีจะต้องใช้เป็น ความสามารถหลักและกําหนด แนวทางยกระดับความรู้ให้สูงขึน . การระบุภูมิปัญญาที จะใช้เป็นความสามารถ หลักของการขยาย ขอบข่ายอาชีพ . การกําหนดแนวทาง การยกระดับความรู้ ให้สูงขึน เอกสารหมายเลข ใบความรู้เรืองการ ต่อยอดภูมิปัญญา ยกระดับความรู้ให้สูงขึน . เข้าใจความ หลากหลายทางชีวภาพ และกิจกรรมเพือความ มันคงของอาชีพ เรียนรู้ด้วยตนเอง ทําความเข้าใจเรืองการสร้างความ หลากหลายในอาชีพ เพือความ มันคง ลดอัตราเสียงของตลาด 1. ไม่คิดเชิงเดียว . การบูรณาการความ หลากหลาย สร้าง ความมันคง เอกสารหมายเลข ใบความรู้เรืองการสร้าง ความหลากหลาย เพือ ความมันคงในอาชีพ
  • 9. 9 เอกสารหมายเลข : ใบความรู้ เรือง ทักษะการทํางานบนฐานข้อมูล การขยายอาชีพหลายคนใช้วิธีทําตามกระแสความนิยม เห็นเขาได้ดีก็จะทําตามเขาด้วย คิดตัดสินใจด้วยความรู้สึก บางคนก็ประสบผลสําเร็จแต่หลายคนพบความล้มเหลว แต่หากเราหันมามอง คนประสบความสําเร็จอาชีพมันคง เราจะเห็นว่าบุคคลเหล่านีจะทําอะไรต้องคิดอย่างถีถ้วน หาความรู้ ข้อมูลมากมายมาใช้คิดชังนําหนักโอกาสความสําเร็จ จัดระบบทําการทดลองสรุปผลจนมันใจจึงจะมีการ ลงทุน การกระทําลักษณะนีเป็นลักษณะของคนทํางานบนฐานข้อมูล ผู้เรียนการศึกษานอกระบบจึงมี ความจําเป็นทีจะต้องพัฒนาทักษะการทํางานบนฐานข้อมูล เพือให้การขยายอาชีพเริมต้นได้เหมาะสม เฉพาะกับตนเอง กรอบแนวคิดการทํางานบนฐานข้อมูล   แผนภูมิกรอบแนวคิดการทํางานบนฐานข้อมูล จากแผนภูมิกรอบแนวคิดการทํางานบนฐานข้อมูล แสดงให้เห็นว่า การทํางานบน ฐานข้อมูลจะมีกิจกรรมอย่างน้อย กิจกรรมทีจําเป็นสําหรับการพัฒนาตนเองของผู้เรียนทีจะต้องเรียนรู้ สร้างเป็นพฤติกรรมให้เป็นลักษณะนิสัยในอันทีจะเปลียนแปลงหรือขยายขอบข่ายอาชีพสู่ความมันคง ฐานข้อมูลอาชีพ การดําเนินการทางธุรกิจ มีองค์ประกอบร่วม องค์ประกอบด้วยกัน คือ (1) องค์ประกอบด้านทุน (2) องค์ประกอบด้านผลิตภัณฑ์ (3) องค์ประกอบด้านลูกค้า (4) องค์ประกอบด้านตนเอง องค์ประกอบดังกล่าวเป็นฐานข้อมูลอาชีพทีผู้เรียนจะต้องจัดระบบข้อมูลไว้ใช้ทํางาน โดยมีรายละเอียดดังนี  ทุน ฐานข้อมูลอาชีพ ผลิตภัณฑ์ ลูกค้า ตนเอง สร้างแบบจําลอง อาชีพสําหรับตนเอง ปฏิบัติการใช้และ สรุปบทเรียน
  • 10. 10 . องค์ประกอบด้านทุน ประกอบด้วย . ทุนอสังหาริมทรัพย์ได้แก่ บ้าน ทีดิน โรงงาน ของทีเรามีอยู่ หรือต้องจัดซือ จัดทํา ไว้ใช้ทําธุรกิจ . ทุนเงิน มีหรือยัง ถ้ายังไม่มีแหล่งเงินทุนอยู่ทีไหน จะเข้าถึงได้อย่างไร จะสู้กับ ดอกเบียได้หรือไม่ . องค์ประกอบด้านผลิตภัณฑ์ ประกอบด้วย . คุณภาพของผลิตภัณฑ์ ตลาดต้องการอย่างไร . กระบวนการผลิตทีต้องใช้ . นวัตกรรม เทคโนโลยี การลดต้นทุน เป็นอย่างไร . นวัตกรรม เทคโนโลยี การผลิตจะเข้าถึงได้ระดับใด . บรรจุภัณฑ์ . การเก็บรักษา . องค์ประกอบด้านลูกค้า ประกอบด้วย . ค่านิยมเป็นอย่างไร . ช่องทางเข้าถึงลูกค้า . การสร้างความภักดีให้เกิดกับลูกค้า . การส่งเสริมการขาย . องค์ประกอบด้านตนเอง ประกอบด้วย . ความรู้ทักษะการดําเนินงาน ต้องมีอะไรบ้าง . การพัฒนาทีมงาน คนงาน จะต้องทําอะไร อย่างไร . ความน่าเชือถือของเรา . สังคมสิงแวดล้อม กับสถานประกอบการของเรา จากรายละเอียดพอสังเขปดังกล่าวข้างต้น ผู้เรียนจะต้องสืบค้น เรียนรู้ ทําความเข้าใจ อย่างลึกซึง สําหรับตัดสินใจออกแบบระบบทํางานหรือจะค่อย ๆ ศึกษา สร้างความมันใจด้านการจัดทํา แบบจําลองอาชีพแล้วทดลองทําเพือสรุปผล ตัดสินใจกําหนดขนาดธุรกิจ หรือจะยกเลิกเปลียนความคิด
  • 11. 11 การสร้างแบบจําลองอาชีพ แบบจําลองอาชีพ เป็นเหมือนสมมติฐาน เพือการพิสูจน์ของการทําอาชีพ โดยมีขันตอน ดําเนินการดังนี ขันตอนที การศึกษาเบืองต้นเพือสรุปข้อมูล สร้างแบบจําลองอาชีพ โดยเริมต้นวิเคราะห์ฐานข้อมูลอาชีพทีเราจะทําทัง องค์ประกอบ แล้วนําข้อมูลมา กําหนดรูปแบบเบืองต้น เพือการทดลองสรุปข้อมูลสารสนเทศ ดังตัวอย่าง ปลูกมะเดือฝรังอบแห้ง - ขยายพันธุ์ . ให้ผลผลิตลูกสด . มะเดือฝรังสาย เข้าสู่ตลาด - งานผลิตปุ๋ ยหมัก กก./ต้น/ปี พันธุ์ญีปุ่น - งานผลิตจุลินทรีย์ 2. ได้ผลผลิตแห้ง . ขีไก่ทําปุ๋ ยหมัก - งานปลูกบํารุงรักษา . กก./ต้น/ปี . จุลินทรีย์พด. - งานอารักขาต้นพืช . พืนที ไร่สามารถ พด. และ พด. - งานเก็บเกียว ปลูกได้ ต้น . พืนทีดิน ไร่ - งานอบแห้ง - งานบรรจุหีบห่อ ขันตอนที การจัดทําแบบจําลอง หลังจากการศึกษาเบืองต้นผลการทดลองได้ข้อมูลสารสนเทศตามทีกําหนดแล้วนํามาจัดทํา แบบจําลองธุรกิจ การผลิตลูกมะเดือฝรังอบแห้ง (Fix)เข้าสู่ตลาดให้ได้สัปดาห์ละ กก.ดังตัวอย่างนี . รูปแบบการดําเนินงาน ผลิตมะเดือฝรังอบแห้ง 1. ผลผลิตสดได้ กก./ . ขยายพันธุ์โดยวิธีปักชํา . สารเคมีเร่งรากพืช (Fix) เข้าสู่ตลาด ต้น/ปี แปรรูปเป็น . ผลิตปุ๋ ยหมักจากมูลไก่ ตัน/ปี .ถุงและขุยมะพร้าว ปักชํา สัปดาห์ละ กก. ผลแห้งได้ . กก./ต้น/ปี . งานผลิตจุลินทรีย์ , ลิตร/ปี . มูลไก่ ตัน . ต้องปลูกต้นมะเดือฝรัง . งานปลูกบํารุงรักษา ไร่ . จุลินทรีย์ จํานวน , ต้น . งานอารักขาพืช - พด. . ใช้พืนที ไร่ . งานเก็บเกียว - พด. . งานอบแห้ง - พด. . งานบรรจุหีบห่อ . ทีดินพัฒนา คุณภาพแล้ว ไร่ ธุรกิจเป้าหมาย กิจกรรม วิธีการทํางาน สมมติฐาน ปัจจัยนําเข้า เป้าหมาย เกณฑ์ชีวัด ความสําเร็จ กิจกรรมวิธีการทํางาน ปัจจัยดําเนินงาน
  • 12. 12 . เอกสารขันตอนการทํางาน เป็นการนํากิจกรรมวิธีการไปจัดทํารายละเอียดวิธีการ ขันตอนการทํางานเป็นเอกสาร เพือให้คนทํางานได้ใช้ปฏิบัติตาม ปฏิบัติการใช้และสรุปบทเรียน ขันตอนนีเป็นการปฏิบัติการเริมต้นทดลองเต็มรูปแบบการทําธุรกิจจริงด้านการวางแผน ปฏิบัติการ(Plan) ทํางานตามแผนปฏิบัติการ(Do) ติดตามตรวจสอบหาข้อบกพร่อง (Check) ปฏิบัติการ แก้ไขข้อบกพร่อง (Action) เป็นวงจร PDCA โดยในทุกขันตอนต้องมีการจดบันทึกข้อมูลเกียวกับ ปรากฏการณ์ ผลทีเกิดและผลกระทบอย่างเป็นระบบ เพือนํามาสรุปบทเรียนพัฒนาระบบธุรกิจให้มี ประสิทธิภาพอย่างต่อเนืองเข้าสู่ความมันคง สรุป การประกอบธุรกิจทังภาคการผลิต ภาคบริการ เป็นอาชีพอิสระทีผู้ประกอบการต้อง สร้างภูมิคุ้มกันให้กับธุรกิจของตนเอง จะต้องอาศัยข้อมูลสารสนเทศทางอาชีพมากมาย ซึงสามารถจํากัด ขอบเขตลงได้ องค์ประกอบ คือ ( ) ทุน ( ) ผลิตภัณฑ์หรือบริการทีจะทํา ( ) ลูกค้า และ ( ) ตนเอง มา ใช้ตังแต่เริมต้นคิดตัดสินใจ กําหนดแบบจําลองอาชีพให้เหมาะสมกับตนเอง และปฏิบัติการใช้สรุป บทเรียนเป็นองค์ความรู้ทีจะต้องถูกพัฒนาให้สูงสุดเป็นระยะ ๆ ด้วยตนเอง การกระทําดังกล่าวหรือเรือง ของการใช้ข้อมูลสารสนเทศเข้ามาใช้ทํางานทังสินจําเป็นทีผู้เรียนจะต้องพัฒนาทักษะการทํางานบน ฐานข้อมูลไปอย่างต่อเนือง
  • 13. 13 กิจกรรมที 1. ผู้เรียนพิจารณาอาชีพของตนเอง หรืออาชีพทีสนใจว่ามีความจําเป็นต้องฝึกทักษะเพือขยายอาชีพ ด้านใดบ้าง อย่างไร 2. ผู้เรียนสร้างแบบจําลองอาชีพทีตนเองประกอบอยู่ หรืออาชีพตามความสนใจ หรือถอดบทเรียน การจําลองอาชีพจากภูมิปัญญามา อาชีพ โดยมีองค์ประกอบ ขันตอน คือการศึกษาเบืองต้น เพือสรุปข้อมูล สร้างแบบจําลองอาชีพ และการจัดทําแบบจําลอง
  • 14. 14 เอกสารหมายเลข : ใบความรู้ เรือง การต่อยอดภูมิปัญญายกระดับความรู้ให้สูงขึน การถ่ายทอดภูมิปัญญาจากเจ้าขององค์ความรู้ไปสู่บุคคลทีรับการถ่ายทอด ส่วนใหญ่จะ ให้ความสําคัญกับเทคนิค ขันตอน วิธีการของการทํางานหรือการแก้ปัญหา แต่ในความเป็นจริงแล้ว ภูมิปัญญายังมีองค์ประกอบอืน ๆ อีกมากมาย เป็นองค์รวมทีจะนําไปสู่ความสําเร็จ มันคง ยังยืนได้ แต่ผู้รับการถ่ายทอดมักจะมุ่งไปรับเทคนิควิธีการมากกว่า เช่น ภูมิปัญญาแยกอินทรีย์ก็จะให้ความสําคัญ กับวิธีการทําปุ๋ ยหมัก ปุ๋ ยนํา เท่านัน ทัง ๆ ยังมีส่วนประกอบอืน ๆ ทีสําคัญมากมาย ดังนัน การต่อยอด ภูมิปัญญาจึงเป็นเรืองทีจะต้องมีกระบวนการคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ เพือยกระดับความรู้ให้สูงขึน สอดคล้องไปกับยุคสมัย กรอบความคิด การถ่ายทอดภูมิปัญญาน่าจะมีกรอบแนวคิด ดังนี . วิเคราะห์ภูมิปัญญาระบุภารกิจ ระบุความรู้สารสนเทศ ต่อยอดภูมิปัญญา . วิเคราะห์ภารกิจระบุกิจกรรม และข้อมูล ศึกษาทบทวน ปรับแต่งพัฒนาเข้าสู่ยุคสมัย . วิเคราะห์กิจกรรมระบุขันตอนระบบ ทําความเข้าใจให้กระจ่าง . วิเคราะห์ขันตอนระบบ ระบุเทคนิควิธีการ ขันตอนการวิเคราะห์ ภูมิปัญญา ขันตอนศึกษา เจาะลึก ขันตอนพัฒนา
  • 15. 15 . กรอบการคิดวิเคราะห์ ภูมิปัญญาและการศึกษาเจาะลึก กรณีการผลิตผลมะเดือฝรังอบแห้ง ผลิตผลสด การขยายพันธุ์ . การควันกิง 1.1.1 เลือกตําแหน่งใต้ตา . . ใช้มีดควันรอบกิง . . ขูดเยือเจริญออก . ทาฮอร์โมนเร่งราก ชนิดของฮอร์โมน ให้ปิดทับรอยแผล เร่งรากและวิธีใช้ ด้านบน ทีมีจําหน่ายใน ท้องตลาด การปลูกบํารุงรักษา . การห่อวัสดุตอน การอารักขาพืช ผลิตผล การเก็บเกียว อบแห้ง การแปรรูป การบรรจุภัณฑ์ . กรอบการคิดพัฒนาต่อยอดภูมิปัญญาเข้าสู่ยุคสมัย . ภารกิจของภูมิปัญญา . ความเหมาะสมของ . บทบาทหน้าทีของ การบริหารจัดการคุณภาพ ผู้ประกอบการธุรกิจ . การบริหารทรัพยากรดําเนินงาน . การบริหารการผลิต . การควบคุมคุณภาพ . กิจกรรม ขันตอนระบบ . ความเหมาะสมของ . คุณภาพผลผลิต ของภูมิปัญญา ระบบการผลิต . ประสิทธิภาพของกระบวนการผลิต . ความสามารถของปัจจัยนําเข้า . เทคนิควิธีการ . ความเหมาะสมของ 3.1 ความสามารถลดต้นทุนและเวลา เทคนิควิธีการ . มีความถูกต้อง เสียหายน้อย . สิงแวดล้อมปลอดภัย ภารกิจ กิจกรรม ขันตอนระบบของภูมิปัญญา เทคนิควิธีการ สารสนเทศ ความรู้ทีจําเป็น ภูมิปัญญา ทฤษฎีแนวคิดยุคใหม่
  • 16. 16 จากกรอบแนวคิดดังกล่าว ผู้เรียนจะพบว่า การขยายอาชีพหรือพัฒนาอาชีพเข้าสู่ความ มันคงเป็นเรืองของการคิด วิเคราะห์ การใช้สารสนเทศข้อมูล การประยุกต์ใช้ความรู้ เป็นเรืองสําคัญของ การต่อยอดภูมิปัญญามายกระดับความรู้ให้สูงขึน การต่อยอดภูมิปัญญายกระดับความรู้ให้สูงขึน เป็นกระบวนการขันตอนการวิเคราะห์ภูมิปัญญาท้องถิน เพือให้มีความรู้เกิดความ กระจ่างในองค์ความรู้ของภูมิปัญญานําไปสู่การวิเคราะห์ ระบุ ทฤษฎีแนวคิดยุคใหม่ใช้ยกระดับความรู้ ให้สูงขึนดังแผนภูมินี
  • 17. 17 แผนภูมิต่อยอดภูมิปัญญายกระดับความรู้ ภูมิปัญญาผลิตผลมะเดือฝรังอบแห้ง การวิเคราะห์ระบบ เพือระบุทฤษฎีแนวคิด ยุคใหม่ใช้ยกระดับความรู้ให้สูงขึน ภารกิจ ความเหมาะสมของ การบริหารจัดการ . การผลิตผลสด . การผลิตผลแห้ง - บทบาทเจ้าของธุรกิจ - การบริหารทรัพยากร - การบริหารการผลิต - การควบคุมคุณภาพ ข้อมูลสารสนเทศ ยกระดับความรู้ให้สูงขึน . การบริหารจัดการคุณภาพ ISO 90001/2000 กิจกรรมระบบ การดําเนินงาน ความเหมาะสมของระบบ - คุณภาพผลผลิต - ประสิทธิภาพของ กระบวนการ - ความสามารถของ ปัจจัยดําเนินการ ข้อมูลสารสนเทศ ยกระดับความรู้ให้สูงขึน . การกําหนดมาตรฐานผลผลิต . การจัดการระบบISO 3. การควบคุมเชิงกลยุทธ์ . การขยายพันธุ์ . การปลูก . การอารักขาพืช ปัจจัย นําเข้า การควัน กิง กิงพันธุ์ พร้อมปลูก การห่อ วัสดุ ขันตอน วิธีการ ทํางาน . เลือกตําแหน่งใต้ตา . ควันเปลือกใต้ตา 3. ขูดเยือเจริญ . ทาฮอร์โมนเร่งราก . นําถุงขนาด 2” บรรจุขุย มะพร้าวมีความชืนมัดปากถุงให้ แน่น . ผ่าถุงมีความยาวหุ้มรอยแผล ให้มิดชิด 3. มัดตุ้มด้วยเชือกฟางติดกับกิง ให้แน่น . ทาฮอร์โมนเร่งราก ความเหมาะสมของ เทคนิควิธีการ
  • 18. 18 เอกสารหมายเลข : ใบความรู้ เรือง การสร้างความหลากหลายเพือความมันคงในอาชีพ กรอบความคิด รูปแสดงผังความสัมพันธ์ของการสร้างความหลากหลายสู่ความมันคงในอาชีพ การสร้างความหลากหลาย การสร้างความหลากหลายในอาชีพเป็นภูมิปัญญา เพือใช้สร้างภูมิคุ้มกันให้กับการดํารง อาชีพตามหลักทฤษฎีใหม่ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลปัจจุบัน มีพระราชประสงค์ทีจะให้ อาชีพเกษตรกรสู่ความเข้มแข็งมันคงยังยืน ด้วยการให้ปลูกข้าว ปลูกผัก ผลไม้ และเลียงไก่ ไว้กินใน ครอบครัวเหลือขาย เลียงหมูไว้เป็นเงินเก็บ เงินออม ปลูกไม้ใช้งาน ใช้เป็นเชือเพลิง ให้ร่มเงา จัดการ บ้านเรือนให้สะอาด ชีวิตก็จะรํารวยความสุข (จากความจําของผู้เขียน เมือครังเข้าเฝ้าถวายงานโครงการ เกษตรธรรมชาติถาวรนิมิตอันเนืองมาจากพระราชดําริ จังหวัดนครนายก พ.ศ. โดยมีพระมหาถาวร จิตตภาวโรวงศ์มาลัยเป็นผู้อุปถัมภ์) พระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว บ่งชีถึงการสร้างความหลากหลายทาง ชีวภาพ การหมุนเวียนเปลียนรูปบนความหลากหลายได้ผลผลิตพอเพียงกับการกินอยู่ และเหลือขายเป็น รายได้ใช้ดํารงชีวิต ความหลากหลาย ทางชีวภาพและ กิจกรรม การหมุนเวียน เปลียนรูปบน ความหลากหลาย ผลผลิตเพิม มีรายได้ อาชีพ มันคง ยังยืน
  • 19. 19 ตัวอย่าง การหมุนเวียนบนความหลากหลายทางชีวภาพของอาชีพเกษตรกร การหมุนเวียนระหว่างชีวภาพ ประโยชน์จากการหมุนเวียน ผู้ให้ ผู้รับ ชีวภาพ สิงทีได้ ข้าว รําข้าว ฟางข้าว ผัก ไม้ผล ไม้ใช้งาน - รําข้าวใช้เป็นอาหารจุลินทรีย์พัฒนาดิน - ฟางข้างเป็นอินทรียวัตถุใช้ทําปุ๋ ยหมัก รําข้าว ฟางข้าว เป็ด ไก่ หมู ปลา - หมุนเวียนเป็นอาหารสัตว์ ผัก ไม้ผล เศษผักผลไม้ ส่วนกินไม่ได้ ขายไม่ได้ เป็ด ไก่ หมู ปลา - หมุนเวียนเป็นอาหารสัตว์ ไม้ใช้งาน (ไม้ป่าตระกูลถัว) ใบร่วงหล่นลงหน้าดิน ข้าว ผัก ไม้ผล - ใบตกลงดินย่อยสลายเป็นปุ๋ ยอินทรีย์ เป็ด ไก่ หมู อุจจาระ ปัสสาวะ ขน ข้าว ผัก ไม้ผล ไม้ใช้งาน - ใช้ทําปุ๋ ยหมักบํารุงดินให้ธาตุอาหาร แก่พืช จากตัวอย่างการหมุนเวียนดังกล่าวทําให้เกษตรกรสามารถลดต้นทุนลงได้ หากมีการ จัดการวางแผนการทํางานตามสูตรพระราชทาน + + + ประกอบด้วยพืนทีนํา ส่วน ใช้กักเก็บนํา เลียงปลา พืนทีทํานา ส่วน จะมีผลผลิตพอเพียงหมุนเวียนระหว่างชีวภาพ พืนทีปลูกผักผลไม้และไม้ใช้ งาน ส่วน และพืนทีอยู่อาศัย เลียงสัตว์และทางเดินอีก ส่วน โครงสร้างสูตรพระราชทานดังกล่าวจะ สามารถจัดระบบการผลิตทีพึงพาปัจจัยภายนอกได้น้อยทีสุด
  • 20. 20 ตัวอย่าง การเปลียนรูป แปรรูป ยกระดับมูลค่าผลผลิต ชีวภาพ ผลผลิต การแปรรูปยกระดับมูลค่า ข้าว ข้าวเปลือก - ข้าวกล้อง - ข้าวขาว รํา - ธัญพืชเพือสุขภาพ แกลบ - เชีอเพลิงแท่ง ผัก หัวผักกาดขาว - หัวไชโป้วหวาน ผักกาดเขียว - เกียมฉ่าย - ก๊งฉ่าย - ผักกาดดอง พริกชีฟ้า หัวหอม หัวกระเทียม - นําพริกเผา - นําพริกตาแดง - กระเทียมดอง ไม้ผล ผลไม้ - ผลไม้อบแห้ง - ผลไม้กวน - นําส้มสายชูหมัก ไม้โตเร็ว ไม้เชือเพลิง - ถ่าน - นําส้มควันไม้ ไม้ใช้งาน - เครืองเรือน - กระดาน หมู เนือหมู - หมูส้ม - หมูแหนม - หมูกุนเชียง มันหมู - สบู่เหลวอาบนํา - สบู่ล้างชาม - แคบหมู จากตัวอย่าง จะเห็นว่า การแปรรูปทําให้เกิดความหลากหลายทางกิจกรรมมากมายทีจะ ทําให้เกิดการเพิมผลผลิตและผลิตภัณฑ์สามารถใช้อยู่ ใช้กินเหลือขาย เพิมมูลค่าสร้างให้เกิดรายได้สู่ ความมันคงยังยืนได้
  • 21. 21 ปัจจัยแห่งความสําเร็จ ปัจจัยแห่งความสําเร็จของการสร้างความหลากหลายทางชีวภาพและกิจกรรมทีจะ จัดการให้ความหลากหลายต่าง ๆ นันลงตัว คงไม่มีสูตรสําเร็จเป็นเรืองทีผู้เรียนจะต้องเรียนรู้ค้นพบได้ ด้วยตนเองจากวิธีการต่าง ๆ เช่น . การสืบค้นข้อมูลสารสนเทศต่าง ๆ นํามาวิเคราะห์หาความลงตัวแล้วจัดระบบการ ดําเนินงาน . การถอดบทเรียนจากผู้ประสบความสําเร็จนําข้อมูลสารสนเทศทีได้มาจัดระบบให้ เหมาะสมกับตนเอง . การทดลอง เพือตรวจสอบระบบการดําเนินงานทีได้มาจากข้อมูลสารสนเทศว่า เกิดผลตามความรู้เพียงใดจะต้องเพิมเติมพัฒนาอะไร จึงอาจจะสรุปได้ว่า ปัจจัยแห่งความสําเร็จของการใช้ความหลากหลายทางชีวภาพและ กิจกรรมมาสร้างความมันคงยังยืนในอาชีพได้อย่างลงตัว คือ การทํางานบนฐานข้อมูลและใช้ กระบวนการวิจัยมาเป็นเครืองมือของผู้เรียนนันเอง กิจกรรมที ให้ผู้เรียนบอกการหมุนเวียนบนความหลากหลายทางชีวภาพ หรือกิจกรรมในอาชีพของตนเอง หรือสัมภาษณ์ผู้ประกอบอาชีพทีสนใจมา อาชีพ ตามรูปแบบ ดังนี การหมุนเวียนระหว่างชีวภาพหรือกิจกรรม ประโยชน์จากการ หมุนเวียน ผู้ให้ ผู้รับ ชีวภาพ สิงทีได้
  • 22. 22 เรืองที ทักษะการใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพือการขยายอาชีพ ลักษณะบ่งชีความสําเร็จของการเรียนรู้ 1. ประเมินประสิทธิภาพตัดสินใจยอมรับหรือปฏิเสธนวัตกรรมหรือเทคโนโลยีได้ 2. มีความรู้ ความเข้าใจและจําแนกบทบาทหน้าทีของนวัตกรรมหรือเทคโนโลยีได้ 3. ปฏิบัติการใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีได้อย่างคล่องแคล่ว แผนปฏิบัติการเรียนรู้ ลักษณะบ่งชีความสําเร็จ ของการเรียนรู้ กิจกรรม การวัดผล ประเมินผล สือการเรียนรู้ . ประเมินประสิทธิภาพ ตัดสินใจ ยอมรับ หรือ ปฏิเสธนวัตกรรมหรือ เทคโนโลยีได้ เรียนด้วยตนเอง . ผู้เรียนทําความเข้าใจเกียวกับ การประเมินประสิทธิภาพ นวัตกรรมหรือเทคโนโลยีจาก เอกสารใบความรู้ . ปฏิบัติการประเมินนวัตกรรม เทคโนโลยีทีภาครัฐและ เอกชนเสนอให้ใช้ . ความสามารถตอบสนอง วัตถุประสงค์ . ประหยัดค่าใช้จ่าย . ทําให้งานดําเนินไปอย่าง รวดเร็ว เอกสารหมายเลข เรือง การประเมิน ประสิทธิภาพ นวัตกรรมเทคโนโลยี . มีความเข้าใจ สามารถ จําแนกบทบาท หน้าที ของนวัตกรรมหรือ เทคโนโลยีได้ เรียนด้วยตนเอง . ผู้เรียนนํานวัตกรรมหรือ เทคโนโลยีทีตัดสินใจใช้มา วิเคราะห์ ศึกษา บทบาท หน้าที เพือทราบรายละเอียดและ ประยุกต์ใช้ให้ถูกต้องได้ด้วย การศึกษาตัวอย่างการวิเคราะห์ จากเอกสารใบความรู้ . บอกบทบาท . บอกหน้าที เอกสารหมายเลข เรือง การวิเคราะห์เพือ จําแนก บทบาทหน้าทีของ นวัตกรรมเทคโนโลยี . ปฏิบัติการใช้นวัตกรรม และเทคโนโลยีได้อย่าง คล่องแคล่ว เรียนด้วยตนเอง ให้ผู้เรียนศึกษาขันตอนการทํางาน ของนวัตกรรม เทคโนโลยี แล้ว ทําตาม ตรวจสอบหาข้อบกพร่อง ของตนเองในการใช้นวัตกรรม เทคโนโลยี แล้วฝึกการใช้งานจน คล่องแคล่ว . ใช้นวัตกรรม เทคโนโลยี อย่างคล่องแคล่ว -
  • 23. 23 เอกสารหมายเลข : ใบความรู้ เรือง การประเมินประสิทธิภาพนวัตกรรม เทคโนโลยี กรอบความคิด จากแผนภูมิสามารถอธิบายได้ว่า ประสิทธิภาพมีองค์ประกอบร่วมอย่างน้อย องค์ประกอบ คือ ( ) ความถูกต้องเป็นไปตามวัตถุประสงค์ ( ) มีความรวดเร็ว และ ( ) สามารถลด ต้นทุนรายจ่ายได้นอกจากนันในแต่ละองค์ประกอบจะต้องมีความสัมพันธ์ต่อกัน หากนํากรอบแนวคิดนี มาอธิบายกับประสิทธิภาพของนวัตกรรมหรือเทคโนโลยีอาจจะสรุปได้ว่า ประสิทธิภาพของนวัตกรรม เทคโนโลยีการประกอบอาชีพขึนอยู่กับองค์ประกอบ ดังนี 1 ความสามารถทํางานได้ถูกต้องตามวัตถุประสงค์และมีข้อเสียน้อย 2 ประหยัดค่าใช้จ่าย 3 ทํางานได้รวดเร็ว ความถูกต้องได้ ตามวัตถุประสงค์ ประสิทธิภาพ ลดต้นทุน รวดเร็ว
  • 24. 24 ประเมินการทํางานให้ถูกต้องตามวัตถุประสงค์ของเทคโนโลยี การประเมินความสามารถทํางานได้ตามวัตถุประสงค์ของนวัตกรรม เทคโนโลยี ผู้เรียน ต้องคิดลักษณะบ่งชีความสําเร็จ และตัวชีวัดความสําเร็จด้วยตนเอง ดังตัวอย่างนี ตัวอย่าง การประเมินการทํางานให้ถูกต้องตามวัตถุประสงค์ องค์ประกอบการประเมิน ลักษณะบ่งชีความสําเร็จ เกณฑ์ชีวัดความสําเร็จของงาน . การทําได้ตามวัตถุประสงค์ . เนืองานทีนวัตกรรม เทคโนโลยี ทําได้ . ความสามารถขันตําทียอมรับได้ ร้อยละ ของเนืองาน . ความเสียหายของผลงาน . ผลงานทีเสียหายหรือไม่ผ่าน คุณภาพ . ความเสียหายขันสูงสุดทียอมรับ ได้ร้อยละ ของงาน จากตัวอย่างเกณฑ์การประเมิน เพือให้เห็นรูปธรรมจึงขอยกตัวอย่างการกําหนดเกณฑ์การ ประเมินการทํางานได้ถูกต้องของนวัตกรรม เทคโนโลยี ดังนี ตัวอย่าง เกณฑ์การประเมินการทํางานได้ถูกต้องของนวัตกรรมจุลินทรีย์ องค์ประกอบการประเมิน ลักษณะบ่งชีความสําเร็จ เกณฑ์ชีวัดความสําเร็จของงาน . การหมักสังเคราะห์ อินทรียวัตถุให้เป็นปุ๋ ยหมัก หลังจากปรุงส่วนผสมกับจุลินทรีย์ เสร็จแล้ว กระบวนการหมักต้อง ดําเนินการแล้วเสร็จภายใน – วัน โดยกระบวนการของจุลินทรีย์ กระบวนการหมักต้องแล้วเสร็จ ภายใน – วัน โดยกระบวนการ จุลินทรีย์ % . ความเสียหายของปุ๋ ยหมัก อินทรียวัตถุควรจะได้รับการย่อย สลายให้มากทีสุด จะมีอินทรียวัตถุทียังไม่ย่อยสลาย ได้ไม่เกินร้อยละ ตัวอย่าง การประเมินเทียบเคียงการทํางานได้ตามจุดประสงค์ของจุลินทรีย์ สํานัก องค์ประกอบการประเมิน เทคนิคการใช้ พด. + พด. จุลินทรีย์เอกชน กระบวนการหมักต้อง ดําเนินการแล้วเสร็จภายใน – วัน โดยกระบวนการ ของจุลินทรีย์ กระบวนการหมักความร้อน °C - °C และเย็นลงทังหมด ภายใน – วัน เป็นกระบวนการ ทํางานของจุลินทรีย์ % กระบวนการหมักความร้อนสูงมาก ต้องใช้แรงงานคนเข้าไปกลับกอง ปุ๋ ยทุก ๆ ชัวโมง เพือรักษา อุณหภูมิต้อง °C - °C อินทรียวัตถุควรจะได้รับ การย่อยสลายให้มากทีสุด มีอินทรียวัตถุทีราเดินมากกว่า ร้อยละ มีอินทรียวัตถุทีราเดินได้เพียงร้อย ละ จากตาราง บ่งชีให้เห็นว่า จุลินทรีย์ พด. + พด. สามารถทํางานได้ถูกต้องตาม วัตถุประสงค์มากกว่าชนิดอืน
  • 25. 25 ประเมินความประหยัดค่าใช้จ่าย เป็นการประเมินเทียบเคียงระหว่างนวัตกรรมเทคโนโลยีอันใหม่ทีจะนําเข้ามาใช้ เทียบเคียงกับนวัตกรรม เทคโนโลยีเก่า โดยมีตัวแปรการประเมินประกอบการ 1 ราคานวัตกรรม เทคโนโลยีต้องจ่ายเท่าไร 2 ค่าใช้จ่ายระหว่างการใช้เท่าไร 3 ลดรายจ่ายจากเดิมเท่าไร ตัวอย่าง การประเมินเทียบเคียงค่าใช้จ่ายนวัตกรรม เทคโนโลยี เป้าหมาย : พรวนดินให้ละเอียดบนพืนที ไร่ ให้แล้วเสร็จไม่เกิน ชัวโมง ( วัน) ใช้แรงงาน คน ขุด พรวน ด้วยจอบ ใช้เครืองจอบหมุนแบบเดินตามเครืองยนต์ แรงม้า . ราคานวัตกรรมเทคโนโลยี - ต้องใช้คน คน ค่าแรงงาน คน/ บาท/วัน ต้องจ่าย ค่าแรงงาน , บาท . ราคานวัตกรรมเทคโนโลยี - รถพรวนแบบเดินตามราคาคันละ , บาท ทํางานได้ , ชัวโมง คิดค่าใช้จ่ายชัวโมงละ บาท - พืนทีขนาด ไร่ ใช้เวลาทํางาน ชัวโมง ต้องเสียค่าใช้จ่าย บาท . ค่าใช้จ่ายระหว่างการใช้งาน - เครืองดืมชูกําลัง 15 ขวด บาท - นําเย็น บาท รวม บาท . ค่าใช้จ่ายระหว่างใช้งาน - ค่านํามันเชือเพลิง ชัวโมง ขนาด ลิตร เป็นเงิน บาท - ค่าใบมีดพรวนเสียหาย ประมาณ บาท - ค่าแรงคนงาน คน บาท รวม บาท รวมรายจ่ายทังหมด , บาท รวมรายจ่ายทังหมดเป็นเงิน บาท 4. ลดรายจ่ายจากเดิม ค่าใช้จ่ายโดยแรงงานคน , บาท ค่าใช้จ่ายโดยเครืองจอบหมุนแบบเดินตาม บาท จึงสามารถลดรายจ่ายได้ , บาท
  • 26. 26 ประเมินความรวดเร็ว เป็นการประเมินเทียบเคียงหรือเปรียบเทียบระหว่างการใช้เวลาทํางานจากนวัตกรรม เทคโนโลยีทีจะนําเข้ากับนวัตกรรม เทคโนโลยีทีใช้อยู่เดิม ดังตัวอย่างการพรวนดินการใช้แรงงานคนกับ เครืองจักรกลขนาดเล็ก พบว่า เครืองจักรกลขนาดเล็กพรวนดิน ใช้เวลาเพียง ชัวโมง แต่แรงงานคน จะต้องใช้เวลาถึง ชัวโมง ต้องพบกับความยุ่งยากในการจัดการคนให้ทํางานไปตามเป้าหมาย สรุป การตัดสินใจนํานวัตกรรม เทคโนโลยีเข้ามาใช้ประกอบอาชีพ จําเป็นต้องประเมินให้ มองเห็นเหตุผลการนําเข้ามา ความคุ้มค่า และศักยภาพในการเป็นภูมิคุ้มกันให้อาชีพมันคงยังยืน จึงต้องมี การประเมินด้วยองค์ประกอบทัง ด้านและตัวแปรร่วมต่าง ๆ จึงมีความจําเป็นทีจะต้องแสวงหาความรู้ ข้อมูลให้มากพอทีจะใช้ประเมินตัดสินใจ ดังนัน การประเมินประสิทธิภาพนวัตกรรม เทคโนโลยีจึงเป็น ส่วนหนึงของการทํางานบนฐานความรู้
  • 27. 27 เอกสารหมายเลข : ใบความรู้ เรือง การวิเคราะห์เพือจําแนกบทบาทหน้าทีของนวัตกรรมเทคโนโลยี การเข้าสู่อาชีพเมือดําเนินธุรกิจไปจนประสบผลสําเร็จ มักจะถูกจับตามอง ทําตามกัน มาก ส่วนแบ่งการตลาดจึงมีขนาดเล็กลงโดยลําดับ จนถึงวันหนึงจะเกิดวิกฤติ จึงมีความจําเป็นทีจะต้อง พัฒนาหรือขยายขอบข่ายอาชีพออกไปหรือเรียนรู้ทําในสิงทีคนอืนทําไม่ได้ เพือให้อยู่ได้อย่างมันคง ยังยืน การพัฒนาหรือขยายอาชีพจะต้องใช้นวัตกรรม เทคโนโลยีเข้ามาช่วย ปัญหาดังกล่าวสามารถแสดงให้เห็นขันตอนของพัฒนาการได้ดังนี ถ้าไม่มีการพัฒนาธุรกิจจะเป็น ขาลง จําเป็นต้องขยายขอบข่าย จึงมีความต้องการใช้นวัตกรรม เทคโนโลยีเข้ามาใช้งาน 3 ธุรกิจในอนาคตจะมีผู้คนเข้ามาเรียนรู้ทําตาม ทําให้เกิดวิกฤติส่วนแบ่งตลาด ธุรกิจอยู่ในช่วงพัฒนาขยายตัว จะมีคนจับตามองพร้อมทําตาม 1 ธุรกิจระยะฟักตัวของ การเข้าสู่อาชีพ แผนภูมิแสดงวงจรชีวิตของอาชีพ ปัญหาทีต้องการคําตอบของผู้ประกอบธุรกิจ ปัญหาการเลือกนวัตกรรม เทคโนโลยีของผู้ประกอบอาชีพ การตัดสินใจเลือก นวัตกรรม เทคโนโลยีได้ตรงกับปัญหาความต้องการในธุรกิจให้มากทีสุด ตรงนีเป็นจุดกําเนิดภูมิปัญญา แต่เรายังอยู่ในสภาวะทีทําเองไม่ได้อาศัยการนําเข้าด้วยตัวเราเอง เพือให้ได้นวัตกรรม เทคโนโลยีที เหมาะสมลงตัวกับงานอาชีพของเรามากทีสุด
  • 28. 28 กรอบแนวคิด กรอบแนวคิดการจัดการให้ได้นวัตกรรมเทคโนโลยีทีเหมาะสมลงตัวกับธุรกิจมากทีสุด มีกรอบแนวคิดการดําเนินการดังนี . กําหนดความต้องการ ระบุสิงทีจะต้องทําต้อง 2 แสวงหาความรู้ ประเมินความสามารถ ตัดสินใจ ใช้นวัตกรรม เทคโนโลยี ความเข้าใจ เพือระบุ ในการทํางานได้แท้จริง นําเข้ามาใช้ เข้ามาทํางาน นวัตกรรม เทคโนโลยี ของนวัตกรรมให้ งานให้เหมาะสม กระจ่างด้วยตนเอง วิธีการกําหนดความต้องการ . ระบุสิงทีจะต้องทําและจําเป็นจะต้องใช้นวัตกรรม เทคโนโลยีเข้ามาใช้ เพือลดต้นทุน ลด ระยะเวลา การทํางานและสร้างงานให้มีของเสียหายเกิดขึนน้อยทีสุด ตัวอย่าง สิงทีจะต้องทํา และจําเป็นต้องใช้นวัตกรรม เทคโนโลยี ( ) การพรวนดินให้ละเอียดและผสมปุ๋ ยหมักคลุกเคล้าลงดินให้กระจายสมําเสมอต้องใช้ แรงงานคนจํานวนมาก ค่าใช้จ่ายสูง งานหนัก คนงานสู้ไม่ไหว ทิงงานลาออก จําเป็นต้องใช้เทคโนโลยี การพัฒนาดิน ( ) ช่วงฤดูหนาวเบญจมาศไม่ออกดอก ถ้าสามารถทําให้ออกดอกได้จะทําให้การป้ อนสินค้าเข้า ตลาดไม่ขาดช่วง จําเป็นต้องใช้เทคโนโลยีการบังคับพืชให้ออกดอกนอกฤดูกาล . บอกบทบาทหน้าทีทีจะต้องนํานวัตกรรม เทคโนโลยีเข้ามาใช้ ตัวอย่าง ( ) ทําให้แสงของวันในช่วงเดือนธันวาคม–กุมภาพันธ์มีความยาวขึนเพือกระตุ้นตาดอกเบญจมาศ ( ) เกษตรอินทรีย์พืชขาดไนโตรเจน แต่ข้อกําหนดห้ามใช้ปุ๋ ยเคมี จําเป็นต้องใช้ไนโตรเจนจาก ธรรมชาติ แสวงหาความรู้ ความเข้าใจเพือระบุ นวัตกรรม เทคโนโลยีทีเหมาะสม ด้วยการนําผลการวิเคราะห์ ( ) ระบุสิงทีต้องทําและ ( ) บทบาทหน้าทีทีจะต้องนํา นวัตกรรมเทคโนโลยีเข้ามาใช้ไปสืบค้นข้อมูลสารสนเทศและศึกษาสังเกตจากผู้รู้ภูมิปัญญาต่าง ๆ ต้องสรุป ด้วยตนเองว่าควรจะใช้เทคโนโลยีอะไรและจําแนกบทบาทหน้าทีให้ชัดเจนดังตัวอย่าง ตัวอย่างที เทคโนโลยีการหมักดอง เทคโนโลยี บทบาท หน้าที ลูกแป้งข้าวหมาก ย่อยแป้ง สร้างนําตาล ลูกแป้งเหล้า ย่อยนําตาล สร้างแอลกอฮอล์ แลคโตบาซิลลัสในเครืองดืม ยาคูลท์ ย่อยโปรตีน ย่อยถัวเหลืองให้เป็นกรดยูริค ย่อยปลาให้เป็นนําปลา
  • 29. 29 ตัวอย่างที เทคโนโลยีบังคับพืชออกผลนอกฤดูกาล เทคโนโลยี บทบาท หน้าที แสงหลอดฟลูออเรสเซนท์ สร้างแสงให้วันยาวขึน กระตุ้นให้พืชต้องการวันแสงยาว ออกดอก นําหมักพืชผักผลไม้ เร่งใบพืชให้สะสมอาหารแก่ตัว อย่างรวดเร็ว กระตุ้นผักกินดอกให้ออกดอก สมําเสมอทังแปลง ฮอร์โมนเร่งการออกดอก เร่งใบไม้ผลให้แก่เร็วขึน กระตุ้นไม้ผล (มะม่วง) ออกดอก นอกฤดูกาล การงดนําต้นไม้ ทําให้ต้นโทรม ใบร่วง กระตุ้นให้ต้นส้มทิงใบออกจาก ดอกพร้อมกัน ตัวอย่างที เทคโนโลยีพัฒนาดินด้วยแทรกเตอร์ เทคโนโลยี บทบาท หน้าที ผานกระทะ ไถบุกเบิก พลิกหน้าดินจากล่างขึนบน ผานหัวสิว ไถแหวกดินระดับลึก สลายดินดานให้แตกนําซึมลึกลง ในดินได้ โรตารี ตีสับดิน สับดินให้ละเอียด เพือการปลูก ผักและนาข้าว ประเมินความเหมาะสมและตัดสินใจ เมือได้ศึกษาบทบาทหน้าทีของนวัตกรรม เทคโนโลยีแล้ว ต่อไปเป็นขันตอนการประเมินความ เหมาะสมด้วยการเทียบเคียงกับเทคโนโลยีทีเคยใช้ว่าจะทําให้ดีขึนแตกต่างจากเดิมได้มากหรือปานกลาง ดังตัวอย่าง ตัวอย่างที มะม่วงนําดอกไม้ถ้าเกษตรกรให้นําให้อาหารพืชอย่างต่อเนืองอย่างสมบูรณ์ มะม่วง นําดอกไม้จะออกลูกต่อเนืองให้ลูกต่อเนืองให้ลูกรุ่นพีรุ่นน้องในปริมาณพอเหมาะนําเข้าสู่ตลาดได้เป็นระยะ ๆ อย่างต่อเนืองกับการทีเราต้องลงทุนให้สารเคมีบังคับให้ออกดอกติดผลพร้อมกันนอกฤดูกาลเหมาะสมกับ ลักษณะตลาดทีเรามีอยู่หรือไม่ ตัวอย่างที หมักนําปลา เดิมเพียงเติมเกลือกับปลาในอัตราส่วนทีเหมาะสม หมักทิงข้ามปีก็จะได้ นําปลา แต่ถ้าเราใช้เทคโนโลยีจุลินทรีย์แลคโตบาซิลลัสทีต้องบดปลาให้ละเอียดผสมแลคโตบาซิลลัส เพิมเข้ามาจะใช้เวลาหกเดือนได้นําปลา แบบใดจะเหมาะสมกว่ากัน เพราะถ้าใช้เทคโนโลยีแลคโต บาซิลลัสจะต้องเพิมค่าใช้จ่ายบดปลาและค่าจุลินทรีย์
  • 30. 30 สรุป การตัดสินใจนํานวัตกรรม เทคโนโลยีเข้ามาใช้โดยไม่ผ่านการวิเคราะห์เพือศึกษา บทบาทหน้าทีและความเหมาะสมมีโอกาสทีจะเสียงต่อความเสียหายสินเปลืองได้ หากเราหันมาให้ ความสําคัญเกียวกับข้อมูลสารสนเทศของนวัตกรรม เทคโนโลยี เรียนรู้ทําความกระจ่างก็จะลดอัตราการ เสียงได้ดี กิจกรรมที 1. ผู้เรียนปฏิบัติการประเมินนวัตกรรม เทคโนโลยีทีภาครัฐและเอกชนเสนอให้ใช้ 2. ผู้เรียนนํานวัตกรรมหรือเทคโนโลยีทีตัดสินใจใช้มาวิเคราะห์ ศึกษา บทบาท หน้าที เพือ ทราบรายละเอียดและประยุกต์ใช้ให้ถูกต้องได้ด้วยการศึกษาตัวอย่าง 3. ผู้เรียนศึกษาขันตอนการทํางานของนวัตกรรม เทคโนโลยี แล้วทําตาม ตรวจสอบหา ข้อบกพร่องของตนเองในการใช้นวัตกรรม เทคโนโลยี แล้วฝึกการใช้งานจนคล่องแคล่ว 4. ผู้เรียนวางแผนการฝึกทักษะทีจําเป็นต่อการขยายอาชีพโดยรวมแหล่งฝึกความรู้ทีต้องการฝึก วิธีการฝึก และผลการฝึก
  • 31. 31 บทที ตรวจสอบระบบความพร้อมการสร้างอาชีพให้มีความมันคง ผลการเรียนรู้ทีคาดหวัง สามารถตรวจสอบระบบความพร้อมในการขยายอาชีพให้มีความมันคง ขอบข่ายเนือหา เรือง การตรวจสอบระบบความพร้อมการสร้างอาชีพให้มันคง สือประกอบการเรียนรู้ 1. เอกสารหมายเลข ใบความรู้ เรือง ความหมายและลักษณะองค์ประกอบในขอบข่ายอาชีพ 2. เอกสารหมายเลข 7 ใบความรู้ เรือง การวิเคราะห์ชุมชน 3. เอกสารหมายเลข ใบความรู้ เรือง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 4. เอกสารหมายเลข ใบความรู้ เรือง การวิเคราะห์ ตรวจสอบระบบความพร้อมในการสร้าง อาชีพ
  • 32. 32 เรืองที การตรวจสอบระบบความพร้อมการสร้างอาชีพให้มันคง ลักษณะบ่งชีความสําเร็จของการเรียนรู้ 1. เข้าใจขอบข่ายระบบธุรกิจ 2. เข้าใจขอบข่ายระบบเศรษฐกิจพอเพียง 3. เข้าใจการวิเคราะห์ตรวจสอบปฏิสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบในขอบข่ายระบบ ธุรกิจกับเศรษฐกิจพอเพียงเพือประเมินระบุความพร้อมการสร้างอาชีพให้มันคง แผนปฏิบัติการเรียนรู้ ลักษณะบ่งชีความสําเร็จ ของการเรียนรู้ กิจกรรม การวัดผลและ ประเมินผล สือการเรียน . เข้าใจขอบข่ายระบบ ธุรกิจ เรียนรู้ด้วยตนเอง ให้ผู้เรียนศึกษาความหมายและ ลักษณะองค์ประกอบร่วมใน ขอบข่ายระบบอาชีพจาก ใบความรู้ การระบุองค์ประกอบ ร่วมในขอบข่ายระบบ ธุรกิจ เอกสารหมายเลข ใบความรู้ เรือง ความหมายและ ลักษณะของ องค์ประกอบใน ขอบข่ายอาชีพ 2. เข้าใจขอบข่ายระบบ เศรษฐกิจพอเพียง เรียนรู้ด้วยตนเอง ให้ผู้เรียนศึกษาความหมายและ ลักษณะองค์ประกอบการคิดใน ระบบเศรษฐกิจพอเพียงจาก ใบความรู้ การระบุองค์ประกอบ การคิดในระบอบ เศรษฐกิจพอเพียง เอกสารหมายเลข ใบความรู้ เรือง ปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง 3. เข้าใจวิเคราะห์ ตรวจสอบปฏิสัมพันธ์ ระหว่างองค์ประกอบ ในขอบข่ายระบบ เศรษฐกิจพอเพียง เพือ ประเมินระบุความ พร้อมการสร้างอาชีพ ให้มันคง เรียนรู้ด้วยตนเอง . ให้ผู้เรียนศึกษา วิเคราะห์การ ประกอบอาชีพ โดยยึดหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ความคิดรวบยอดของ ปฏิสัมพันธ์ระหว่าง องค์ประกอบในอาชีพ กับเศรษฐกิจพอเพียง เอกสารหมายเลข ใบความรู้ เรือง การ วิเคราะห์ ตรวจสอบ ระบบความพร้อมใน การสร้างอาชีพ . ผู้เรียนทําบันทึกความพร้อมใน การสร้างอาชีพตามความคิดรวบ ยอดของปฏิสัมพันธ์ ระหว่าง เศรษฐกิจพอเพียงกับ องค์ประกอบการทําอาชีพ การระบุปฏิสัมพันธ์บอก ข้อบกพร่องทีต้องพัฒนา ให้เกิดความพร้อม
  • 33. 33 เอกสารหมายเลข : ใบความรู้ เรือง ความหมายและลักษณะองค์ประกอบในขอบข่ายอาชีพ องค์ประกอบในระบบอาชีพ แผนภูมิแสดงความสัมพันธ์องค์ประกอบภายในระบบอาชีพ จากแผนภูมิความสัมพันธ์องค์ประกอบภายในระบบอาชีพ มีองค์ประกอบทีสําคัญและส่งผล กระทบความมันคงของอาชีพ องค์ประกอบด้วยกันคือ ( ) ทุน ( ) ผลผลิต ( ) ลูกค้า และ ( ) การ เรียนรู้พัฒนาตนเองของสถานประกอบการ ทุน ในการประกอบอาชีพ การจัดการทุนเป็นเรืองสําคัญ เพราะทุนจะต้องผันแปรสําคัญต่อความ มันคงของอาชีพ ทุนมีหลายประเภททีผู้ประกอบอาชีพจะนําเข้ามาบูรณาการใช้ลงทุนประกอบการ เช่น . เงินทุน ได้มาจากการออม จากการสะสมทุน จากการกู้ยืมสถาบันการเงิน . ทุนทีดิน เป็นทีตังสถานประกอบการ เป็นฐานการผลิตทีจะต้องมีการจัดการให้การใช้ทีดิน เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ . ทุนทางสิงแวดล้อม เช่น การเกษตรอินทรีย์ตังบนพืนทีป่าเขาโดยรอบ ทําให้ได้ความชืนและ ปุ๋ ยธรรมชาติมาตามลม และไหลมากับนําฝน ทําให้ลดต้นทุนเกียวกับปุ๋ ยหมักและจุลินทรีย์ลงได้ ทุน การพัฒนา ตนเอง ผลผลิต ลูกค้า อาชีพมันคง