SlideShare a Scribd company logo
Methodคืออะไร
method ก็คือระเบียบวิธีในการทางาน ซึ่ง
เป็นกลุ่มการทางานของข้อมูล เป็นส่วนย่อย
ภายในโปรแกรม เพื่อให้ง่ายต่อการจัดการกลุ่ม
ข้อมูล method มีทั้งที่สร้างขึ้นเอง และมี
ให้บริการจาก java รอเพียงการถูกเรียกใช้เท่านั้น
1.โครงสร้างทั่วไปของ Method
จากโครงสร้างจะเห็นว่าโปรแกรมหนึ่งอาจมีหลาย
Class และในหนึ่ง Class จะมีกี่ Method ก็ได้แต่ใน Class หลัก
(Class ที่มี public นาหน้า) จะต้องมี main Method เสมอ
รูปแบบ
Modifier Return_Type Method Name (parameter_list)
{
ชุดคาสั่งหรือสเตตเมนต์ต่างๆ
return (ตัวแปร หรือข้อมูล);
}
-Method modifiers เป็นส่วนที่บอกว่าเมธอดนี้สามารถ
เรียกใช้ได้ในระดับใด จะประกอบด้วยpublic stati
-Return_ Type ส่วนนี้จะบอกว่าเมื่อเมธอดนี้ถูกเรียกใช้
และจะมีการสงค่ากลับมาหรือไม่ ถ้ามีจะส่งกลับเป็นข้อมูล
ประเภทใด ถ้าไม่มีส่งค่ากลับจะใช้คาว่าvoid
-MethodName เป็นชื่อของเมธอดparameter เป็นตัวแปรที่
ใช้ส่งข้อมูลเข้าไปในเมธอดถ้ามีหลายตัวแปรจะใช้เครื่องหมาย (;)
คั่นระหว่างตัวแปร
-return เป็นส่วนที่ใช้ส่งค้ากลับให้กับชื่อเมธอด
ประเภทของ Method
Java แบ่ง Method ออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่
1. Method ที่สร้างขึ้นเอง โดยผู้เขียนจะเขียนMethod
ต่างๆ ใช้เองตามต้องการ Method ที่สร้างขึ้นมาเองนี้ อาจเป็น
Method ที่อยู่ใน Class เดียวกัน หรือต่าง Class กันก็ได้
2. Method ชนิดนีมีอยู่แล้วใน class library พร้อมถูก
เรียกใช้งาน แต่จะแยกเป็นMethod ของ Class และ Method
ของ Object
การเรียกใช้ Method (Call Method)
เนื่องจากการสร้าง method นั้นจะต้องสร้างไว้ภายนอก
body ของ method main() ซึ่งเป็น method หลักในการเริ่ม
ทางานของโปรแกรม ดังนั้นการเรียกใช้method ที่สร้างขึ้น
จะต้องถูกเรียกภายใน method main() โดยใช้syntax ดังนี้
1. ในกรณีที่เป็น static method หรือ เมธอดที่ไม่จาเป็นต้อง
สร้างวัตถุมาเรียกใช้จะมีรูปแบบการเรียกใช้เมธอดดังนี้
ชื่อ Method();
ตัวอย่างเช่น
public class maxmin {
public static void ann(int a)
{ System.out.println(a); } //end method ann()
public static void main( String args[] ) {
ann(10); // call method ann()
} //end main()
} //end class
2. ในกรณีที่ไม่เป็น static method หรือ เมธอดที่จาเป็นต้องสร้าง
วัตถุมาเรียกใช้ จะมีรูปแบบการเรียกใช้เมธอดดังนี้
ชื่อวัตถุ.Method();
ดังนั้นการเรียกใช้งานเมธอดประเภทนี้จาเป็นต้องสร้างวัตถุขึ้นมา
ก่อนจึงจะเรียกใช้งานได้ ตัวอย่างเช่น
public class maxmin {
public void ann(int a)
{ System.out.println(a); } //end method ann()
public static void main( String args[] ) {
maxmin a=new maxmin();
a.ann(10); // call method ann()
} //end main()
} //end class
2.แนะนาคลาส Math และเมธอดทางคณิตศาสตร์
การใช้งาน method ที่อยู่ภายใน Math class จะเป็น Method ที่
เกี่ยวข้องกับการคานวณทางคณิตศาสตร์ ซึ่ง method เหล่านี้จัดอยู่ใน
ประเภท “Method ของ Class (Class Method)” จะเป็น method แบบ
Static สามารถเรียกใช้ได้ทันทีโดยไม่จาเป็นต้องสร้าง Object ใหม่
ขึ้นมา ดังตัวอย่าง System.out.println(“ “);
เมื่อ System คือ ชื่อ class จาก Library
Out คือ ชื่อ Object ของ class
println() หรือ print คือ ชื่อ Method
ตัวอย่างของ method ใน Math Class ดังภาพด้านล่างนี้
3.การส่งค่าอาร์กิวเมนต์ของเมธอด
มีรูปแบบของการเขียนดังนี้
ชื่อเมธอด(dataType Parameter, dataType Parameter, …) เช่น add(int a, int b)
class add2Num {
public void add(int a,int b)
{ System.out.println(a+b); } //end method
ann()
public static void main( String args[] ) {
add2Num a=new add2Num();
a.add(10,1); // call method ann()
} //end main()
} //end class
ในการเขียนโปรแกรมสิ่งที่จาเป็นต้องพิจารณาคือ Parameter และ
Argument โดยที่ ค่าที่ class หรือวัตถุนั้นเก็บเพื่อส่งต่อให้กับ Method นั้นคือ
Argument สิ่งที่ Method นั้นเก็บจะเรียกว่า Parameterซึ่งการใช้งานแบบนี้จะ
เรียกว่า Pass by value จากโปรแกรมที่ผ่านมาจะเห็นได้ว่า Argument คือ 10
และ 1 ส่วน Parameter คือ a และ b
4.เมธอดที่มีการส่งค่ากลับ
เป็น method ที่ไม่มีตัวแปร parameter แต่เมื่อสิ้นสุดการทางาน
ของ method จะทาการ return กลับไปยัง method เมื่อถูกเรียกใช้งาน ข้างหน้า
ชื่อเมธอดจะไม่มีคาว่า void แต่มีชนิดของ dataType ที่ต้องการคืนค่ากลับ และ
ภายในเมธอดจะมีคาว่า return
ตัวอย่างโปรแกรม : การ return ค่าตัวแปรเพื่อแสดงผลสูตรคูณแม่ 2-3
Source Code:
1 //Msend.java
2 public class Msend
3 {
4 public static void main(String[] args)
5 {
6 System.out.println(“Display Multiply”);
7 System.out.println(” “+multiply());
8 }//end main()
9
10 public static String multiply()
11 {
12 int b=0;
13 String output= ” “;
14 for (int i=2;i<=3 ;i++ )
15 {
16 for(int j=1;j<=12;j++)
17 {
18 b = i*j;
19 output += b+ ” “;
20 }//end inside for
21 output += ” n “;
22 }//end outside for
23
24 return output;
25 } //end method
multiply()
26
27 }//end class
การส่งค่ากลับแบบบูลีน
เมธอดอีกชนิดหนึ่งที่พบมากในการเขียน
โปรแกรมคือ เมธอดที่มีการส่งค่ากลับแบบบูลีน โดย
ค่าที่ส่งกลับมาจะมีสองค่าเท่านั้น คือ จริง (true) กับเท็จ
(false) ซึ่งจะได้คาว่า Boolean ที่ส่วนหัว เมธอดลักษณะนี้
มักใช้ในการตรวจสอบเงื่อนไขต่างๆ โดยส่งข้อมูลที่
ต้องการตรวจสอบเป็นอาร์กิวเมนต์เข้าไป
ตัวอย่างเช่น: ถ้าหากต้องการตรวจสอบว่าตัวเลขที่กาลังสนใจ
อยู่ เป็นตัวเลขในช่วง 1 ถึง 100 หรือไม่จะเขียนเมธอดดั้งนี้
5.ตัวแปรแบบ Local
ตัวแปรที่ประกาศใช้ในเมธอดเรียกว่าตัวแปรแบบท้องถิ่น หรือตัวแปร
แบบโลคอล (local variable) โดยจะใช้ได้เฉพาะสเตตเมนต์ในเมธอดเท่านั้น สเตต
เมนต์ต่างๆที่อยู่นอกเมธอดที่ประกาศตัวแปรนี้จะไม่สามารถเรียกใช้ตัวแปรนี้ได้
การประการตัวแปรแบบโลคอลนี้ จะทาให้เมธอดหลายๆเมธอดใช้ชื่อตัวแปร
เดียวกันได้
แม้ตัวแปรในเมธอดที่สร้างขึ้นจะมีชื่อเดียวกัน โดยแต่ละเมธอดมีการ
กาหนดค่าให้กับตัวแปรเป็นค่าที่ไม่เท่ากัน ถ้าสังเกตจากผลลัพธ์จะพบว่าตัวแปร
ทั้งสองไม่เกี่ยวข้องกัน การประกาศตัวแปรแบบโลคอลนี้ เมื่อเมธอดถูกเรียกใช้มัน
จะสร้างหน่วยความจาขึ้นมาสาหรับเก็บตัวแปรนั้น แต่เมื่อเมธอดทางานเสร็จสิ้น
ลงหน่วยความจาสาหรับตัวแปรนั้นจะถูกยกเลิกไป
6.โอเวอร์โหลดเมธอด (Overloading Method)
Method ประเภทนี้สามารถรับค่าตัวแปร
parameter ได้หลากหลายชนิด หลักการคือ ต้องสร้าง
Method ขึ้นมาใหม่และใช้ชื่อ Method เดียวกัน ถ้าชนิด
ข้อมูลของ Method ต่างกันและชนิดข้อมูลของ
parameter ต่างกัน ก็ต้องสร้างชื่อ method นั้นขึ้นมาใหม่มี
ประโยชน์ คือ ง่ายต่อการจาชื่อ Method มีข้อเสียคือ ยุ่งยาก
ในเรื่องของค่า Parameter
ที่มา :
-H.M.Deital Deitel &Associates,Inc., P.J.Deitel Deitel&Associates,Inc, "
Java How
to Program 4th", Prentice Hall,USA,2002
- http://www.netbeans.org/kb/50/index.html
-http://java.sun.com/docs/books/tutorial/uiswing/index.html
-http://java.sun.com/docs/books/tutorial/uiswing/components/
components.html
- http://java.sun.com/j2se/1.5.0/docs/api/javax/swing/JComponent.html
- http://java.sun.com/docs/books/tutorial/uiswing/TOC.html
Help, Netbeans 5.0, 2006
สมาชิก
นายชัยวัฒน์ พลอยงาม เลขที่ 2
นายปิยเชษฐ์ มีความเจริญ เลขที่ 4
นายสิรภพ สัมมาคุณ เลขที่ 5
นางสาวจุติมา ประชาฉาย เลขที่ 22
นางสาวกัญณิฌา พรจิดาศิล เลขที่ 25
นางสาวภิญาดา เพ็ชรชาลี เลขที่ 27
นางสาวศิริพร สาราญวงษ์ เลขที่ 28
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1

More Related Content

Viewers also liked

เมธอด
เมธอดเมธอด
เมธอด
Sutthathip Jane
 
Computer Programming 4
Computer Programming 4Computer Programming 4
Computer Programming 4
Saranyu Srisrontong
 
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้นคลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้นPp'dan Phuengkun
 
Java Programming: โครงสร้างควบคุม
Java Programming: โครงสร้างควบคุมJava Programming: โครงสร้างควบคุม
Java Programming: โครงสร้างควบคุม
Thanachart Numnonda
 
Java Programming [4/12] : Object Oriented Concept
Java Programming [4/12] : Object Oriented ConceptJava Programming [4/12] : Object Oriented Concept
Java Programming [4/12] : Object Oriented Concept
IMC Institute
 
พื้นฐานโปรแกรมภาษาจาวา
พื้นฐานโปรแกรมภาษาจาวาพื้นฐานโปรแกรมภาษาจาวา
พื้นฐานโปรแกรมภาษาจาวา
Thanachart Numnonda
 
Java Programming: การเขียนโปรแกรมภาษาจาวาเชิงอ็อบเจกต์
Java Programming: การเขียนโปรแกรมภาษาจาวาเชิงอ็อบเจกต์Java Programming: การเขียนโปรแกรมภาษาจาวาเชิงอ็อบเจกต์
Java Programming: การเขียนโปรแกรมภาษาจาวาเชิงอ็อบเจกต์
Thanachart Numnonda
 
โครงสร้างการเขียนโปรแกรมภาษาไพธอน
โครงสร้างการเขียนโปรแกรมภาษาไพธอนโครงสร้างการเขียนโปรแกรมภาษาไพธอน
โครงสร้างการเขียนโปรแกรมภาษาไพธอน
srinagarindra the princess mother school kanchanaburi
 

Viewers also liked (8)

เมธอด
เมธอดเมธอด
เมธอด
 
Computer Programming 4
Computer Programming 4Computer Programming 4
Computer Programming 4
 
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้นคลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
 
Java Programming: โครงสร้างควบคุม
Java Programming: โครงสร้างควบคุมJava Programming: โครงสร้างควบคุม
Java Programming: โครงสร้างควบคุม
 
Java Programming [4/12] : Object Oriented Concept
Java Programming [4/12] : Object Oriented ConceptJava Programming [4/12] : Object Oriented Concept
Java Programming [4/12] : Object Oriented Concept
 
พื้นฐานโปรแกรมภาษาจาวา
พื้นฐานโปรแกรมภาษาจาวาพื้นฐานโปรแกรมภาษาจาวา
พื้นฐานโปรแกรมภาษาจาวา
 
Java Programming: การเขียนโปรแกรมภาษาจาวาเชิงอ็อบเจกต์
Java Programming: การเขียนโปรแกรมภาษาจาวาเชิงอ็อบเจกต์Java Programming: การเขียนโปรแกรมภาษาจาวาเชิงอ็อบเจกต์
Java Programming: การเขียนโปรแกรมภาษาจาวาเชิงอ็อบเจกต์
 
โครงสร้างการเขียนโปรแกรมภาษาไพธอน
โครงสร้างการเขียนโปรแกรมภาษาไพธอนโครงสร้างการเขียนโปรแกรมภาษาไพธอน
โครงสร้างการเขียนโปรแกรมภาษาไพธอน
 

Similar to เมธอด กลุ่ม3

เมธอด
เมธอดเมธอด
นำเสนอMethods
นำเสนอMethodsนำเสนอMethods
นำเสนอMethods
FP Spongpoyam
 
นำเสนอMethods
นำเสนอMethodsนำเสนอMethods
นำเสนอMethodsFP Spongpoyam
 
5.Methods cs
5.Methods cs5.Methods cs
5.Methods cs
UsableLabs
 
METHODS
METHODSMETHODS
METHODS
kessara61977
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Mook Prapasson
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชัน มาตรฐาน 6
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชัน มาตรฐาน 6โปรแกรมย่อยและฟังก์ชัน มาตรฐาน 6
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชัน มาตรฐาน 6Ploy StopDark
 
การเขียนโปรแกรมเพื่องานอาชีพ 6.
การเขียนโปรแกรมเพื่องานอาชีพ 6.การเขียนโปรแกรมเพื่องานอาชีพ 6.
การเขียนโปรแกรมเพื่องานอาชีพ 6.Ploy StopDark
 
กลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
กลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานกลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
กลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
Kanchana Theugcharoon
 
บทที่ 8 Methods
บทที่ 8 Methodsบทที่ 8 Methods
บทที่ 8 Methods
Kanchana Theugcharoon
 
Methods
MethodsMethods
Computer Programming 1
Computer Programming 1Computer Programming 1
Computer Programming 1
Saranyu Srisrontong
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1prapassonmook
 

Similar to เมธอด กลุ่ม3 (20)

Chapter3
Chapter3Chapter3
Chapter3
 
เมธอด
เมธอดเมธอด
เมธอด
 
เมธอด
เมธอดเมธอด
เมธอด
 
นำเสนอMethods
นำเสนอMethodsนำเสนอMethods
นำเสนอMethods
 
นำเสนอMethods
นำเสนอMethodsนำเสนอMethods
นำเสนอMethods
 
5.Methods cs
5.Methods cs5.Methods cs
5.Methods cs
 
METHODS
METHODSMETHODS
METHODS
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
3.6 ฟังก์ชัน
3.6 ฟังก์ชัน3.6 ฟังก์ชัน
3.6 ฟังก์ชัน
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชัน มาตรฐาน 6
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชัน มาตรฐาน 6โปรแกรมย่อยและฟังก์ชัน มาตรฐาน 6
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชัน มาตรฐาน 6
 
การเขียนโปรแกรมเพื่องานอาชีพ 6.
การเขียนโปรแกรมเพื่องานอาชีพ 6.การเขียนโปรแกรมเพื่องานอาชีพ 6.
การเขียนโปรแกรมเพื่องานอาชีพ 6.
 
Methods
MethodsMethods
Methods
 
กลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
กลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานกลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
กลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
 
บทที่ 8 Methods
บทที่ 8 Methodsบทที่ 8 Methods
บทที่ 8 Methods
 
Methods
MethodsMethods
Methods
 
Methods
MethodsMethods
Methods
 
Computer Programming 1
Computer Programming 1Computer Programming 1
Computer Programming 1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
Pbl2 docx
Pbl2 docxPbl2 docx
Pbl2 docx
 

More from Piyada Petchalee

สรุปโครงการ
สรุปโครงการสรุปโครงการ
สรุปโครงการ
Piyada Petchalee
 
สรุปโครงการหมาน้อยร้อยฝัน(1)
สรุปโครงการหมาน้อยร้อยฝัน(1)สรุปโครงการหมาน้อยร้อยฝัน(1)
สรุปโครงการหมาน้อยร้อยฝัน(1)
Piyada Petchalee
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Piyada Petchalee
 

More from Piyada Petchalee (6)

IT NEWS
IT NEWSIT NEWS
IT NEWS
 
สรุปโครงการ
สรุปโครงการสรุปโครงการ
สรุปโครงการ
 
สรุปโครงการหมาน้อยร้อยฝัน(1)
สรุปโครงการหมาน้อยร้อยฝัน(1)สรุปโครงการหมาน้อยร้อยฝัน(1)
สรุปโครงการหมาน้อยร้อยฝัน(1)
 
โฟกัส
โฟกัสโฟกัส
โฟกัส
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ข่าวIT
ข่าวITข่าวIT
ข่าวIT
 

Recently uploaded

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (10)

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 

เมธอด กลุ่ม3