SlideShare a Scribd company logo
แผนอัตรากาลัง ๓ ปี
เทศบาลตาบลธงธานี
อาเภอธวัชบุรี จังหวัดร้อยเอ็ด
ประจาปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๖๓
. งานการเจ้าหน้าที่
สานักปลัดเทศบาล
เทศบาลตาบลธงธานี
สารบัญ
เรื่อง หน้า
๑. หลักการและเหตุผล ๑
๒. วัตถุประสงค์ ๑
๓. ขอบเขตและแนวทางในการจัดทาแผนอัตรากาลัง ๓ ปี ๒
๔. สภาพปัญหา ความต้องการของประชาชนในเขตพื้นที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ๔
๕. ภารกิจ อานาจหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ๑๒
๖. ภารกิจหลัก และภารกิจรอง ๑๙
๗. สรุปปัญหาและแนวทางในการบริหารงานบุคคล ๒๐
๘.โครงสร้างการกาหนดตาแหน่ง ๒๑
๙. ภาระค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับเงินเดือน ๒๖
๑๐.แผนภูมิโครงสร้างการแบ่งส่วนราชการตามแผนอัตรากาลัง ๓ ปี ๓๑
๑๑.บัญชีแสดงจัดคนลงสู่ตาแหน่งและการกาหนดเลขที่ตาแหน่งในส่วนราชการ ๓๘
๑๒.แนวทางการพัฒนาข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่น ๔๗
๑๓.ประกาศคุณธรรม จริยธรรมของข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่น ๔๘
ภาคผนวก
คาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการจัดทาแผนอัตรากาลัง
รายงานการประชุมคณะกรรมการจัดทาแผนอัตรากาลัง
มติคณะกรรมการพนักงานเทศบาล (ก.ท.จ.ร้อยเอ็ด)
๑.๑ ประกาศคณะกรรมการกลางพนักงานเทศบาล (ก.ท.) เรื่องมาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับอัตรา
ตาแหน่ง กาหนดให้คณะกรรมการพนักงานเทศบาล (ก.ท.จ) กาหนดตาแหน่งข้าราชการหรือพนักงานส่วน
ท้องถิ่น ว่าจะมีตาแหน่งใด ระดับใด อยู่ในส่วนราชการใด จานวนเท่าใด ให้คานึงถึงภาระหน้าที่ความ
รับผิดชอบ ลักษณะงานที่ต้องปฏิบัติ ความยาก และคุณภาพ ของงาน ปริมาณ ตลอดจนทั้งภาระค่าใช้จ่าย
ของเทศบาล ที่จะต้องจ่ายในด้านบุคคล โดยให้เทศบาลจัดทาแผนอัตรากาลังของพนักงานเทศบาล เพื่อใช้ใน
การกาหนดตาแหน่งโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการพนักงานเทศบาล (ก.ท.จ.) ทั้งนี้ ให้เป็นไปตาม
หลักเกณฑ์ และวิธีการที่คณะกรรมการกลางพนักงานเทศบาล (ก.ท) กาหนด
๑.๒ คณะกรรมการกลางพนักงานเทศบาล (ก.ท.) ได้มีมติเห็นชอบประกาศกาหนดการ
กาหนดตาแหน่งข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่น พนักงานเทศบาล โดยกาหนดแนวทางให้เทศบาล
จัดทาแผนอัตรากาลังขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อเป็นกรอบในการกาหนดตาแหน่งและการใช้ตาแหน่ง
ข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่น โดยให้เสนอให้คณะกรรมการพนักงานเทศบาล (ก.ท.จ.) พิจารณาให้
ความเห็นชอบ โดยได้กาหนดให้เทศบาล แต่งตั้งคณะกรรมการจัดทาแผนอัตรากาลัง วิเคราะห์อานาจหน้าที่
และภารกิจของเทศบาล วิเคราะห์ความต้องการกาลังคน วิเคราะห์การวางแผนการใช้กาลังคน จัดทากรอบ
อัตรากาลัง และกาหนดหลักเกณฑ์และเงื่อนไข ในการกาหนดตาแหน่งข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่น
ตามแผนอัตรากาลัง ๓ ปี
๑.๓ จากหลักการและเหตุผลดังกล่าว เทศบาลตาบลธงธานี จึงได้จัดทาแผนอัตรากาลัง ๓
ปี สาหรับปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑-๒๕๖๓ ขึ้น
๒.๑ เพื่อให้เทศบาลตาบลธงธานี มีโครงสร้างการแบ่งงานและระบบงานที่เหมาะสม
ไม่ซ้าซ้อน
๒.๒ เพื่อให้เทศบาลตาบลธงธานี มีการกาหนดตาแหน่งการจัดอัตรากาลัง โครงสร้างให้
เหมาะสมกับอานาจหน้าที่ของเทศบาล ตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ และตามพระราชบัญญัติ
กาหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอานาจให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๒ และกฎหมายอื่นที่
เกี่ยวข้อง
๒.๓ เพื่อให้คณะกรรมการพนักงานเทศบาล ( ก.ท.จ.) สามารถตรวจสอบการกาหนด
ตาแหน่งและการใช้ตาแหน่งข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่นว่าถูกต้องเหมาะสมหรือไม่
๒.๔ เพื่อเป็นแนวทางในการดาเนินการวางแผนการใช้อัตรากาลังการพัฒนาบุคลากร
ของเทศบาลตาบลธงธานี
๒.๕ เพื่อให้เทศบาลตาบลธงธานี สามารถวางแผนอัตรากาลัง ในการบรรจุแต่งตั้งข้าราชการ
เพื่อให้การบริหารงานของเทศบาล เกิดประโยชน์ต่อประชาชนเกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจตามอานาจหน้าที่มี
ประสิทธิภาพมีความคุ้มค่าสามารถลดขั้นตอนการปฏิบัติงานและมีการลดภารกิจและยุบเลิกหน่วยงานที่ไม่
จาเป็นการปฏิบัติภารกิจสามารถตอบสนองความต้องการของประชาชนได้เป็นอย่างดี
๒.๖ เพื่อให้เทศบาลตาบลธงธานี สามารถควบคุมภาระค่าใช้จ่ายด้านการบริหารงานบุคคล
ให้เป็นไปตามที่กฎหมายกาหนด
๑. หลักการและเหตุผล
๒. วัตถุประสงค์
คณะกรรมการจัดทาแผนอัตรากาลังของเทศบาลตาบลธงธานี ซึ่งมีนายกเทศมนตรี
ตาบลธงธานี เป็นประธาน ปลัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หัวหน้าส่วนราชการ เป็นกรรมการ และมี
ข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่น ๑ คน เป็นเลขานุการ จัดทาแผนอัตรากาลัง ๓ ปี โดยมีขอบเขต
เนื้อหาครอบคลุมในเรื่องต่างๆ ดังต่อไปนี้
๓.๑ วิเคราะห์ภารกิจ อานาจหน้าที่ความรับผิดชอบ ของเทศบาลตาบลธงธานี ตาม
พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ และตามพระราชบัญญัติแผนและขั้นตอนการกระจายอานาจให้องค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๒ ตลอดจนกฎหมายอื่นให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติ แผนพัฒนาจังหวัด แผนพัฒนาอาเภอ แผนพัฒนาตาบล นโยบายของรัฐบาล นโยบายผู้บริหาร และ
สภาพปัญหาของเทศบาลตาบลธงธานี เพื่อให้การดาเนินการของเทศบาลตาบลธงธานี บรรลุผลตามพันธกิจ
ที่ตั้งไว้จาเป็นต้องจัดสรรอัตรากาลัง ตามหน่วยงานต่างๆ ให้เหมาะสมกับเป้าหมายการดาเนินการ โดย
มุมมองนี้เป็น การพิจารณรณาว่า งานในปัจจุบันที่ดาเนินการอยู่นั้นครบถ้วนและตรงตามภารกิจหรือไม่
อย่างไร หากงานที่ทาอยู่ในปัจจุบันไม่ตรงกับภารกิจในอนาคต ก็ต้องมีการวางแผน กรอบอัตรากาลังให้
ปรับเปลี่ยนไปตามทิศทางในอนาคต รวมถึงหากงานในปัจจุบันบางส่วนไม่ต้องดาเนินการแล้ว อาจทาให้การ
จัดสรรกาลังคนของบางส่วนราชการเปลี่ยนแปลงไป ทั้งนี้ เพื่อให้เกิดการเตรียมความพร้อมในเรื่องกาลังคน
ให้รอรับสถานการณ์ในอนาคต
๓.๒ การกาหนดโครงสร้างการแบ่งส่วนราชการภายในและการจัดระบบงาน เพื่อรองรับ
ภารกิจตามอานาจหน้าที่ความรับผิดชอบ ให้สามารถแก้ปัญหาของจังหวัดร้อยเอ็ด ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
๓.๓ การวิเคราะห์ต้นทุนค่าใช้จ่ายของกาลังคน : Supply pressure เป็นการนาประเด็น
ค่าใช้จ่ายบุคลากรเข้าราร่วมในการพิจารณา เพื่อการจัดการทรัพยากรบุคคลที่มีอยู่เป็นไปอย่างมี
ประสิทธิภาพสูงสุด กาหนดตาแหน่งในสายงานต่างๆ จานวนตาแหน่ง และระดับตาแหน่งให้เหมาะสมกับ
ภาระหน้าที่ความรับผิดชอบ ปริมาณงาน และคุณภาพของงาน รวมทั้งการสร้างความก้าวหน้าในสายอาชีพ
ของกลุ่มงานต่างๆ โดยในส่วนนี้จะคานึงถึง
๓.๓.๑ จัดระดับชั้นงานที่เหมาะสม ในพิจารณาถึงต้นทุนต่อการกาหนดระดับชั้นงานใน
แต่ละประเภท เพื่อให้การกาหนดตาแหน่งและการปรับระดับชั้นงานเป็นไปอย่างประหยัด และมี
ประสิทธิภาพสูงสุด
๓.๓.๒ การจัดสรรประเภทของบุคลากรท้องถิ่น พนักงานเทศบาล พนักงานครูเทศบาล
ลูกจ้างประจาและพนักงานจ้าง โดยหลักการแล้ว การจัดประเภทลักษณะงานผิด จะมีผลกระทบต่อ
ประสิทธิภาพ และต้นทุนในการทางานขององค์กร ดังนั้น ในการกาหนดอัตรากาลังข้าราชการหรือพนักงาน
ส่วนท้องถิ่นในแต่ละส่วนราชการ จะต้องมีการพิจารณาว่าตาแหน่งที่กาหนดในปัจจุบันมีความเหมาะสม
หรือไม่หรือควรเปลี่ยนลักษณะการกาหนดตาแหน่งเพื่อให้การทางานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น โดย
ภาระค่าใช้จ่ายด้านการบริหารงานบุคคลต้องไม่เกินร้อยละสี่สิบของงบประมาณรายจ่ายตามาตรา ๓๕ แห่ง
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๒
๓.๔ วิเคราะห์กระบวนการและเวลาที่ใช้ในการปฏิบัติงาน เป็นการนาข้อมูลเวลา ที่ใช้ใน
การปฏิบัติงานตามกระบวนการจริง (Work process) ในอดีต เพื่อวิเคราะห์ปริมาณงานต่อบุคคลจริงๆ โดย
สมมุติฐานที่ว่า งานใดที่ต้องมีกระบวนการและเวลาที่ใช้มากกว่า โดยเปรียบเทียบย่องต้องใช้อัตรากาลังคน
มากกว่า อย่างไรก็ดีในภาคราชการส่วนท้องถิ่นนั้นงานบางลักษณะ เช่น งานกาหนดนโนบาย งานมาตรฐาน
งานเทคนิคด้านช่าง หรืองานบริการบางประเภทไม่สามารถกาหนดเวลามาตรฐานได้ ดังนั้น การคานวณเวลา
๓. กรอบแนวคิดในการจัดทาแผนอัตรากาลัง ๓ ปี
ที่ใช้ในกรณีของภาคราชการส่วนท้องถิ่นนั้นจึงทาได้เพียงเป็นข้อมูลเปรียบเทียบ (Relative information)
มากกว่าจะเป็นข้อมูลที่ใช้ในการกาหนดคานวณอัตรากาลังต่อหน่วยหน่วยงานจริงเหมือนในภาคเอกชน
นอกจากนั้นก่อนจะคานวณเวลาที่ใช้ในการปฏิบัติงานแต่ละส่วนราชการจะต้อบงพิจารณาปริมาณงาน
ลักษณะงานที่ปฏิบัติว่าทีความสอดคล้องกับภารกิจของหน่วยงานหรือไม่ เพราะในบางครั้งอาจเป็นไปได้ว่า
งานที่ปฏิบัติอยู่ในปัจจุบันมีลักษณะเป็นงานโครงการพิเศษ หรืองานของหน่วยงานอื่น ก็มีความจาเป็นต้องมา
ใช้ประกอบการพิจารณาด้วย
๓.๕ การวิเคราะห์ผลงานที่ผ่านมาเพื่อประกอบการกาหนดกรอบอัตรากาลังเป็นการนา
ผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของแต่ละส่วนราชการและพันธกิจขององค์กรมายึดโยงกับจานวนกรอบอัตรากาลังที่ต้อง
ใช้สาหรับการสร้างผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ให้ได้ตามเป้าหมาย โดยสมมุติฐานที่ว่า หากผลงานที่ผ่านมา
เปรียบเทียบกับผลงานในปัจจุบันและอนาคตมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญ อาจต้องมีการพิจารณา
แนวทางในการกาหนด/เกลี่ยอัตรากาลังใหม่ เพื่อให้เกิดการทางานที่มีประสิทธิภาพและสนับสนุนการทางาน
ตามภารกิจของส่วนราชการและองค์กรอย่างสูงสุด
๓.๖ การวิเคราะห์ข้อมูลจากความคิดเห็นแบบ ๓๖๐ องศา เป็นการสอบถามความคิดเห็น
จากผู้มีส่วนได้เสียหรือนาประเด็นต่างๆ อย่างเรื่องการบริหารงาน งบประมาณ คน มาพิจารณาอย่างน้อยใน
๓ ประเด็น ดังนี้
๓.๖.๑ เรื่องพื้นที่และการจัดโครงสร้างองค์กร เนื่องจากการจัดโครงสร้างองค์กรและ
การแบ่งงานในพื้นที่นั้นจะมีผลต่อการกาหนดกรอบอัตรากาลังเป็นอย่างมาก เช่น หากกาหนดโครงสร้าง
องค์กรและการแบ่งงานในพื้นที่นั้นจะมีผลต่อการกาหนดกรอบอัตรากาลังเป็นอย่างมาก เช่น หากกาหนด
โครงสร้างที่มากเกินไปจะทาให้เกิดตาแหน่งงานขึ้นตามมาอีกไม่ว่าจะเป็นงานหัวหน้าฝ่าย งานธุรการ สาร
บรรณและบริหารทั่วไปในส่วนราชการนั้น ซึ่งอาจมีความจาเป็นต้องทบทวนว่าการกาหนดโครงสร้างใน
ปัจจุบันของแต่ละส่วนราชการนั้นมีความเหมะสมมากน้อยเพียงใด
๓.๖.๒ เรื่องการเกษียณอายุราชการ เนื่องจากหลายๆ ส่วนราชการในปัจจุบันมี
ข้าราชการสูงอายุจานวนมาก ดังนั้น อาจต้องมีการพิจารณาถึงการเตรียมการเรื่องกรอบอัตรากาลังที่จะ
รองรับการเกษียณอายุของข้าราชการ ทั้งนี้ ไม่ว่าจะเป็นการถ่ายทอดองค์ความรู้ การปรับตาแหน่งที่
เหมาะสมขึ้นทดแทนตาแหน่งที่จะเกษียณอายุไป เป็นต้น
๓.๖.๓ ความคิดเห็นของผู้มีส่วนได้เสีย เป็นการสอบถามจากเจ้าหน้าที่ภายในส่วน
ราชการและผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับส่วนราชการนั้นๆ ผ่านการส่งแบบสอบถามหรือการสัมภาษณ์ ซึ่งมุมมอง
ต่างๆ อาจทาให้การกาหนดกรอบอัตรากาลังเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น
๓.๗ การพิจารณาเปรียบเทียบกับกรอบอัตรากาลังขององค์กรอื่นๆ กระบวนการนี้เป็น
กระบวนการนาข้อมูลของอัตรากาลังในหน่วยงานที่มีลักษณะงานใกล้เคียงกัน เช่น การเปรียบเทียบจานวน
กรอบอัตรากาลังของงานการเจ้าหน้าที่ในเทศบาล ก. และงานการเจ้าหน้าที่ในเทศบาล ข. ซี่งมีหน้าที่
รับผิดชอบคล้ายกัน โดยสมมติฐานที่ว่า แนวโน้มของการใช้อัตรากาลังของแต่ละองค์กรในลักษณะงานและ
ปริมาณงานแบบเดียวกันน่าจะมีจานวนและการกาหนดตาแหน่งคล้ายคลึงกันได้
๓.๘ ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีแผนการพัฒนาข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่นทุด
คน โดยต้องได้รับการพัฒนาความรู้ความสามารถอย่างน้อยปีละ ๑ ครั้ง
การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อกาหนดกรอบอัตรากาลังไม่มุ่งเน้นในการเพิ่ม เกลี่ย หรือลดจานวน
กรอบอัตรากาลังเป็นสาคัญ แต่มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ส่วนราชการมีแนวทางในการพิจารณากาหนดกรอบ
อัตรากาลังที่เป็นระบบมากขึ้น นอกจากนั้นยังมีจุดมุ่งเน้นให้ส่วนราชการพิจารณาการกาหนดตาแหน่งที่
เหมาะสม ( Right Jobsป มากกว่าการเพิ่ม/ลดจานวนตาแหน่ง ตัวอย่างเช่น การวิเคราะห์ต้นทุนค่าใช้จ่าย
แล้วพบว่าการกาหนดกรอบตาแหน่งในประเภททั่วไปอาจมีความเหมาะสมน้อยกว่าการกาหนดตาแหน่ง
ประเภทวิชาการในบางลักษณะงาน ทั้งๆ ที่ใช้ต้นทุนแตกต่างกันมาก รวมถึงในการพิจารณาที่กระบวนการ
ทางานก็พบว่าเป็นลักษณะงานในเชิงการวิเคราะห์ในสายอาชีพมากกว่างานในเชิงปฏิบัติงาน และส่วนราชการ
อื่นก็กาหนดตาแหน่งในงานลักษณะนี้เป็นตาแหน่งประเภทวิชาการ ถ้าเกิดกรณีเช่นนี้ก็น่าจะมีเหตุผลเพียง
พอที่จะกาหนดกรอบอัตรากาลังในลักษณะงานนี้เป็นตาแหน่งประเภทวิชาการ โดยไม่ได้เพิ่มจานวน
ตาแหน่งของส่วนราชการเลย โดยสรุปอาจกล่าวได้ว่า กรอบแนวคิดการวิเคราะห์อัตรากาลัง (Effective
Man Power Planning Framework) นี้จะเป็นแนวทางให้ส่วนราชการสามารถมีข้อมูลเชิงวิเคราะห์อย่าง
เพียงพอในการที่จะอธิบายเหตุผลเชิงวิชาการสาหรับการวางแผนกรอบอัตรากาลังที่เหมาะสมตามภารกิจงาน
ของแต่ละส่วนราชการ นอกจากนั้นการรวบรวมข้อมูลโดยวิธีการดังกล่าวจะทาให้ส่วนราชการ สามารถนา
ข้อมูลเหล่านี้ไปใช้ประโยชน์ในเรื่องอื่นๆ เช่น
- การใช้ข้อมูลที่หลากหลายจะทาให้เกิดการยอมรับได้มากกว่าโดยเปรียบเทียบหาก
จะต้องมีการเกลี่ยกาลังระหว่างหน่วยงาน
- การจัดทากระบวนการจริง (Work process) จะทาให้ได้เวลามาตรฐานที่จะสามารถ
นาไปใช้วัดประสิทธิภาพในการทางานของบุคคลได้อย่างถูกต้อง รวมถึงในระยะยาวส่วนราชการสามารถนาผล
การจัดทากระบวนการและเวลามาตรฐานนี้ไปวิเคราะห์เพื่อการปรับปรุงกระบวนการ (Process Re-
engineer) อันจะนาไปสู่การใช้อัตรากาลังที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพมากขึ้น
- การเก็บข้อมูลผลงานจะทาให้สามารถพยากรณ์แนวโน้มของภาระงาน ซึ่งจะเป็น
ประโยชน์ในอนาคตต่อส่วนราชการในการเตรียมปรับยุทธศาสตร์ในการทางาน เพื่อรองรับภารกิจที่จะเพิ่ม/
ลดลง
สภาพโดยทั่วไปและข้อมูลพื้นฐานเทศบาลตาบลธงธานี
๑.ข้อมูลสภาพทั่วไป
เทศบาลตาบลธงธานี ตั้งอยู่ในเขตอาเภอธวัชบุรี จังหวัดร้อยเอ็ด เปลี่ยนแปลงฐานะมาจาก
สุขาภิบาลเป็นเทศบาล เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๔๒ ประกาศราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ ๑๑๖ ตอน ๙ ก ลงวันที่
๒๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๒ และได้ยุบรวมกับสภาตาบลธงธานี ตามประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่
๑๒๑ ตอนพิเศษ ๑๐๒ ลงวันที่ ๑๕ กันยายน ๒๕๔๗
สภาพโดยทั่วไป
๑.๑ ลักษณะที่ตั้ง
เทศบาลตาบลธงธานี มีอาณาเขตการปกครอง ประมาณ ๒๐ ตารางกิโลเมตร โดย
ทิศเหนือ ติดต่อกับพื้นที่องค์การบริหารส่วนตาบลเกาะแก้ว อาเภอเสลภูมิ
ทิศใต้ ติดต่อกับพื้นที่องค์การบริหารส่วนตาบลบึงนคร อาเภอธวัชบุรี
ทิศตะวันออก ติดต่อกับพื้นที่องค์การบริหารส่วนตาบลบึงนคร อาเภอธวัชบุรี
ทิศตะวันตก ติดต่อกับพื้นที่องค์การบริหารส่วนตาบลธวัชบุรี อาเภอธวัชบุรี
๔. สภาพปัญหาของพื้นที่และความต้องการของ
ประชาชน
๑.๒ จานวนประชากร
ปี พ.ศ. จานวนประชากร(ชาย) จานวนประชากร(หญิง) รวม จานวนหลังคาเรือน (หลัง)
๒๕๕๓ ๓,๙๒๐ ๔,๐๔๙ ๗,๙๖๙ ๑,๙๗๔
๒๕๕๔ ๓,๙๒๑ ๔,๐๖๗ ๗,๙๘๘ ๒,๐๑๘
๒๕๕๕ ๓,๘๙๘ ๔,๐๕๗ ๗,๙๕๕ ๒,๐๘๙
๒๕๕๖ ๓,๙๓๗ ๔,๑๑๑ ๘,๐๔๘ ๒,๒๐๔
๒๕๕๗ ๓,๙๕๑ ๔,๐๙๖ ๘,๐๔๗ ๒,๒๑๒
๑.๓ ลักษณะอาชีพของประชากร
ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพด้านเกษตรกรรม มีรายได้เฉลี่ยต่อหัว ต่อปี ๗๕,๖๘๐ บาท
๑.๔ ลักษณะภูมิประเทศ
สภาพพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่มมีแม่น้าชีไหลผ่านและมีหนองน้าในการทาการเกษตรหลายแห่ง
มีแม่น้าชีไหลผ่านพื้นที่ทางด้านทิศเหนือและทิศตะวันออก ผ่านพื้นที่ตาบลธงธานี หมู่ที่ ๒,๓,๕,๖,๗ และหมู่ที่
๘
๑.๕ ลักษณะภูมิอากาศ เทศบาลตาบลธงธานีมีสภาพภูมิอากาศเป็นแบบมรสุม ๓ ฤด
ฤดูร้อน เริ่มตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ ถึงเดือนมิถุนายนของทุกปีซึ่งเดือนที่ร้อนที่สุดคือ
เดือนเมษายน
ฤดูฝน เริ่มตั้งแต่เดือนพฤษภาคม ถึงเดือนตุลาคมของทุกปี เดือนที่มีฝนตกชุกที่สุดคือ
เดือนสิงหาคม
ฤดูหนาว เริ่มตั้งแต่เดือนตุลาคมของทุกปี ถึงเดือนมกราคม เดือนที่หนาวที่สุด คือ
เดือนมกราคม
๑.๖ การปกครอง
เทศบาลตาบลธงธานี แบ่งเขตการปกครองเป็น ๒ ตาบล ๑๔ หมู่บ้าน ดังนี้
ตาบลธงธานี มีจานวน ๑๐ หมู่ บ้าน ประกอบด้วย
หมู่ ๑ บ้านธวัชบุรี
หมู่ ๒ บ้านธวัชบุรี
หมู่ ๓ บ้านธวัชบุรี
หมู่ ๔ บ้านหนองดู่
หมู่ ๕ บ้านงิ้ว
หมู่ ๖ บ้านงิ้ว
หมู่ ๗ บ้านธวัชบุรี
หมู่ ๘ บ้านธวัชบุรี
หมู่ ๙ บ้านหนองดู่
หมู่ ๑๐ บ้านธวัชบุรี
ตาบลบึงนคร มีจานวน ๔ หมู่บ้าน ประกอบด้วย
หมู่ ๑ บ้านขามเหนือ
หมู่ ๒ บ้านขามใต้
หมู่ ๓ บ้านขามใต้
หมู่ ๑๓ บ้านขามเหนือ
๒.ข้อมูลโครงสร้างพื้นฐานและสาธารณูปโภค
๒.๑ การคมนาคม
การเดินทางเข้าสู่พื้นที่เทศบาลตาบลธงธานี สามารถเดินทางโดยรถยนต์ ตามทางหลวง
จังหวัด หมายเลข ๒๐๔๔ ระยะทางจากจังหวัดร้อยเอ็ด ประมาณ ๒๕ กิโลเมตร
เทศบาลตาบลธงธานี มีเส้นทางสายสาคัญ ดังนี้
- ทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข ๒๐๔๔ ( ร้อยเอ็ด - โพนทอง )
- ทางหลวงชนบท หมายเลข ๒๐๑๐ ( บ้านหนองดู่ - บ้านขาม )
๒.๒ ประปา
จานวนครัวเรือนที่ใช้บริการน้าประปา จานวน ๑,๘๒๐ ครัวเรือน
-หน่วยงานเจ้าของกิจการประปา กองการประปา เทศบาลตาบลธงธานี
-จานวนนาประปาที่ผลิตได้ จานวน ๑,๔๔๐ ลบ.ม./ วัน
-จานวนนาประปาที่ต้องการใช้ จานวน ๑,๓๐๐ ลบ.ม./ วัน
- แหล่งนาดิบสาหรับผลิตนาประปา คือ แม่น้าชี ( ระบบผลิตนาเหนือผิวดิน )
๒.๓ ไฟฟ้า
-จานวนครัวเรือนที่มีไฟฟ้าใช้ จานวน ๒,๒๑๒ หลัง
-หน่วยงานที่ดาเนินการกิจการไฟฟ้า ได้แก่ การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค
๒.๔ แหล่งน้า
ลาดับ ชื่อแหล่งน้า ปริมาณความจุ
(ลบ.ม.)
หมู่/ตาบล หมายเหตุ
๑.
๒.
๓.
๔.
๕.
๖.
๗.
๘.
๙.
๑๐.
๑๑.
๑๒.
หนองไผ่
หนองไผ่บ้านขาม
หนองไข่นุ่น
หนองบอน
หนองกุดหล่ม
หนองวัดป่าสรวงสวรรค์
หนองสิม บ้านขาม
หนองกุดน้าใสน้อย
หนองบ้านน้อย
หนองสะท้อน
หนองบึงจิว
กุดเสาธง
๗๖,๐๐๐
๑๓,๐๐๐
๒๕,๐๐๐
๑๓,๐๐๐
๑๙,๐๐๐
๑๒,๔๓๕
๒๙,๐๐๐
๑๐,๐๐๐
๑๕,๐๐๐
๔๔,๐๐๐
๑,๐๐๐,๐๐๐
๑๘๐,๐๐๐
หมู่ ๑๐ ตาบลธงธานี
หมู่ ๒ ตาบลบึงนคร
หมู่ ๘ ตาบลธงธานี
หมู่ 8 ตาบลธงธานี
หมู่ ๙ ตาบลธงธานี
หมู่ ๓ ตาบลบึงนคร
หมู่ ๑ ตาบลบึงนคร
หมู่ ๘ ตาบลธงธานี
หมู่ ๔ ตาบลธงธานี
หมู่ ๙ ตาบลธงธานี
หมู่ ๕,๖ ตาบลธงธานี
หมู่ ๘,๙ ตาบลธงธานี
๓ ด้านเศรษฐกิจ
๓.๑ สถานธนานุบาล - แห่ง
๓.๒ โรงฆ่าสัตว์ 1 แห่ง
๓.๓ อุตสาหกรรม/ธุรกิจ
การผลิตสินค้าส่วนใหญ่จะเป็นแบบอุตสาหกรรมในครัวเรือนและกลุ่มอาชีพ
๓.๔ การพาณิชยกรรมและบริการ
- สถานีบริการน้ามัน จานวน ๓ แห่ง
- สถานีน้ามันหยอดเหรียญ จานวน ๖ แห่ง
- สถานีน้ามันแบบปั๊มหลอด จานวน - แห่ง
- ตลาดสด จานวน ๑ แห่ง
- สถานที่จาหน่วยอาหาร ตาม พ.ร.บ. สาธารณสุข จานวน ๒๐ แห่ง
๓.๕ การปศุสัตว์
การเลี้ยงสัตว์ส่วนใหญ่จะเลี้ยเพื่อขายและบริโภคในครัวเรือน สัตว์ที่เลี้ยงมากที่สุด ได้แก่ ไก่
รองลงมา คือเป็ด และโค
๔.ข้อมูลด้านสังคม
๔.๑ ข้อมูลศาสนสถาน
* จานวนวัด ๑๐ แห่ง
- วัดกลางธงธานี
- วัดเหนืออุดรชัยสิทธิ์
- วัดใต้จันทราราม
- วัดป่าทรงธรรม
วัดหนองดู่
- วัดสันติวิหาร
- วัดป่าโพธาราม
- วัดวารีอุดม
- วัดบ้านขามเหนือ
- วัดบ้านขามใต้
* จานวนเมรุเผาศพ ๗ แห่ง
๔.๒ ข้อมูลผู้นับถือศาสนา
- จานวนผู้นับถือศาสนาพุทธ ร้อยละ ๙๘ ของประชากรทั้งหมด
- จานวนผู้นับถือศาสนาคริตส์ ร้อยละ ๐.๗ ของประชากรทั้งหมด
- จานวนผู้นับถือศาสนาอิสราม ร้อยละ ๐.๗ ของประชากรทั้งหมด
- จานวนผู้นับถือศาสนาอื่นๆ ร้อยละ ๐.๖ ของประชากรทั้งหมด
๔.๓ ข้อมูลสถานศึกษา
ปัจจุบันเทศบาลตาบลธงธานี ไม่มีสถานศึกษาในสังกัด แต่มีศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในสังกัด
จานวน ๔ แห่ง ประกอบด้วย
๑. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านธวัชบุรี มีเด็กก่อนวัยเรียนจานวน ๖๐ คน ครูผู้ดูแลเด็ก ๒
คน ผู้ช่วยครูผู้ดูแลเด็ก ๑ คน
๒. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านขาม มีเด็กก่อนวัยเรียน จานวน ๔๐ คน ครูผู้ดูแลเด็ก ๑
คน ผู้ช่วยครูผู้ดูแลเด็ก ๑ คน
๓. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองดู่ มีเด็กก่อนวัยเรียน จานวน ๔๐ คน ครูผู้ดูแลเด็ก ๑
คน ผู้ช่วยครูผู้ดูแลเด็ก ๑ คน
๓. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านงิ้ว มีเด็กก่อนวัยเรียน จานวน ๓๐ คน ครูผู้ดูแลเด็ก ๑
คน ผู้ช่วยครูผู้ดูแลเด็ก ๑ คน
๔.๔ ข้อมูลกีฬา นันทนาการและพักผ่อน
๑. ลานกีฬา ๕ แห่ง
๒. สนามกีฬา ๑ แห่ง
๔.๕ ข้อมูลด้านสาธารณสุข
๑.จานวนโรงพยาบาลของรัฐ จานวน ๑ แห่ง
(โรงพยาบาลธวัชบุรี(สังกัดกระทรวงสาธารณสุข) จานวน ๓๐ เตียง
๒.ศูนย์บริการอนามัย จานวน ๑ แห่ง
๓.คลีนิคเอกชน จานวน ๒ แห่ง
๔.ร้านขายยา จานวน ๓ แห่ง
๔.๖ ขยะ
- ปริมาณขยะ ๑๐ ตัน / วัน
- รถยนต์ที่ใช้ในการจัดเก็บขยะ รวม ๒ คัน แยกเป็น
*รถยนต์คันที่ ๑ รถเก็บขยะขนาดความจุ ๖ ลบ.หลา
*รถยนต์คันที่ ๑ รถเก็บขยะขนาดความจุ ๑๐ ลบ.หลา
- ขยะที่เก็บขนได้ จานวน ๑๐ ลบ. หลา / วัน
- ขยะที่กาจัดได้ จานวน ๑๐ ลบ. หลา / วัน โดยวิธีเผา ฝังกลบ
- พื้นที่สาหรับกาจัดขยะ
*พื้นที่ทั้งหมด ๑ ไร่ ใช้ไปแล้ว ๑ ไร่
*อยู่ห่างจากแหล่งชุมชน ประมาณ ๓ กิโลเมตร
ผลการวิเคราะห์
เพื่อให้การวางแผนอัตรากาลัง ๓ ปี ของเทศบาลตาบลธงธานี มีความครบถ้วน สามารถ
ดาเนินการตามอานาจหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เทศบาลตาบลธงธานีจึงได้วิเคราะห์สภาพปัญหาและ
ความต้องการของประชาชนในเขตพื้นที่เทศบาลตาบลธงธานี ว่ามีปัญหาอะไรบ้าง มีความจาเป็นพื้นฐาน
และความต้องการของประชาชนในเขตพื้นที่สาคัญ ดังนี้
แบ่งออกเป็นด้านต่างๆ ดังนี้
๑. ด้านโครงสร้างพื้นฐาน
๑.๑ สภาพปัญหาของเทศบาล
(๑) การคมนาคมไม่สะดวกเนื่องจากถนนที่ได้มาตรฐานยังไม่เพียงพอต่อความต้องการของ)
ประชาชน
(๒) มีน้าท่วมขังเนื่องจากทางระบายน้ายังไม่เพียงพอ
(๓) ปัญหาเกี่ยวกับไฟฟ้า ไฟฟ้าสาธารณะ กระแสไฟฟ้าตก เนื่องจากกาลังส่งไฟฟ้าไม่
เพียงพอ
๑.๒ ความต้องการ
(๑) ต้องการมีถนนที่ได้มาตรฐานและเพียงพอ
(๒) ต้องการมีรางระบายน้าอย่างเพียงพอ
(๓) ปรับปรุงถนนลูกรัง
(๔) ติดตั้งไฟฟ้าแสงสว่างสาธารณะ
(๕) ขยายเขตบริการไฟฟ้า
(๖) พัฒนาระบบจราจร
๒. ด้านเศรษฐกิจ
๒.๑ สภาพปัญหาของเทศบาล
(๑) ไม่มีตลาดรับซื้อผลิตผลทางการเกษตรและผลิตภัณฑ์ของกลุ่มอาชีพ
(๒) พืชเกษตรกรรมได้รับความเสียหายเนื่องจากภาวะภัยแล้ง
(๓) เกษตรกรและกลุ่มอาชีพไม่ได้รับการส่งเสริมด้านความรู้และประสบการณ์
(๔) ราคาผลผลิตทางการเกษตรตกต่า
(๕) เกษตรกรไม่รวมตัวเป็นกลุ่มไม่มีอานาจต่อรอง
(๖) ประชาชนมีรายได้น้อย
(๗) การทาการเกษตรฤดูแล้งขาดน้า
(๘) ไม่มีการประกอบอาชีพเสริมนอกฤดูการผลิต
๒.๒ ความต้องการของประชาชน
(๑) ต้องการให้มีตลาดรับซื้อผลิตผลทางการเกษตรและผลิตภัณฑ์ของกลุ่มอาชีพ
(๒) ต้องการให้มีฝายเก็บกักน้าเพื่อแก้ไขปัญหาภัยแล้ง
(๓) ต้องการให้หน่วยงานราชการส่งเสริมด้านความรู้และประสบการณ์ให้แก่เกษตรกรและ
กลุ่มอาชีพ
๓. ด้านสังคม
๓.๑ สภาพปัญหาของเทศบาล
(๑) ไม่มีสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ และสวนสาธารณะ
(๒) ไม่มีแหล่งศึกษาค้นคว้าหาความรู้นอกสถานศึกษา
(๓) ไม่มีสถานที่ท่องเที่ยว
(๔) ปัญหาการแพร่ระบาดยาเสพติด
(๕) ประชาชนที่เห็นความสาคัญในการร่วมกิจกรรมต่างๆ น้อยมาก เมื่อเทียบกับ
จานวนประชากรในชุมชน
(๖) การระแวดระวังภัยต่างๆ ของอาสาสมัครต่างๆ น้อยมาก ไม่เป็นระบบ
๓.๒ ความต้องการของประชาชน
(๑) ต้องการให้มีสถานที่พักผ่อนหย่อนใจและสวนสาธารณะ
(๒) ต้องการให้มีห้องสมุดประจาตาบล เพื่อใช้เป็นแหล่งศึกษาค้นคว้าหาความรู้
(๓) ต้องการให้มีสถานที่ท่องเที่ยว
(๔) ต้องการความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
(๕) ต้องการให้มีการป้องกัน ส่งเสริมสนับสนุน กิจกรรมป้องกันต่อต้านยาเสพติด
(๖) ส่งเสริมสนับสนุนงานด้านกีฬา
๔. ด้านการเมืองการบริหาร
๔.๑ สภาพปัญหาของเทศบาล
(๑) งบประมาณไม่เพียงพอ
(๒) อุปกรณ์และเครื่องมือยังไม่เพียงพอ
(๓) การบริการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารไม่ชัดเจน
(๔) คณะบริหารขาดความรู้ด้านระเบียบกฎหมาย
๔.๒ ความต้องการของประชาชน
(๑) ต้องการมีงบประมาณที่เพียงพอ
(๒) ต้องการมีอุปกรณ์และเครื่องมืออย่างเพียงพอ
(๓) ต้องการมีบุคลากรที่เพียงพอ
(๔) ส่งเสริมสนับสนุนกิจกรรมในรูปประชาชน
(๕) พัฒนาปรับปรุงวิธีการจัดเก็บรายได้
(๖) ให้มีกิจกรรมรณรงค์การเลือกตั้งทุกระดับ
๕. ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
๕.๑ สภาพปัญหาของเทศบาล
(๑) การให้บริการจัดเก็บขยะมูลฝอยยังไม่ทั่วถึง
(๒) การคุ้มครอง ดูแลและบารุงรักษา ป่าไม้และที่สาธารณะสมบัติยังไม่ทั่วถึง
(๓) การปรับปรุงสภาพแวดล้อมยังไม่ทั่วถึง
(๔) ไฟป่าในช่วงฤดูแล้ง
(๕) คุณภาพดินไม่ดี
๕.๒ ความต้องการของประชาชน
(๑) ต้องการให้มีการบริการจัดเก็บขยะอย่างทั่วถึง
(๒) ต้องการให้มีการคุ้มครองดูแลและบารุงรักษาป่าไม้และที่สาธารณะสมบัติอย่าง
ทั่วถึง
(๓) ต้องการให้มีการปรับปรุงสภาพแวดล้อมให้สวยงาม
๖. ด้านสาธารณสุขและอนามัย
๖.๑ สภาพปัญหาของเทศบาล
(๑) การบริการสาธารณสุขในหมู่บ้านไม่เพียงพอ
(๒) สุขลักษณะในเขตชุมชนยังไม่ดี
(๓) สุขภาพและอนามัยของบุคคลยังไม่ดี
(๔) ปัญหาการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อทั่วไป
(๕) ปัญหาการส่งเสริมความรู้ให้ประชาชน ป้องกันตัวเองจากโรคติดต่อ
๖.๒ ความต้องการของประชาชน
(๑) ส่งเสริมสนับสนุน กิจกรรมทางด้านอนามัยบุคคล/ชุมชน
(๒) ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อเป็นประจา
๗. ด้านการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
๗.๑ สภาพปัญหาของเทศบาล
(๑) การศึกษาต่อของนักเรียนหลังจากจบภาคบังคับ
(๒) ระดับการศึกษาของผู้ใหญ่
(๓) กิจกรรมทางศาสนา วัฒนธรรม และการกีฬาในชุมชน
(๔) สนามกีฬาเพื่อการฝึกซ้อมไม่ได้มาตรฐาน
๗.๒ ความต้องการของประชาชน
(๑) ส่งเสริม สนับสนุน กิจกรรมทางการศึกษา ทั้งภายในระบบ นอกระบบ และตาม
อัธยาศัย
(๒) ส่งเสริม สนับสนุน กิจกรรม ประเพณี วัฒนธรรมท้องถิ่น
เทศบาลตาบลธงธานี ไดดาเนินการสารวจสภาพปญหาและความตองการของประชาชน
นามาวิเคราะห ศักยภาพเพื่อประเมินสภาพการพัฒนาในปจจุบันและโอกาสการพัฒนาในอนาคต ดวยเทคนิค
SWOT Analysis ดังนี้
SWOT
จุดแข็ง Strength
๑. มีอิสระในการบริหารจัดการ
๒. มีระบบงบประมาณและการบัญชี
๓. มีการบริหารงานอยางกระจายอานาจทั่วถึงทั้งองคกร
๔. พนักงานมีทักษะ ความรู ความสามารถในแตละดาน
๕. มีการแบงงานมอบหมายงาน การตัดสินใจรวดเร็ว
๖. มีแผนพัฒนาสามป มีแผนพัฒนาเทศบาล
๗. มีระบบตรวจสอบภายใน
๘. มีระบบติดตอสื่อสาร เครือขายวิทยุ อินเทอรเน็ต
๙. ผูบริหารเปนผูมีมนุษยสัมพันธดี รับฟงความคิดเห็นเปนประชาธิปไตย
๑๐. พนักงานและลูกจางมีจานวนมากพอเพียงในการปฏิบัติงาน
จุดออน Weak
๑. โครงสรางขององคกรใหญ การปฏิบัติงานซ้าซอน ทาใหเกิดความลาชา
๒. งบประมาณของเทศบาล มีไมเพียงพอในการบริหารงาน
๓. ไมมีวิธีการตรวจสอบระบบการทางานอยางชัดเจน
๔. โครงสรางการตัดสินใจขาดการพิจารณาใหดี
๕. แนวทางในการพัฒนาไมเปนปจจุบัน ผูจัดทาและกรรมการแผนพัฒนาขาดความเขาใจ
๖. มีการเมืองทองถิ่นเขามาแทรกแซงการบริหารงาน
๗. พนักงานขาดความรูเรื่องเทคโนโลยี สารสนเทศ และการใชเครื่องมือสื่อสาร
๘. ขาดความรูความเขาใจในเรื่องกระบวนการบริการ การพัฒนา การตัดสินใจ
คานิยม Value
“เต็มใจใหบริการ”
โอกาส Opportunity
๑. มีแมน้าชีไหลผาน มีน้าเพียงพอกับการอุปโภคบริโภค และทาการเกษตรทั้งป
๒. มีถนนสายรอยเอ็ด – มุกดาหาร ซึ่งเปนสายเชื่อมไปยังสถานที่ทองเที่ยวของจังหวัดรอย
เอ็ดและ จังหวัดใกลเคียง
๓. มีพื้นที่เพาะปลูกทางการเกษตรมาก
๔. มีแหลงน้าจานวนมากใชในการเกษตร เชน กุดเสาธง บึงจิว หนองสะทอน หนองไขนุน
หนองไผ ฯลฯ 5. มีการผลิตน้าประปาบริการชุมชนโดยเทศบาลเปนผูดาเนินการ
๕. อยูใกลสนามบินจังหวัดรอยเอ็ด
๕. ภารกิจ อานาจหน้าที่ของเทศบาลตาบลธงธานี
อุปสรรค Threat
๑. มีปญหาภัยธรรมชาติ เชน ฝนแลง น้าทวม
๒. ถนนเพื่อการเกษตรบางสายยังไม่ได้รับการพัฒนาและแก้ไข
๓. การบริหารจัดการน้ายังไมดีพอ
๔. ผลิตผลทางการเกษตรตกต่า เกษตรกรยังใชสารเคมีจานวนมาก
๕. ประชาชนมีสวนรวมดาเนินกิจกรรมตาง ๆ ของทองถิ่นต่า
๖. รายไดตอหัว ตอครัวเรือน อยูในเกณฑต่า
นอกจากคณะกรรมการได้รวมกันวิเคราะหจุดออน จุดแข็ง สภาพปญหาและความตองการของ
ประชาชนในทองถิ่น กาหนดวิสัยทัศน และกาหนดยุทธศาสตรและแนวทางในการพัฒนาเทศบาลตาบลธง
ธานี (พ.ศ.2554-2556)
วิสัยทัศน (VISION)
“เทศบาลตาบลธงธานี(๒๕๖๐) “ภายในป พ.ศ. ๒๕๖๓ เทศบาลตาบลธงธานจะเปนองคกร
ปกครองสวนทองถิ่นที่มีการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลโดยเน้นการมีสวนรวมของ
ประชาชน มีการบริการเปนเลิศ ทันสมัย เพื่อประโยชนสุขของประชาชนในเขตเทศบาล”
วิสัยทัศน (VISION) สานักปลัดเทศบาล
“ยิ้มแยม แจมใส เต็มใจบริการ รับฟงความเห็นประชาชน มุงงาน มุงพัฒนา นาพา ประสิทธิภาพสู
องคกร”
วิสัยทัศน (VISION) กองคลัง
“ควบคุมงบประมาณอยางมีประสิทธิภาพ พัฒนารายได ใหเกิดประโยชนสูงสุด”
วิสัยทัศน (VISION) กองชาง /กองประปา
“งานไดมาตรฐาน มีความโปรงใส รวดเร็วทันใจ แกไขปญหา ใหปวงประชาสุขสันต”
วิสัยทัศน (VISION) กองสาธารณสุข
“บานเมืองสะอาด ปราศจากมลพิษ มุงพัฒนาสิ่งแวดลอม พรอมบริการเชิงรุก ปองกันเหตุราคาญ
เนนงานสาธารณสุขมูลฐาน สรางมาตรฐานตลาดสด/ โรงฆาสัตว”
วิสัยทัศน (VISION) กองการศึกษา
“วัฒนธรรมล้าค่า พัฒนาคุณภาพชีวิต ยกระดับศูนยพัฒนาเด็กเล็ก ใหไดมาตรฐาน”
ยุทธศาสตรและแนวทางการพัฒนาเทศบาลตาบลธงธานี
ยุทธศาสตรที่ ๑ ยุทธศาสตรการพัฒนาดานโครงสรางพื้นฐาน แนวทางการพัฒนา
๑.๑ กอสราง ปรับปรุง บารุงรักษาถนน สะพาน ทางเทาทางระบายน้าและที่จอดรถ
๑.๒ จัดใหมี ปรับปรุงและบารุงรักษาสาธารณูปโภคและสาธารณูปการใหมีอยางทั่วถึงและเพียงพอ
๑.๓ จัดใหมีการวางผังเมือง
๑.๔ จัดใหมีการพัฒนา ปรับปรุงและบารุงรักษาพื้นที่สาธารณประโยชนของชุมชน
ยุทธศาสตรที่ ๒ ยุทธศาสตรการพัฒนาดานการทองเที่ยว แนวทางการพัฒนา
๒.๑ บารุงรักษา ปรับปรุงพัฒนาและอนุรักษแหลงทองเที่ยวทางประวัติศาสตร ศาสนสถาน แหลงทองเที่ยว
ทางธรรมชาติตาง ๆ
๒.๒ สงเสริมการประชาสัมพันธแหลงทองเที่ยวของจังหวัดใหเปนที่รูจักของนักทองเที่ยวทั้งในและตาง
ประเทศ
๒.๓ จัดใหมีและอบรมพัฒนาความรูใหกับมัคคุเทศกทองถิ่น
๒.๔ สงเสริมสนับสนุนกิจกรรมเกี่ยวกับการทองเที่ยวของจังหวัด
๒.๕ สงเสริมการทองเที่ยวเชิงกีฬา
๒.๖ สงเสริมการทองเที่ยวเชิงอนุรักษและเชิงเกษตร
๒.๗ สนับสนุนการสรางโครงขายเสนทางทองเที่ยวเชื่อมตอกับจังหวัดใกลเคียง
๒.๘ สนับสนุนและยกระดับการจัดงานวันขาวหอมมะลิ ใหเปนงานประเพณีสาคัญประจาปของจังหวัดรอย
เอ็ด
ยุทธศาสตรที่ ๓ ยุทธศาสตรการพัฒนาดานการศึกษา ศาสนาและวัฒนาธรรมแนวทางการพัฒนา
๓.๑ สงเสริมและสนับสนุนการศึกษาขั้นพื้นฐานใหมีอยางเพียงพอทั่วถึงและไดมาตรฐาน
๓.๒ เพิ่มชองทางในการรับรูขอมูลขาวสารใหแกประชาชน
๓.๓ สงเสริมและสนับสนุนการศึกษาใหสอดคลอง และสามารถตอบสนองตอ การดารงชีวิตตามแบบวิถีชุมชน
ตามแนวพระราชดาริเศรษฐกิจพอเพียง
๓.๔ สงเสริม สืบสานจารีตประเพณีและวัฒนธรรมอันดีงามใหคงอยูคูกับทองถิ่นตลอดไป
๓.๕ เสริมสราง สนับสนุนและสงเสริมใหเยาวชนมีคุณธรรม จริยธรรม ดารงตนอยูในสังคมปจจุบัน อยางรูเทา
ทันและมีความสุขตามวิถีวัฒนธรรมไ
๓.๖ สงเสริมใหมีการจัดตั้งศูนยพัฒนาเด็กเล็กที่มีมาตรฐานเปนศูนยตนแบบการสอน แบบ “มอนเตสซอรี่”
๓.๗ การพัฒนาคนใหมีคุณธรรม นาความรูเกิดภูมิคุมกัน
ยุทธศาสตรที่ ๕ ยุทธศาสตรการพัฒนาดานเศรษฐกิจแนวทางการพัฒนา
๔.๑ สนับสนุนการพัฒนา ใหความรูและสงเสริมอาชีพแกประชาชนใหมีรายไดเพียงพอและทั่วถึง
๔.๒ จัดใหมีและบารุงรักษาแหลงน้ําใหมีอยางเพียงพอในการประกอบอาชีพแกประชาชน
๔.๓ สงเสริมการนาภูมิปญญาทองถิ่นมาปรับใชในการประกอบอาชีพ
๔.๔ จัดใหมี บารุงรักษาและควบคุมตลาดเพื่อรองรับสินคาที่ประชาชนผลิตได
๔.๕ สงเสริมการดาเนินชีวิตตามแนวพระราชดาริเศรษฐกิจพอเพียง และสงเสริมระบบเกษตรอินทรียใหเกิด
เป็นรูปธรรมเพื่อเปนแหลงเรียนรูตนแบบ
ยุทธศาสตรที่ ๕ ยุทธศาสตรการพัฒนาดานสังคมและสิ่งแวดลอมแนวทางการพัฒนา
๕.๑ มุงเนนการปองกัน โดยพัฒนาสภาพแวดลอมชุมชนและสงเสริมสุขภาพอนามัยชีวิตความเปนอยูของ
ประชาชน
๕.๒ สนับสนุนการปองกันและแกไขปญหายาเสพติดและความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสินของประชาชน
๕.๓ สรางจิตสานึกและความตระหนักในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม โดยสงเสริมใหมีการ
ใชทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยูอยางจากัดใหเกิดความคุมคา เกิด ประโยชนสูงสุดและคงอยูกับชุมชนไดอยาง
ยั่งยืน
๕.๔ จัดใหมีระบบบาบัดน้าเสีย
๕.๕ บาบัดและจัดการขยะ
๕.๖ สงเสริมและสนับสนุนใหมีการอนุรักษและฟนฟูสิ่งแวดลอม และทรัพยากรธรรมชาติ
๕.๗ เสริมสรางมาตรการปองกันและบรรเทาสาธารณภัย
๕.๘ สงเสริมกิจการ พัฒนาคุณภาพชีวิตเด็ก สตรี คนชรา ผูดอยโอกาสทางสังคม และการสังคมสงเคราะห
๕.๙ สงเสริมประชาธิปไตย ความเสมอภาค และสิทธิเสรีภาพของประชาชน
๕.๑๐ สงเสริมการรักษาวินัยดานการจราจรใหกับประชาชน
๕.๑๑ จัดใหมี ปรับปรุงและพัฒนาสวนสุขภาพในชุมชน 1 แหง / 1 ทองถิ่น
๕.๑๒ รณรงคและประชาสัมพันธแนวทางการปฏิบัติตาม พ.ร.บ.วาดวยการขุดดินและถมดินพ.ศ.๒๕๔๓ และ
กฎหมายที่เกี่ยวของ
๕.๑๓ สนับสนุนการจัดใหมีและเสริมสรางความเขมแข็งใหกับอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือนทุกทองถิ่น
ยุทธศาสตรที่ ๖ ยุทธศาสตรดานอื่นๆ ที่สอดคลองกับนโยบายรัฐบาล แผนยุทธศาสตรการพัฒนา
กลุ่มจังหวัด ยุทธศาสตรการพัฒนาของจังหวัด และเจตนารมณของประชาชนในพื้นที่แนวทางการพัฒนา
๖.๑ สงเสริมสนับสนุนเกี่ยวกับการดาเนินงานของอาสาสมัครสาธารสุขหมูบานและกลุมอื่น ๆ
๖.๒ สงเสริมใหประชาชนมีสวนรวมในการพัฒนาทองถิ่น
๖.๓ สงเสริมใหมีการปองกันและแกไขปญหาน้าทวม/ฝนแลง ในระยะยาวอยางตอเนื่อง
๖.๔ สงเสริมสนับสนุนให องคกรปกครองสวนทองถิ่น มีความเขมแข็ง
คณะกรรมการได้มีการวิเคราะห์ภารกิจหน้าที่ของแต่ละส่วนราชการดังนี้
๑. สานักปลัดเทศบาล
บทบาทอานาจหน้าที่
สานักปลัดเทศบาล มีหน้าที่ความรับผิดชอบเกี่ยวกับราชการทั่วไปของเทศบาลและ
ราชการที่ มิได้กาหนดให้เป็นหน้าที่ของกอง หรือส่วนราชการใดในเทศบาลโดยเฉพาะ รวมทั้งกากับและ
เร่งรัดการปฏิบัติราชการของส่วนราชการในเทศบาลให้เป็นไปตามนโยบาย แนวทาง และแผนการปฏิบัติ
ราชการของเทศบาล และปฏิบัติหน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้องและที่ได้รับมอบหมาย
๒. กองคลัง
บทบาทอานาจหน้าที่
กองคลัง มีหน้าที่ความรับผิดชอบเกี่ยวกับงานการจ่ายเงิน การรับ การนาส่งเงิน การเก็บ รักษา
เงิน และเอกสารทางการเงิน การตรวจสอบใบสาคัญ ฎีกา งานเกี่ยวกับเงินเดือน ค่าจ้าง ค่าตอบแทน เงิน
บาเหน็จ บานาญ เงินอื่น ๆ งานเกี่ยวกับการจัดทางบประมาณฐานะทางการเงิน การจัดสรรเงินต่าง ๆ การ
จัดทาบัญชีทุกประเภท ทะเบียนคุมเงินรายได้และรายจ่ายต่าง ๆ การควบคุมการเบิกจ่าย งานทางบทดรอง
ประจาเดือน ประจาปี งานเกี่ยวกับการพัสดุของเทศบาล และปฏิบัติหน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้องและที่ได้รับ
มอบหมาย
๓. กองช่าง
บทบาทอานาจหน้าที่
กองช่าง มีหน้าที่ความรับผิดชอบเกี่ยวกับการสารวจ ออกแบบ การจัดทาข้อมูลทางด้านวิศวกรรม
การจัดเก็บและทดสอบคุณภาพวัสดุ งานออกแบบและเขียนแบบ การตรวจสอบการก่อสร้าง งานการ
ควบคุมอาคารตามระเบียบกฎหมาย งานแผนการปฏิบัติงานการก่อสร้างและซ่อมบารุง งานแผนงานด้าน
วิศวกรรมเครื่องจักรกล การรวบรวมประวัติ ติดตาม ควบคุมการปฏิบัติงานเครื่องจักรกล การควบคุม การ
บารุงรักษาเครื่องจักรกลและยานพาหนะ งานเกี่ยวกับแผนงาน ควบคุม เก็บรักษา การเบิกจ่ายวัสดุอุปกรณ์
อะไหล่ น้ามันเชื้อเพลิง การจัดการสิ่งแวดล้อมด้านวัสดุใช้แล้ว(ขยะ) การจัดการคุณภาพน้า การควบคุม
ออกแบบและก่อสร้างอาคารโรงงานที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม การควบคุมดูแล รักษา ตรวจสอบระบบ
บาบัดน้าเสีย และมลพิษในด้านอื่น ๆ และปฏิบัติหน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้องและที่ได้รับมอบหมาย
๔. กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม
บทบาทอานาจหน้าที่
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม มีหน้าที่ความรับผิดชอบเกี่ยวกับการสาธารณสุขชุมชน การ
ส่งเสริมสุขภาพและอนามัย การป้องกันโรคติดต่อ งานด้านสุขาภิบาลและอนามัยสิ่งแวดล้อม การรักษาความ
สะอาด การให้บริการด้านสาธารณสุข งานด้านสัตวแพทย์ และการรักษาพยาบาลเบื้องต้น แบ่งส่วนราชการ
ภายในออกเป็น ๒ ฝ่าย คือ
๕. กองการศึกษา
บทบาทอานาจหน้าที่
กองการศึกษา มีหน้าที่ความรับผิดชอบเกี่ยวกับการบริหารการศึกษาและพัฒนาการศึกษา ทั้ง
การศึกษาในระบบการศึกษาและการศึกษาตามอัธยาศัย เช่น การจัดการศึกษาปฐมวัย อนุบาลศึกษา
ประถมศึกษา มัธยมศึกษา และอาชีวศึกษา โดยมีงานธุรการ งานการเจ้าหน้าที่ งานกิจการนักเรียน งาน
โรงเรียน งานนิเทศและประกันคุณภาพการศึกษา งานส่งเสริมประเพณี ศิลปวัฒนธรรม แบ่งส่วนราชการ
ภายในออกเป็น ๓ ฝ่าย คือ
นอกจากนี้ เทศบาลตาบลธงธานีได้กาหนดวิธีการดาเนินการตามภารกิจสอดคล้องกับแผนพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แผนพัฒนาจังหวัด แผนพัฒนาอาเภอ แผนพัฒนา ๓ ปี แผนพัฒนาหมู่บ้าน
และนโยบายรัฐบาล ตลอดจนนโยบายของผู้บริหารท้องถิ่น เพื่อให้สามารถวิเคราะห์ภารกิจให้ตรงกับสภาพ
ปัญหา โดยสามารถกาหนดแบ่งภารกิจได้เป็น ๗ ด้าน ซึ่งภารกิจดังกล่าวกาหนดอยู่ในพระราชบัญญัติ
เทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ รวมถึงฉบับแก้ไขเพิ่มเติมทุกฉบับ และตามพระราชบัญญัติกาหนดแผนและขั้นตอน
การกระจายอานาจให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๒ รวมถึงฉบับแก้ไขเพิ่มเติมทุกฉบับ ดังนี้
๑. ด้านโครงสร้างพื้นฐาน มีภารกิจที่เกี่ยวข้องดังนี้
(๑) การจัดให้มีและบารุงรักษาทางบกทางน้า และทางระบายน้า (พ.ร.บ.กาหนดแผนและ
ขั้นตอนการกระจายอานาจฯ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๖ (๒) และ พ.ร.บ. เทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ มาตรา ๕๐(๒)
มาตรา ๕๑(๘)
(๒) ให้มีน้าสะอาดและการประปาฯ (พ.ร.บ.เทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ มาตรา ๕๑(๑)
(๓) ให้มีการบารุงไฟฟ้าหรือแสงสว่างอื่น ( พ.ร.บ.เทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ มาตรา๕๑(๗)
(๔) การสาธารณูปโภคและการก่อสร้างอื่นๆ (พ.ร.บ. กาหนดแผนและขั้นตอนการกระจาย
อานาจ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๖(๔)
(๕) การสาธารณูปการ (พ.ร.บ. กาหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอานาจ พ.ศ. ๒๕๔๒
มาตรา ๑๖(๕)
(๖) หน้าที่เกี่ยวกับโครงสร้างพื้นฐานตามที่กฎหมายบัญญัติให้เป็นหน้าที่ของเทศบาลตาบล
(พ.ร.บ.เทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ มาตรา ๕๐(๙)
๒. ด้านส่งเสริมคุณภาพชีวิต มีภารกิจที่เกี่ยวข้องดังนี้
(๑) การส่งเสริมการฝึก และการประกอบอาชีพของประชาชน (พ.ร.บ.กาหนดแผนและ
ขั้นตอนการกระจายอานาจฯ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๖(๖)
(๒) การป้องกันและระงับโรคติดต่อ ( พ.ร.บ.เทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ มาตรา ๕๐(๔)
(๓) การสังคมสงเคราะห์และพัฒนาคุณภาพชีวิต เด็ก สตรี คนชรา และผู้ด้อยโอกาส
(พ.ร.บ. กาหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอานาจ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๖(๑๐)
(๔) การส่งเสริมประชาธิปไตย ความเสมอภาค และสิทธิเสรีภาพของประชาชน (พ.ร.บ.
กาหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอานาจ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๖(๕)
(๕) ปรับปรุงแหล่งชุมชนแออัดและการจัดการเกี่ยวกับที่อยู่อาศัย (พ.ร.บ. กาหนดแผนและ
ขั้นตอนการกระจายอานาจ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๖(๒)
(๖) การสาธารณสุข การอนามัยครอบครัว และการรักษาพยาบาล (พ.ร.บ. กาหนดแผน
และขั้นตอนการกระจายอานาจ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๖(๙)
(๗) ให้ราษฎรได้รับการศึกษาอบรม (พ.ร.บ.เทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ มาตรา ๕๐(๖)
๓. ด้านการจัดระเบียบชุมชน สังคม และการรักษาความสงบเรียบร้อย มีภารกิจที่เกี่ยวข้อง ดังนี้
(๑) การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (พ.ร.บ. กาหนดแผนและขั้นตอนการกระจาย
อานาจ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๖(๒๙)
(๒) การรักษาความสงบเรียบร้อย การส่งเสริมสนับสนุนการป้องกันและรักษาความ
ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน (พ.ร.บ. กาหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอานาจ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๖
(๓๐)
(๓) การผังเมือง (พ.ร.บ. กาหนดแผน และขั้นตอนการกระจายอานาจ พ.ศ. ๒๕๔๒
มาตรา ๑๖(๒๕)
(๔) จัดให้มีที่จอดรถ (พ.ร.บ. กาหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอานาจ พ.ศ. ๒๕๔๒
มาตรา ๑๖(๓)
(๕) การรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง (พ.ร.บ.
กาหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอานาจ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๖(๑๗)
(๖) การควบคุมอาคาร (พ.ร.บ. กาหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอานาจ พ.ศ.
มาตรา ๑๖(๒๘)
(๗) ให้มีเครื่องใช้ในการดับเพลิง (พ.ร.บ.เทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ มาตรา ๕๐(๕)
(๘) การรักษาความสงบเรียบร้อยของประชาชน (พ.ร.บ.เทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖
มาตรา ๕๐(๑)
๔ ด้านการวางแผน การส่งเสริมการลงทุน พานิชยกรรมและการท่องเที่ยว มีภารกิจที่เกี่ยวข้อง
ดังนี้
(๑) บารุงและส่งเสริมการทามาหากินของราษฎร (พ.ร.บ.เทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖
มาตรา ๕๐(๕) )
(๒) ให้มีตลาด (พ.ร.บ.เทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ มาตรา ๕๑(๓) )
(๓) การส่งเสริมการท่องเที่ยว (พ.ร.บ. กาหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอานาจ พ.ศ.
๒๕๔๒ มาตรา ๑๖(๘) )
(๔) เทศพาณิชย์ (พ.ร.บ.เทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ มาตรา ๕๑(๙) )
(๕) การส่งเสริมการฝึกและประกอบอาชีพ (พ.ร.บ. กาหนดแผนและขั้นตอนการกระจาย
อานาจ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๖(๖) )
(๖) การพาณิชย์และส่งเสริมการลงทุน (พ.ร.บ. กาหนดแผนและขั้นตอนการกระจาย
อานาจ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๖(๗) )
๕. ด้านการบริหารจัดการและการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มีภารกิจ
ที่เกี่ยวข้องดังนี้
(๑) การดูแลรักษาที่สาธารณะ (พ.ร.บ. กาหนดแผนและขั้นตอนการกระจาย
อานาจ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๖(๒๗) )
(๒) การกาจัดขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล น้าเสีย (พ.ร.บ. กาหนดแผนและขั้นตอนการ
กระจายอานาจ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๖(๑๘) )
(๓) การจัดการ การบารุงรักษา และการใช้ประโยชน์จากป่าไม้ ที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อม (พ.ร.บ. กาหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอานาจ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๖(๒๔) )
(๔) การจัดให้มีและบารุงรักษาสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ (พ.ร.บ. กาหนดแผนและขั้นตอน
การกระจายอานาจ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๖(๑๓) )
๖. ด้านการศาสนาศิลปวัฒนธรรมจารีตประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่น มีภารกิจที่เกี่ยวข้องดังนี้
(๑) บารุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่นและวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่น
(พ.ร.บ.เทศบาล พ.ศ. 2496 มาตรา50 (8) )
(๒) การจัดการศึกษา (พ.ร.บ. กาหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอานาจ พ.ศ. ๒๕๔๒
มาตรา ๑๖(๙) )
(๓) การส่งเสริมกีฬา (พ.ร.บ. กาหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอานาจ พ.ศ. ๒๕๔๒
มาตรา ๑๖(๑๔) )
(๔) หน้าที่อื่นตามที่กฎหมายบัญญัติให้เป็นหน้าที่ของเทศบาล
๗. ด้านการบริหารจัดการและการสนับสนุนการปฏิบัติภารกิจของส่วนราชการและองค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น มีภารกิจที่เกี่ยวข้อง ดังนี้
(๑) การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นของตนเอง (พ.ร.บ. กาหนดแผนและขั้นตอนการกระจาย
อานาจ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๖(๑) )
(๒) การส่งเสริมประชาธิปไตย ความเสมอภาคและสิทธิเสรีภาพของประชาชน (พ.ร.บ.
กาหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอานาจ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๖(๑๕) )
(๓) ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของราษฎรในการพัฒนาท้องถิ่น (พ.ร.บ. กาหนดแผนและ
ขั้นตอนการกระจายอานาจ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๖(๑๖) )
(๔) กิจการอื่นใดที่เป็นผลประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นตามที่คณะกรรมการประกาศ
กาหนด (พ.ร.บ. กาหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอานาจ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๖(๓๑) )
ภารกิจทั้ง ๗ ด้าน ตามที่กฎหมายกาหนดให้อานาจเทศบาลตาบลสามารถจะแก้ไขปัญหา
ของเทศบาลตาบลธงธานี ได้เป็นอย่างดี มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดยคานึงถึงความต้องการของ
ประชาชนในพื้นที่ประกอบด้วย การดาเนินการของเทศบาลตาบล จะต้องสอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมแห่งชาติ แผนพัฒนาจังหวัด แผนพัฒนาอาเภอ แผนพัฒนา ๓ ปี ของเทศบาลตาบลธงธานี
นโยบายของรัฐบาลและนโยบายของผู้บริหารเทศบาลตาบลธงธานีเป็นสาคัญ
เทศบาลตาบลธงธานีได้นาภารกิจที่ได้วิเคราะห์ตามข้อ ๕ นามากาหนดภารกิจหลัก และภารกิจรอง
พิจารณาเห็นว่า สมควรกาหนดภารกิจหลัก และภารกิจรอง ดังนี้
ภารกิจหลัก
๑. การปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐาน
๒. การพัฒนาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
๓. การพัฒนาการเมืองและการบริหาร
๔. การพัฒนาและปรับปรุงแหล่งท่องเที่ยว
๕. การพัฒนาและส่งเสริมอาชีพ
๖. การสาธารณูปโภคสาธารณูปการอื่น ๆ
๗. การสาธารณสุข การอนามัยครอบครัว
๘. การจัดการศึกษา
๙. การบารุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณีภูมิปัญญาท้องถิ่น
๑๐. กิจกรรมนันทนาการแก่เยาวชน
๖. ภารกิจหลัก และภารกิจรอง ที่เทศบาลตาบลธงธานีจะดาเนินการ
ภารกิจรอง
๑. การรักษาพยาบาล
๒. การจัดการ การบารุงและการใช้ประโยชน์จากป่าไม้ ที่ดิน
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
๓. การส่งเสริมการเกษตร
๔. การสนับสนุนและส่งเสริมอุตสาหกรรมในครัวเรือน
๕. การฟื้นฟูวัฒนธรรมและส่งเสริมประเพณีท้องถิ่น
เทศบาลตาบลธงธานี ได้กาหนดโครงสร้างการแบ่งส่วนราชการออกเป็น ๑ หน่วยตรวจสอบและ
6 ส่วนราชการ ได้แก่
๑) สานักปลัดเทศบาล
๒) กองคลัง
๓) กองช่าง
๔) กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม
๕) กองการศึกษา
๖) กองประปา
ทั้งนี้ แผนอัตรากาลัง ๓ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑-๒๕๖๓) เทศบาลตาบลธงธานีได้กาหนดกรอบอัตรากาลัง
ไว้ดังนี้ พนักงานกรอบอัตรากาลัง ๗๑ อัตรา พนักงานเทศบาลทั้งสิ้น 40 อัตรา ลูกจ้างประจา ๒ อัตรา
พนักงานจ้างตามภารกิจ ๔ อัตรา และพนักงานจ้างทั่วไป ๑๘ อัตรา จานวนพนักงานเทศบาล ลูกจ้าง
และพนักงานจ้าง มีความเหมาะสมเพียงพอกับปริมาณงานของแต่ละส่วนราชการ เทศบาลตาบลธงธานี จึง
ไม่ได้กาหนดกรอบอัตรากาลังเพิ่มขึ้น เพียงแต่มีการโยกเกลี่ยตาแหน่งพนักงานจ้างทั่วไปจากกองการศึกษา
ไปสังกัดกองคลัง ๑ ตาแหน่ง ๑ อัตรา และได้มีการคานวณมีภาระค่าใช้จ่ายด้านบุคลากร ตาม
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ.๒๕๔๒
๗. สรุปปัญหาและแนวทางในการกาหนดโครงสร้างส่วนราชการและกรอบอัตรากาลัง
ภาคผนวก
แผนอัตรากำลัง3ปี
แผนอัตรากำลัง3ปี
แผนอัตรากำลัง3ปี
แผนอัตรากำลัง3ปี
แผนอัตรากำลัง3ปี
แผนอัตรากำลัง3ปี
แผนอัตรากำลัง3ปี
แผนอัตรากำลัง3ปี
แผนอัตรากำลัง3ปี
แผนอัตรากำลัง3ปี
แผนอัตรากำลัง3ปี
แผนอัตรากำลัง3ปี
แผนอัตรากำลัง3ปี
แผนอัตรากำลัง3ปี
แผนอัตรากำลัง3ปี
แผนอัตรากำลัง3ปี
แผนอัตรากำลัง3ปี
แผนอัตรากำลัง3ปี
แผนอัตรากำลัง3ปี
แผนอัตรากำลัง3ปี
แผนอัตรากำลัง3ปี
แผนอัตรากำลัง3ปี
แผนอัตรากำลัง3ปี
แผนอัตรากำลัง3ปี
แผนอัตรากำลัง3ปี
แผนอัตรากำลัง3ปี
แผนอัตรากำลัง3ปี
แผนอัตรากำลัง3ปี
แผนอัตรากำลัง3ปี
แผนอัตรากำลัง3ปี
แผนอัตรากำลัง3ปี
แผนอัตรากำลัง3ปี
แผนอัตรากำลัง3ปี
แผนอัตรากำลัง3ปี
แผนอัตรากำลัง3ปี
แผนอัตรากำลัง3ปี
แผนอัตรากำลัง3ปี
แผนอัตรากำลัง3ปี
แผนอัตรากำลัง3ปี
แผนอัตรากำลัง3ปี
แผนอัตรากำลัง3ปี
แผนอัตรากำลัง3ปี
แผนอัตรากำลัง3ปี
แผนอัตรากำลัง3ปี
แผนอัตรากำลัง3ปี
แผนอัตรากำลัง3ปี
แผนอัตรากำลัง3ปี
แผนอัตรากำลัง3ปี
แผนอัตรากำลัง3ปี

More Related Content

What's hot

แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2560 - 2563)
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2560 - 2563)แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2560 - 2563)
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2560 - 2563)
Kanjana thong
 
นักวิชาการเงินและบัญชี(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)
 นักวิชาการเงินและบัญชี(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ) นักวิชาการเงินและบัญชี(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)
นักวิชาการเงินและบัญชี(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)
ประพันธ์ เวารัมย์
 
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2557-2561) ของเทศบาลตำบลท่าเสา
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2557-2561) ของเทศบาลตำบลท่าเสาแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2557-2561) ของเทศบาลตำบลท่าเสา
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2557-2561) ของเทศบาลตำบลท่าเสา
Kanjana thong
 
กลยุทธ์ที่ 3 การพัฒนาสื่อ เทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้ในสถานศึกษา
กลยุทธ์ที่ 3 การพัฒนาสื่อ เทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้ในสถานศึกษากลยุทธ์ที่ 3 การพัฒนาสื่อ เทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้ในสถานศึกษา
กลยุทธ์ที่ 3 การพัฒนาสื่อ เทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้ในสถานศึกษา
จุลี สร้อยญานะ
 
แนวข้อสอบวิชา ระบบราชการไทย
แนวข้อสอบวิชา ระบบราชการไทยแนวข้อสอบวิชา ระบบราชการไทย
แนวข้อสอบวิชา ระบบราชการไทยOppo Optioniez
 
แผนปฏิบัติการ ปีงบประมาณ 2561
แผนปฏิบัติการ ปีงบประมาณ 2561แผนปฏิบัติการ ปีงบประมาณ 2561
แผนปฏิบัติการ ปีงบประมาณ 2561
ประชาสัมพันธ์ สพป.สตูล
 
วุฒิสมัครนักทรัพยากรบุคคล
วุฒิสมัครนักทรัพยากรบุคคลวุฒิสมัครนักทรัพยากรบุคคล
วุฒิสมัครนักทรัพยากรบุคคล
ประพันธ์ เวารัมย์
 
บริหารราชการไทย 1
บริหารราชการไทย 1บริหารราชการไทย 1
บริหารราชการไทย 1Saiiew
 
บริหารราชการไทย 5
บริหารราชการไทย 5บริหารราชการไทย 5
บริหารราชการไทย 5Saiiew
 
คู่มือการปฏิบัติงานกลุ่มนโยบายและแผน
คู่มือการปฏิบัติงานกลุ่มนโยบายและแผนคู่มือการปฏิบัติงานกลุ่มนโยบายและแผน
คู่มือการปฏิบัติงานกลุ่มนโยบายและแผน
ประชาสัมพันธ์ สพป.สตูล
 
บริหารราชการไทย 4
บริหารราชการไทย 4บริหารราชการไทย 4
บริหารราชการไทย 4Saiiew
 
Smart teacher khemjira5410305-h
Smart teacher khemjira5410305-hSmart teacher khemjira5410305-h
Smart teacher khemjira5410305-h
Khemjira_P
 
คุณวุฒินักวิเคราะห์นโยบายและแผน ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
คุณวุฒินักวิเคราะห์นโยบายและแผน ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นคุณวุฒินักวิเคราะห์นโยบายและแผน ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
คุณวุฒินักวิเคราะห์นโยบายและแผน ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ประพันธ์ เวารัมย์
 
Printing - กระบวนการการผลิตวารสาร
Printing - กระบวนการการผลิตวารสารPrinting - กระบวนการการผลิตวารสาร
Printing - กระบวนการการผลิตวารสาร
Ploykarn Lamdual
 
นักจัดการงานทั่วไป(ปฏิบัติการ ชำนาญการพิเศษ)
นักจัดการงานทั่วไป(ปฏิบัติการ ชำนาญการพิเศษ)นักจัดการงานทั่วไป(ปฏิบัติการ ชำนาญการพิเศษ)
นักจัดการงานทั่วไป(ปฏิบัติการ ชำนาญการพิเศษ)
ประพันธ์ เวารัมย์
 

What's hot (17)

แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2560 - 2563)
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2560 - 2563)แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2560 - 2563)
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2560 - 2563)
 
นักวิชาการเงินและบัญชี(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)
 นักวิชาการเงินและบัญชี(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ) นักวิชาการเงินและบัญชี(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)
นักวิชาการเงินและบัญชี(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)
 
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2557-2561) ของเทศบาลตำบลท่าเสา
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2557-2561) ของเทศบาลตำบลท่าเสาแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2557-2561) ของเทศบาลตำบลท่าเสา
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2557-2561) ของเทศบาลตำบลท่าเสา
 
กลยุทธ์ที่ 3 การพัฒนาสื่อ เทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้ในสถานศึกษา
กลยุทธ์ที่ 3 การพัฒนาสื่อ เทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้ในสถานศึกษากลยุทธ์ที่ 3 การพัฒนาสื่อ เทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้ในสถานศึกษา
กลยุทธ์ที่ 3 การพัฒนาสื่อ เทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้ในสถานศึกษา
 
แนวข้อสอบวิชา ระบบราชการไทย
แนวข้อสอบวิชา ระบบราชการไทยแนวข้อสอบวิชา ระบบราชการไทย
แนวข้อสอบวิชา ระบบราชการไทย
 
แผนปฏิบัติการ ปีงบประมาณ 2561
แผนปฏิบัติการ ปีงบประมาณ 2561แผนปฏิบัติการ ปีงบประมาณ 2561
แผนปฏิบัติการ ปีงบประมาณ 2561
 
วุฒิสมัครนักทรัพยากรบุคคล
วุฒิสมัครนักทรัพยากรบุคคลวุฒิสมัครนักทรัพยากรบุคคล
วุฒิสมัครนักทรัพยากรบุคคล
 
บริหารราชการไทย 1
บริหารราชการไทย 1บริหารราชการไทย 1
บริหารราชการไทย 1
 
บริหารราชการไทย 5
บริหารราชการไทย 5บริหารราชการไทย 5
บริหารราชการไทย 5
 
โครงร่างวิทยานิพนธ์วุฒิ
โครงร่างวิทยานิพนธ์วุฒิโครงร่างวิทยานิพนธ์วุฒิ
โครงร่างวิทยานิพนธ์วุฒิ
 
คู่มือการปฏิบัติงานกลุ่มนโยบายและแผน
คู่มือการปฏิบัติงานกลุ่มนโยบายและแผนคู่มือการปฏิบัติงานกลุ่มนโยบายและแผน
คู่มือการปฏิบัติงานกลุ่มนโยบายและแผน
 
บริหารราชการไทย 4
บริหารราชการไทย 4บริหารราชการไทย 4
บริหารราชการไทย 4
 
Smart teacher khemjira5410305-h
Smart teacher khemjira5410305-hSmart teacher khemjira5410305-h
Smart teacher khemjira5410305-h
 
คุณวุฒินักวิเคราะห์นโยบายและแผน ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
คุณวุฒินักวิเคราะห์นโยบายและแผน ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นคุณวุฒินักวิเคราะห์นโยบายและแผน ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
คุณวุฒินักวิเคราะห์นโยบายและแผน ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
 
Chapter 4
Chapter 4Chapter 4
Chapter 4
 
Printing - กระบวนการการผลิตวารสาร
Printing - กระบวนการการผลิตวารสารPrinting - กระบวนการการผลิตวารสาร
Printing - กระบวนการการผลิตวารสาร
 
นักจัดการงานทั่วไป(ปฏิบัติการ ชำนาญการพิเศษ)
นักจัดการงานทั่วไป(ปฏิบัติการ ชำนาญการพิเศษ)นักจัดการงานทั่วไป(ปฏิบัติการ ชำนาญการพิเศษ)
นักจัดการงานทั่วไป(ปฏิบัติการ ชำนาญการพิเศษ)
 

Similar to แผนอัตรากำลัง3ปี

แผนอัตรากำลัง 3 ปี ท่าวังตาล(2558 2560)
แผนอัตรากำลัง 3 ปี ท่าวังตาล(2558 2560)แผนอัตรากำลัง 3 ปี ท่าวังตาล(2558 2560)
แผนอัตรากำลัง 3 ปี ท่าวังตาล(2558 2560)
เทศบาลตำบลท่าวังตาล
 
แผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์แผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์0884045430
 
ตัวอย่างข้อตกลงการปฏิบัติราชการ
ตัวอย่างข้อตกลงการปฏิบัติราชการตัวอย่างข้อตกลงการปฏิบัติราชการ
ตัวอย่างข้อตกลงการปฏิบัติราชการ
อลงกรณ์ อารามกูล
 
1148636319 1
1148636319 11148636319 1
ภารหน้าที่
ภารหน้าที่ภารหน้าที่
ภารหน้าที่
marena06008
 
ส่วนที่ 3
ส่วนที่ 3ส่วนที่ 3
แผนพัฒนาสามปี องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง พ.ศ.2558-2560
แผนพัฒนาสามปี องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง พ.ศ.2558-2560แผนพัฒนาสามปี องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง พ.ศ.2558-2560
แผนพัฒนาสามปี องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง พ.ศ.2558-2560
องค์การบริหารส่วนตำบล ห้วยยาง
 
บรรยายการจัดทำแผน และ งบประมาณ
บรรยายการจัดทำแผน และ งบประมาณบรรยายการจัดทำแผน และ งบประมาณ
บรรยายการจัดทำแผน และ งบประมาณ
ปิยนันท์ ราชธานี
 
PPT การปรับบทบาทกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน.pdf
PPT การปรับบทบาทกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน.pdfPPT การปรับบทบาทกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน.pdf
PPT การปรับบทบาทกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน.pdf
PrasarnKiddee
 
การพัฒนาแผนงานฯด้วยค่ากลาง (เต็ม)
การพัฒนาแผนงานฯด้วยค่ากลาง (เต็ม)การพัฒนาแผนงานฯด้วยค่ากลาง (เต็ม)
การพัฒนาแผนงานฯด้วยค่ากลาง (เต็ม)สปสช นครสวรรค์
 
Sepo 54
Sepo 54Sepo 54
Sepo 54
siriyong
 
Sepo 54
Sepo 54Sepo 54
Sepo 54
siriyong
 
แผนพัฒนาบุคลากร
แผนพัฒนาบุคลากรแผนพัฒนาบุคลากร
แผนพัฒนาบุคลากร
thongtaneethongtanee
 

Similar to แผนอัตรากำลัง3ปี (16)

แผนอัตรากำลัง 3 ปี ท่าวังตาล(2558 2560)
แผนอัตรากำลัง 3 ปี ท่าวังตาล(2558 2560)แผนอัตรากำลัง 3 ปี ท่าวังตาล(2558 2560)
แผนอัตรากำลัง 3 ปี ท่าวังตาล(2558 2560)
 
แผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์แผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์
 
ตัวอย่างข้อตกลงการปฏิบัติราชการ
ตัวอย่างข้อตกลงการปฏิบัติราชการตัวอย่างข้อตกลงการปฏิบัติราชการ
ตัวอย่างข้อตกลงการปฏิบัติราชการ
 
1148636319 1
1148636319 11148636319 1
1148636319 1
 
1148636319 1
1148636319 11148636319 1
1148636319 1
 
ภารหน้าที่
ภารหน้าที่ภารหน้าที่
ภารหน้าที่
 
1148636319 1
1148636319 11148636319 1
1148636319 1
 
ส่วนที่ 3
ส่วนที่ 3ส่วนที่ 3
ส่วนที่ 3
 
แผนพัฒนาสามปี องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง พ.ศ.2558-2560
แผนพัฒนาสามปี องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง พ.ศ.2558-2560แผนพัฒนาสามปี องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง พ.ศ.2558-2560
แผนพัฒนาสามปี องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง พ.ศ.2558-2560
 
บรรยายการจัดทำแผน และ งบประมาณ
บรรยายการจัดทำแผน และ งบประมาณบรรยายการจัดทำแผน และ งบประมาณ
บรรยายการจัดทำแผน และ งบประมาณ
 
PPT การปรับบทบาทกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน.pdf
PPT การปรับบทบาทกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน.pdfPPT การปรับบทบาทกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน.pdf
PPT การปรับบทบาทกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน.pdf
 
การพัฒนาแผนงานฯด้วยค่ากลาง (เต็ม)
การพัฒนาแผนงานฯด้วยค่ากลาง (เต็ม)การพัฒนาแผนงานฯด้วยค่ากลาง (เต็ม)
การพัฒนาแผนงานฯด้วยค่ากลาง (เต็ม)
 
Sepo 54
Sepo 54Sepo 54
Sepo 54
 
Sepo 54
Sepo 54Sepo 54
Sepo 54
 
Sepo 54
Sepo 54Sepo 54
Sepo 54
 
แผนพัฒนาบุคลากร
แผนพัฒนาบุคลากรแผนพัฒนาบุคลากร
แผนพัฒนาบุคลากร
 

More from thongtaneethongtanee

10
1010
9
9 9
8
88
25 05 64_2
25 05 64_225 05 64_2
25 05 64_1
25 05 64_125 05 64_1
Prachum
PrachumPrachum
Cam scanner 05 12-2021 14.40
Cam scanner 05 12-2021 14.40Cam scanner 05 12-2021 14.40
Cam scanner 05 12-2021 14.40
thongtaneethongtanee
 
Cam scanner 05 17-2021 14.14
Cam scanner 05 17-2021 14.14Cam scanner 05 17-2021 14.14
Cam scanner 05 17-2021 14.14
thongtaneethongtanee
 
S1
S1S1
S1
S1S1
Nayok 2
Nayok 2Nayok 2
Rai2
Rai2Rai2
Rai01
Rai01Rai01
03
0303
02
0202
01
0101
Plan
PlanPlan
P2
P2P2
P1
P1P1

More from thongtaneethongtanee (20)

11
1111
11
 
10
1010
10
 
9
9 9
9
 
8
88
8
 
25 05 64_2
25 05 64_225 05 64_2
25 05 64_2
 
25 05 64_1
25 05 64_125 05 64_1
25 05 64_1
 
Prachum
PrachumPrachum
Prachum
 
Cam scanner 05 12-2021 14.40
Cam scanner 05 12-2021 14.40Cam scanner 05 12-2021 14.40
Cam scanner 05 12-2021 14.40
 
Cam scanner 05 17-2021 14.14
Cam scanner 05 17-2021 14.14Cam scanner 05 17-2021 14.14
Cam scanner 05 17-2021 14.14
 
S1
S1S1
S1
 
S1
S1S1
S1
 
Nayok 2
Nayok 2Nayok 2
Nayok 2
 
Rai2
Rai2Rai2
Rai2
 
Rai01
Rai01Rai01
Rai01
 
03
0303
03
 
02
0202
02
 
01
0101
01
 
Plan
PlanPlan
Plan
 
P2
P2P2
P2
 
P1
P1P1
P1
 

แผนอัตรากำลัง3ปี

  • 1.
  • 2. แผนอัตรากาลัง ๓ ปี เทศบาลตาบลธงธานี อาเภอธวัชบุรี จังหวัดร้อยเอ็ด ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๖๓ . งานการเจ้าหน้าที่ สานักปลัดเทศบาล เทศบาลตาบลธงธานี
  • 3. สารบัญ เรื่อง หน้า ๑. หลักการและเหตุผล ๑ ๒. วัตถุประสงค์ ๑ ๓. ขอบเขตและแนวทางในการจัดทาแผนอัตรากาลัง ๓ ปี ๒ ๔. สภาพปัญหา ความต้องการของประชาชนในเขตพื้นที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ๔ ๕. ภารกิจ อานาจหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ๑๒ ๖. ภารกิจหลัก และภารกิจรอง ๑๙ ๗. สรุปปัญหาและแนวทางในการบริหารงานบุคคล ๒๐ ๘.โครงสร้างการกาหนดตาแหน่ง ๒๑ ๙. ภาระค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับเงินเดือน ๒๖ ๑๐.แผนภูมิโครงสร้างการแบ่งส่วนราชการตามแผนอัตรากาลัง ๓ ปี ๓๑ ๑๑.บัญชีแสดงจัดคนลงสู่ตาแหน่งและการกาหนดเลขที่ตาแหน่งในส่วนราชการ ๓๘ ๑๒.แนวทางการพัฒนาข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่น ๔๗ ๑๓.ประกาศคุณธรรม จริยธรรมของข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่น ๔๘ ภาคผนวก คาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการจัดทาแผนอัตรากาลัง รายงานการประชุมคณะกรรมการจัดทาแผนอัตรากาลัง มติคณะกรรมการพนักงานเทศบาล (ก.ท.จ.ร้อยเอ็ด)
  • 4. ๑.๑ ประกาศคณะกรรมการกลางพนักงานเทศบาล (ก.ท.) เรื่องมาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับอัตรา ตาแหน่ง กาหนดให้คณะกรรมการพนักงานเทศบาล (ก.ท.จ) กาหนดตาแหน่งข้าราชการหรือพนักงานส่วน ท้องถิ่น ว่าจะมีตาแหน่งใด ระดับใด อยู่ในส่วนราชการใด จานวนเท่าใด ให้คานึงถึงภาระหน้าที่ความ รับผิดชอบ ลักษณะงานที่ต้องปฏิบัติ ความยาก และคุณภาพ ของงาน ปริมาณ ตลอดจนทั้งภาระค่าใช้จ่าย ของเทศบาล ที่จะต้องจ่ายในด้านบุคคล โดยให้เทศบาลจัดทาแผนอัตรากาลังของพนักงานเทศบาล เพื่อใช้ใน การกาหนดตาแหน่งโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการพนักงานเทศบาล (ก.ท.จ.) ทั้งนี้ ให้เป็นไปตาม หลักเกณฑ์ และวิธีการที่คณะกรรมการกลางพนักงานเทศบาล (ก.ท) กาหนด ๑.๒ คณะกรรมการกลางพนักงานเทศบาล (ก.ท.) ได้มีมติเห็นชอบประกาศกาหนดการ กาหนดตาแหน่งข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่น พนักงานเทศบาล โดยกาหนดแนวทางให้เทศบาล จัดทาแผนอัตรากาลังขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อเป็นกรอบในการกาหนดตาแหน่งและการใช้ตาแหน่ง ข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่น โดยให้เสนอให้คณะกรรมการพนักงานเทศบาล (ก.ท.จ.) พิจารณาให้ ความเห็นชอบ โดยได้กาหนดให้เทศบาล แต่งตั้งคณะกรรมการจัดทาแผนอัตรากาลัง วิเคราะห์อานาจหน้าที่ และภารกิจของเทศบาล วิเคราะห์ความต้องการกาลังคน วิเคราะห์การวางแผนการใช้กาลังคน จัดทากรอบ อัตรากาลัง และกาหนดหลักเกณฑ์และเงื่อนไข ในการกาหนดตาแหน่งข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่น ตามแผนอัตรากาลัง ๓ ปี ๑.๓ จากหลักการและเหตุผลดังกล่าว เทศบาลตาบลธงธานี จึงได้จัดทาแผนอัตรากาลัง ๓ ปี สาหรับปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑-๒๕๖๓ ขึ้น ๒.๑ เพื่อให้เทศบาลตาบลธงธานี มีโครงสร้างการแบ่งงานและระบบงานที่เหมาะสม ไม่ซ้าซ้อน ๒.๒ เพื่อให้เทศบาลตาบลธงธานี มีการกาหนดตาแหน่งการจัดอัตรากาลัง โครงสร้างให้ เหมาะสมกับอานาจหน้าที่ของเทศบาล ตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ และตามพระราชบัญญัติ กาหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอานาจให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๒ และกฎหมายอื่นที่ เกี่ยวข้อง ๒.๓ เพื่อให้คณะกรรมการพนักงานเทศบาล ( ก.ท.จ.) สามารถตรวจสอบการกาหนด ตาแหน่งและการใช้ตาแหน่งข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่นว่าถูกต้องเหมาะสมหรือไม่ ๒.๔ เพื่อเป็นแนวทางในการดาเนินการวางแผนการใช้อัตรากาลังการพัฒนาบุคลากร ของเทศบาลตาบลธงธานี ๒.๕ เพื่อให้เทศบาลตาบลธงธานี สามารถวางแผนอัตรากาลัง ในการบรรจุแต่งตั้งข้าราชการ เพื่อให้การบริหารงานของเทศบาล เกิดประโยชน์ต่อประชาชนเกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจตามอานาจหน้าที่มี ประสิทธิภาพมีความคุ้มค่าสามารถลดขั้นตอนการปฏิบัติงานและมีการลดภารกิจและยุบเลิกหน่วยงานที่ไม่ จาเป็นการปฏิบัติภารกิจสามารถตอบสนองความต้องการของประชาชนได้เป็นอย่างดี ๒.๖ เพื่อให้เทศบาลตาบลธงธานี สามารถควบคุมภาระค่าใช้จ่ายด้านการบริหารงานบุคคล ให้เป็นไปตามที่กฎหมายกาหนด ๑. หลักการและเหตุผล ๒. วัตถุประสงค์
  • 5. คณะกรรมการจัดทาแผนอัตรากาลังของเทศบาลตาบลธงธานี ซึ่งมีนายกเทศมนตรี ตาบลธงธานี เป็นประธาน ปลัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หัวหน้าส่วนราชการ เป็นกรรมการ และมี ข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่น ๑ คน เป็นเลขานุการ จัดทาแผนอัตรากาลัง ๓ ปี โดยมีขอบเขต เนื้อหาครอบคลุมในเรื่องต่างๆ ดังต่อไปนี้ ๓.๑ วิเคราะห์ภารกิจ อานาจหน้าที่ความรับผิดชอบ ของเทศบาลตาบลธงธานี ตาม พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ และตามพระราชบัญญัติแผนและขั้นตอนการกระจายอานาจให้องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๒ ตลอดจนกฎหมายอื่นให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ แผนพัฒนาจังหวัด แผนพัฒนาอาเภอ แผนพัฒนาตาบล นโยบายของรัฐบาล นโยบายผู้บริหาร และ สภาพปัญหาของเทศบาลตาบลธงธานี เพื่อให้การดาเนินการของเทศบาลตาบลธงธานี บรรลุผลตามพันธกิจ ที่ตั้งไว้จาเป็นต้องจัดสรรอัตรากาลัง ตามหน่วยงานต่างๆ ให้เหมาะสมกับเป้าหมายการดาเนินการ โดย มุมมองนี้เป็น การพิจารณรณาว่า งานในปัจจุบันที่ดาเนินการอยู่นั้นครบถ้วนและตรงตามภารกิจหรือไม่ อย่างไร หากงานที่ทาอยู่ในปัจจุบันไม่ตรงกับภารกิจในอนาคต ก็ต้องมีการวางแผน กรอบอัตรากาลังให้ ปรับเปลี่ยนไปตามทิศทางในอนาคต รวมถึงหากงานในปัจจุบันบางส่วนไม่ต้องดาเนินการแล้ว อาจทาให้การ จัดสรรกาลังคนของบางส่วนราชการเปลี่ยนแปลงไป ทั้งนี้ เพื่อให้เกิดการเตรียมความพร้อมในเรื่องกาลังคน ให้รอรับสถานการณ์ในอนาคต ๓.๒ การกาหนดโครงสร้างการแบ่งส่วนราชการภายในและการจัดระบบงาน เพื่อรองรับ ภารกิจตามอานาจหน้าที่ความรับผิดชอบ ให้สามารถแก้ปัญหาของจังหวัดร้อยเอ็ด ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ๓.๓ การวิเคราะห์ต้นทุนค่าใช้จ่ายของกาลังคน : Supply pressure เป็นการนาประเด็น ค่าใช้จ่ายบุคลากรเข้าราร่วมในการพิจารณา เพื่อการจัดการทรัพยากรบุคคลที่มีอยู่เป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพสูงสุด กาหนดตาแหน่งในสายงานต่างๆ จานวนตาแหน่ง และระดับตาแหน่งให้เหมาะสมกับ ภาระหน้าที่ความรับผิดชอบ ปริมาณงาน และคุณภาพของงาน รวมทั้งการสร้างความก้าวหน้าในสายอาชีพ ของกลุ่มงานต่างๆ โดยในส่วนนี้จะคานึงถึง ๓.๓.๑ จัดระดับชั้นงานที่เหมาะสม ในพิจารณาถึงต้นทุนต่อการกาหนดระดับชั้นงานใน แต่ละประเภท เพื่อให้การกาหนดตาแหน่งและการปรับระดับชั้นงานเป็นไปอย่างประหยัด และมี ประสิทธิภาพสูงสุด ๓.๓.๒ การจัดสรรประเภทของบุคลากรท้องถิ่น พนักงานเทศบาล พนักงานครูเทศบาล ลูกจ้างประจาและพนักงานจ้าง โดยหลักการแล้ว การจัดประเภทลักษณะงานผิด จะมีผลกระทบต่อ ประสิทธิภาพ และต้นทุนในการทางานขององค์กร ดังนั้น ในการกาหนดอัตรากาลังข้าราชการหรือพนักงาน ส่วนท้องถิ่นในแต่ละส่วนราชการ จะต้องมีการพิจารณาว่าตาแหน่งที่กาหนดในปัจจุบันมีความเหมาะสม หรือไม่หรือควรเปลี่ยนลักษณะการกาหนดตาแหน่งเพื่อให้การทางานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น โดย ภาระค่าใช้จ่ายด้านการบริหารงานบุคคลต้องไม่เกินร้อยละสี่สิบของงบประมาณรายจ่ายตามาตรา ๓๕ แห่ง พระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๒ ๓.๔ วิเคราะห์กระบวนการและเวลาที่ใช้ในการปฏิบัติงาน เป็นการนาข้อมูลเวลา ที่ใช้ใน การปฏิบัติงานตามกระบวนการจริง (Work process) ในอดีต เพื่อวิเคราะห์ปริมาณงานต่อบุคคลจริงๆ โดย สมมุติฐานที่ว่า งานใดที่ต้องมีกระบวนการและเวลาที่ใช้มากกว่า โดยเปรียบเทียบย่องต้องใช้อัตรากาลังคน มากกว่า อย่างไรก็ดีในภาคราชการส่วนท้องถิ่นนั้นงานบางลักษณะ เช่น งานกาหนดนโนบาย งานมาตรฐาน งานเทคนิคด้านช่าง หรืองานบริการบางประเภทไม่สามารถกาหนดเวลามาตรฐานได้ ดังนั้น การคานวณเวลา ๓. กรอบแนวคิดในการจัดทาแผนอัตรากาลัง ๓ ปี
  • 6. ที่ใช้ในกรณีของภาคราชการส่วนท้องถิ่นนั้นจึงทาได้เพียงเป็นข้อมูลเปรียบเทียบ (Relative information) มากกว่าจะเป็นข้อมูลที่ใช้ในการกาหนดคานวณอัตรากาลังต่อหน่วยหน่วยงานจริงเหมือนในภาคเอกชน นอกจากนั้นก่อนจะคานวณเวลาที่ใช้ในการปฏิบัติงานแต่ละส่วนราชการจะต้อบงพิจารณาปริมาณงาน ลักษณะงานที่ปฏิบัติว่าทีความสอดคล้องกับภารกิจของหน่วยงานหรือไม่ เพราะในบางครั้งอาจเป็นไปได้ว่า งานที่ปฏิบัติอยู่ในปัจจุบันมีลักษณะเป็นงานโครงการพิเศษ หรืองานของหน่วยงานอื่น ก็มีความจาเป็นต้องมา ใช้ประกอบการพิจารณาด้วย ๓.๕ การวิเคราะห์ผลงานที่ผ่านมาเพื่อประกอบการกาหนดกรอบอัตรากาลังเป็นการนา ผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของแต่ละส่วนราชการและพันธกิจขององค์กรมายึดโยงกับจานวนกรอบอัตรากาลังที่ต้อง ใช้สาหรับการสร้างผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ให้ได้ตามเป้าหมาย โดยสมมุติฐานที่ว่า หากผลงานที่ผ่านมา เปรียบเทียบกับผลงานในปัจจุบันและอนาคตมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญ อาจต้องมีการพิจารณา แนวทางในการกาหนด/เกลี่ยอัตรากาลังใหม่ เพื่อให้เกิดการทางานที่มีประสิทธิภาพและสนับสนุนการทางาน ตามภารกิจของส่วนราชการและองค์กรอย่างสูงสุด ๓.๖ การวิเคราะห์ข้อมูลจากความคิดเห็นแบบ ๓๖๐ องศา เป็นการสอบถามความคิดเห็น จากผู้มีส่วนได้เสียหรือนาประเด็นต่างๆ อย่างเรื่องการบริหารงาน งบประมาณ คน มาพิจารณาอย่างน้อยใน ๓ ประเด็น ดังนี้ ๓.๖.๑ เรื่องพื้นที่และการจัดโครงสร้างองค์กร เนื่องจากการจัดโครงสร้างองค์กรและ การแบ่งงานในพื้นที่นั้นจะมีผลต่อการกาหนดกรอบอัตรากาลังเป็นอย่างมาก เช่น หากกาหนดโครงสร้าง องค์กรและการแบ่งงานในพื้นที่นั้นจะมีผลต่อการกาหนดกรอบอัตรากาลังเป็นอย่างมาก เช่น หากกาหนด โครงสร้างที่มากเกินไปจะทาให้เกิดตาแหน่งงานขึ้นตามมาอีกไม่ว่าจะเป็นงานหัวหน้าฝ่าย งานธุรการ สาร บรรณและบริหารทั่วไปในส่วนราชการนั้น ซึ่งอาจมีความจาเป็นต้องทบทวนว่าการกาหนดโครงสร้างใน ปัจจุบันของแต่ละส่วนราชการนั้นมีความเหมะสมมากน้อยเพียงใด ๓.๖.๒ เรื่องการเกษียณอายุราชการ เนื่องจากหลายๆ ส่วนราชการในปัจจุบันมี ข้าราชการสูงอายุจานวนมาก ดังนั้น อาจต้องมีการพิจารณาถึงการเตรียมการเรื่องกรอบอัตรากาลังที่จะ รองรับการเกษียณอายุของข้าราชการ ทั้งนี้ ไม่ว่าจะเป็นการถ่ายทอดองค์ความรู้ การปรับตาแหน่งที่ เหมาะสมขึ้นทดแทนตาแหน่งที่จะเกษียณอายุไป เป็นต้น ๓.๖.๓ ความคิดเห็นของผู้มีส่วนได้เสีย เป็นการสอบถามจากเจ้าหน้าที่ภายในส่วน ราชการและผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับส่วนราชการนั้นๆ ผ่านการส่งแบบสอบถามหรือการสัมภาษณ์ ซึ่งมุมมอง ต่างๆ อาจทาให้การกาหนดกรอบอัตรากาลังเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น ๓.๗ การพิจารณาเปรียบเทียบกับกรอบอัตรากาลังขององค์กรอื่นๆ กระบวนการนี้เป็น กระบวนการนาข้อมูลของอัตรากาลังในหน่วยงานที่มีลักษณะงานใกล้เคียงกัน เช่น การเปรียบเทียบจานวน กรอบอัตรากาลังของงานการเจ้าหน้าที่ในเทศบาล ก. และงานการเจ้าหน้าที่ในเทศบาล ข. ซี่งมีหน้าที่ รับผิดชอบคล้ายกัน โดยสมมติฐานที่ว่า แนวโน้มของการใช้อัตรากาลังของแต่ละองค์กรในลักษณะงานและ ปริมาณงานแบบเดียวกันน่าจะมีจานวนและการกาหนดตาแหน่งคล้ายคลึงกันได้ ๓.๘ ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีแผนการพัฒนาข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่นทุด คน โดยต้องได้รับการพัฒนาความรู้ความสามารถอย่างน้อยปีละ ๑ ครั้ง การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อกาหนดกรอบอัตรากาลังไม่มุ่งเน้นในการเพิ่ม เกลี่ย หรือลดจานวน กรอบอัตรากาลังเป็นสาคัญ แต่มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ส่วนราชการมีแนวทางในการพิจารณากาหนดกรอบ อัตรากาลังที่เป็นระบบมากขึ้น นอกจากนั้นยังมีจุดมุ่งเน้นให้ส่วนราชการพิจารณาการกาหนดตาแหน่งที่
  • 7. เหมาะสม ( Right Jobsป มากกว่าการเพิ่ม/ลดจานวนตาแหน่ง ตัวอย่างเช่น การวิเคราะห์ต้นทุนค่าใช้จ่าย แล้วพบว่าการกาหนดกรอบตาแหน่งในประเภททั่วไปอาจมีความเหมาะสมน้อยกว่าการกาหนดตาแหน่ง ประเภทวิชาการในบางลักษณะงาน ทั้งๆ ที่ใช้ต้นทุนแตกต่างกันมาก รวมถึงในการพิจารณาที่กระบวนการ ทางานก็พบว่าเป็นลักษณะงานในเชิงการวิเคราะห์ในสายอาชีพมากกว่างานในเชิงปฏิบัติงาน และส่วนราชการ อื่นก็กาหนดตาแหน่งในงานลักษณะนี้เป็นตาแหน่งประเภทวิชาการ ถ้าเกิดกรณีเช่นนี้ก็น่าจะมีเหตุผลเพียง พอที่จะกาหนดกรอบอัตรากาลังในลักษณะงานนี้เป็นตาแหน่งประเภทวิชาการ โดยไม่ได้เพิ่มจานวน ตาแหน่งของส่วนราชการเลย โดยสรุปอาจกล่าวได้ว่า กรอบแนวคิดการวิเคราะห์อัตรากาลัง (Effective Man Power Planning Framework) นี้จะเป็นแนวทางให้ส่วนราชการสามารถมีข้อมูลเชิงวิเคราะห์อย่าง เพียงพอในการที่จะอธิบายเหตุผลเชิงวิชาการสาหรับการวางแผนกรอบอัตรากาลังที่เหมาะสมตามภารกิจงาน ของแต่ละส่วนราชการ นอกจากนั้นการรวบรวมข้อมูลโดยวิธีการดังกล่าวจะทาให้ส่วนราชการ สามารถนา ข้อมูลเหล่านี้ไปใช้ประโยชน์ในเรื่องอื่นๆ เช่น - การใช้ข้อมูลที่หลากหลายจะทาให้เกิดการยอมรับได้มากกว่าโดยเปรียบเทียบหาก จะต้องมีการเกลี่ยกาลังระหว่างหน่วยงาน - การจัดทากระบวนการจริง (Work process) จะทาให้ได้เวลามาตรฐานที่จะสามารถ นาไปใช้วัดประสิทธิภาพในการทางานของบุคคลได้อย่างถูกต้อง รวมถึงในระยะยาวส่วนราชการสามารถนาผล การจัดทากระบวนการและเวลามาตรฐานนี้ไปวิเคราะห์เพื่อการปรับปรุงกระบวนการ (Process Re- engineer) อันจะนาไปสู่การใช้อัตรากาลังที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพมากขึ้น - การเก็บข้อมูลผลงานจะทาให้สามารถพยากรณ์แนวโน้มของภาระงาน ซึ่งจะเป็น ประโยชน์ในอนาคตต่อส่วนราชการในการเตรียมปรับยุทธศาสตร์ในการทางาน เพื่อรองรับภารกิจที่จะเพิ่ม/ ลดลง สภาพโดยทั่วไปและข้อมูลพื้นฐานเทศบาลตาบลธงธานี ๑.ข้อมูลสภาพทั่วไป เทศบาลตาบลธงธานี ตั้งอยู่ในเขตอาเภอธวัชบุรี จังหวัดร้อยเอ็ด เปลี่ยนแปลงฐานะมาจาก สุขาภิบาลเป็นเทศบาล เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๔๒ ประกาศราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ ๑๑๖ ตอน ๙ ก ลงวันที่ ๒๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๒ และได้ยุบรวมกับสภาตาบลธงธานี ตามประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ ๑๒๑ ตอนพิเศษ ๑๐๒ ลงวันที่ ๑๕ กันยายน ๒๕๔๗ สภาพโดยทั่วไป ๑.๑ ลักษณะที่ตั้ง เทศบาลตาบลธงธานี มีอาณาเขตการปกครอง ประมาณ ๒๐ ตารางกิโลเมตร โดย ทิศเหนือ ติดต่อกับพื้นที่องค์การบริหารส่วนตาบลเกาะแก้ว อาเภอเสลภูมิ ทิศใต้ ติดต่อกับพื้นที่องค์การบริหารส่วนตาบลบึงนคร อาเภอธวัชบุรี ทิศตะวันออก ติดต่อกับพื้นที่องค์การบริหารส่วนตาบลบึงนคร อาเภอธวัชบุรี ทิศตะวันตก ติดต่อกับพื้นที่องค์การบริหารส่วนตาบลธวัชบุรี อาเภอธวัชบุรี ๔. สภาพปัญหาของพื้นที่และความต้องการของ ประชาชน
  • 8. ๑.๒ จานวนประชากร ปี พ.ศ. จานวนประชากร(ชาย) จานวนประชากร(หญิง) รวม จานวนหลังคาเรือน (หลัง) ๒๕๕๓ ๓,๙๒๐ ๔,๐๔๙ ๗,๙๖๙ ๑,๙๗๔ ๒๕๕๔ ๓,๙๒๑ ๔,๐๖๗ ๗,๙๘๘ ๒,๐๑๘ ๒๕๕๕ ๓,๘๙๘ ๔,๐๕๗ ๗,๙๕๕ ๒,๐๘๙ ๒๕๕๖ ๓,๙๓๗ ๔,๑๑๑ ๘,๐๔๘ ๒,๒๐๔ ๒๕๕๗ ๓,๙๕๑ ๔,๐๙๖ ๘,๐๔๗ ๒,๒๑๒ ๑.๓ ลักษณะอาชีพของประชากร ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพด้านเกษตรกรรม มีรายได้เฉลี่ยต่อหัว ต่อปี ๗๕,๖๘๐ บาท ๑.๔ ลักษณะภูมิประเทศ สภาพพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่มมีแม่น้าชีไหลผ่านและมีหนองน้าในการทาการเกษตรหลายแห่ง มีแม่น้าชีไหลผ่านพื้นที่ทางด้านทิศเหนือและทิศตะวันออก ผ่านพื้นที่ตาบลธงธานี หมู่ที่ ๒,๓,๕,๖,๗ และหมู่ที่ ๘ ๑.๕ ลักษณะภูมิอากาศ เทศบาลตาบลธงธานีมีสภาพภูมิอากาศเป็นแบบมรสุม ๓ ฤด ฤดูร้อน เริ่มตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ ถึงเดือนมิถุนายนของทุกปีซึ่งเดือนที่ร้อนที่สุดคือ เดือนเมษายน ฤดูฝน เริ่มตั้งแต่เดือนพฤษภาคม ถึงเดือนตุลาคมของทุกปี เดือนที่มีฝนตกชุกที่สุดคือ เดือนสิงหาคม ฤดูหนาว เริ่มตั้งแต่เดือนตุลาคมของทุกปี ถึงเดือนมกราคม เดือนที่หนาวที่สุด คือ เดือนมกราคม
  • 9. ๑.๖ การปกครอง เทศบาลตาบลธงธานี แบ่งเขตการปกครองเป็น ๒ ตาบล ๑๔ หมู่บ้าน ดังนี้ ตาบลธงธานี มีจานวน ๑๐ หมู่ บ้าน ประกอบด้วย หมู่ ๑ บ้านธวัชบุรี หมู่ ๒ บ้านธวัชบุรี หมู่ ๓ บ้านธวัชบุรี หมู่ ๔ บ้านหนองดู่ หมู่ ๕ บ้านงิ้ว หมู่ ๖ บ้านงิ้ว หมู่ ๗ บ้านธวัชบุรี หมู่ ๘ บ้านธวัชบุรี หมู่ ๙ บ้านหนองดู่ หมู่ ๑๐ บ้านธวัชบุรี ตาบลบึงนคร มีจานวน ๔ หมู่บ้าน ประกอบด้วย หมู่ ๑ บ้านขามเหนือ หมู่ ๒ บ้านขามใต้ หมู่ ๓ บ้านขามใต้ หมู่ ๑๓ บ้านขามเหนือ ๒.ข้อมูลโครงสร้างพื้นฐานและสาธารณูปโภค ๒.๑ การคมนาคม การเดินทางเข้าสู่พื้นที่เทศบาลตาบลธงธานี สามารถเดินทางโดยรถยนต์ ตามทางหลวง จังหวัด หมายเลข ๒๐๔๔ ระยะทางจากจังหวัดร้อยเอ็ด ประมาณ ๒๕ กิโลเมตร เทศบาลตาบลธงธานี มีเส้นทางสายสาคัญ ดังนี้ - ทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข ๒๐๔๔ ( ร้อยเอ็ด - โพนทอง ) - ทางหลวงชนบท หมายเลข ๒๐๑๐ ( บ้านหนองดู่ - บ้านขาม ) ๒.๒ ประปา จานวนครัวเรือนที่ใช้บริการน้าประปา จานวน ๑,๘๒๐ ครัวเรือน -หน่วยงานเจ้าของกิจการประปา กองการประปา เทศบาลตาบลธงธานี -จานวนนาประปาที่ผลิตได้ จานวน ๑,๔๔๐ ลบ.ม./ วัน -จานวนนาประปาที่ต้องการใช้ จานวน ๑,๓๐๐ ลบ.ม./ วัน - แหล่งนาดิบสาหรับผลิตนาประปา คือ แม่น้าชี ( ระบบผลิตนาเหนือผิวดิน )
  • 10. ๒.๓ ไฟฟ้า -จานวนครัวเรือนที่มีไฟฟ้าใช้ จานวน ๒,๒๑๒ หลัง -หน่วยงานที่ดาเนินการกิจการไฟฟ้า ได้แก่ การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ๒.๔ แหล่งน้า ลาดับ ชื่อแหล่งน้า ปริมาณความจุ (ลบ.ม.) หมู่/ตาบล หมายเหตุ ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ๗. ๘. ๙. ๑๐. ๑๑. ๑๒. หนองไผ่ หนองไผ่บ้านขาม หนองไข่นุ่น หนองบอน หนองกุดหล่ม หนองวัดป่าสรวงสวรรค์ หนองสิม บ้านขาม หนองกุดน้าใสน้อย หนองบ้านน้อย หนองสะท้อน หนองบึงจิว กุดเสาธง ๗๖,๐๐๐ ๑๓,๐๐๐ ๒๕,๐๐๐ ๑๓,๐๐๐ ๑๙,๐๐๐ ๑๒,๔๓๕ ๒๙,๐๐๐ ๑๐,๐๐๐ ๑๕,๐๐๐ ๔๔,๐๐๐ ๑,๐๐๐,๐๐๐ ๑๘๐,๐๐๐ หมู่ ๑๐ ตาบลธงธานี หมู่ ๒ ตาบลบึงนคร หมู่ ๘ ตาบลธงธานี หมู่ 8 ตาบลธงธานี หมู่ ๙ ตาบลธงธานี หมู่ ๓ ตาบลบึงนคร หมู่ ๑ ตาบลบึงนคร หมู่ ๘ ตาบลธงธานี หมู่ ๔ ตาบลธงธานี หมู่ ๙ ตาบลธงธานี หมู่ ๕,๖ ตาบลธงธานี หมู่ ๘,๙ ตาบลธงธานี ๓ ด้านเศรษฐกิจ ๓.๑ สถานธนานุบาล - แห่ง ๓.๒ โรงฆ่าสัตว์ 1 แห่ง ๓.๓ อุตสาหกรรม/ธุรกิจ การผลิตสินค้าส่วนใหญ่จะเป็นแบบอุตสาหกรรมในครัวเรือนและกลุ่มอาชีพ ๓.๔ การพาณิชยกรรมและบริการ - สถานีบริการน้ามัน จานวน ๓ แห่ง - สถานีน้ามันหยอดเหรียญ จานวน ๖ แห่ง - สถานีน้ามันแบบปั๊มหลอด จานวน - แห่ง - ตลาดสด จานวน ๑ แห่ง - สถานที่จาหน่วยอาหาร ตาม พ.ร.บ. สาธารณสุข จานวน ๒๐ แห่ง ๓.๕ การปศุสัตว์ การเลี้ยงสัตว์ส่วนใหญ่จะเลี้ยเพื่อขายและบริโภคในครัวเรือน สัตว์ที่เลี้ยงมากที่สุด ได้แก่ ไก่ รองลงมา คือเป็ด และโค
  • 11. ๔.ข้อมูลด้านสังคม ๔.๑ ข้อมูลศาสนสถาน * จานวนวัด ๑๐ แห่ง - วัดกลางธงธานี - วัดเหนืออุดรชัยสิทธิ์ - วัดใต้จันทราราม - วัดป่าทรงธรรม วัดหนองดู่ - วัดสันติวิหาร - วัดป่าโพธาราม - วัดวารีอุดม - วัดบ้านขามเหนือ - วัดบ้านขามใต้ * จานวนเมรุเผาศพ ๗ แห่ง ๔.๒ ข้อมูลผู้นับถือศาสนา - จานวนผู้นับถือศาสนาพุทธ ร้อยละ ๙๘ ของประชากรทั้งหมด - จานวนผู้นับถือศาสนาคริตส์ ร้อยละ ๐.๗ ของประชากรทั้งหมด - จานวนผู้นับถือศาสนาอิสราม ร้อยละ ๐.๗ ของประชากรทั้งหมด - จานวนผู้นับถือศาสนาอื่นๆ ร้อยละ ๐.๖ ของประชากรทั้งหมด ๔.๓ ข้อมูลสถานศึกษา ปัจจุบันเทศบาลตาบลธงธานี ไม่มีสถานศึกษาในสังกัด แต่มีศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในสังกัด จานวน ๔ แห่ง ประกอบด้วย ๑. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านธวัชบุรี มีเด็กก่อนวัยเรียนจานวน ๖๐ คน ครูผู้ดูแลเด็ก ๒ คน ผู้ช่วยครูผู้ดูแลเด็ก ๑ คน ๒. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านขาม มีเด็กก่อนวัยเรียน จานวน ๔๐ คน ครูผู้ดูแลเด็ก ๑ คน ผู้ช่วยครูผู้ดูแลเด็ก ๑ คน ๓. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองดู่ มีเด็กก่อนวัยเรียน จานวน ๔๐ คน ครูผู้ดูแลเด็ก ๑ คน ผู้ช่วยครูผู้ดูแลเด็ก ๑ คน ๓. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านงิ้ว มีเด็กก่อนวัยเรียน จานวน ๓๐ คน ครูผู้ดูแลเด็ก ๑ คน ผู้ช่วยครูผู้ดูแลเด็ก ๑ คน ๔.๔ ข้อมูลกีฬา นันทนาการและพักผ่อน ๑. ลานกีฬา ๕ แห่ง ๒. สนามกีฬา ๑ แห่ง ๔.๕ ข้อมูลด้านสาธารณสุข ๑.จานวนโรงพยาบาลของรัฐ จานวน ๑ แห่ง (โรงพยาบาลธวัชบุรี(สังกัดกระทรวงสาธารณสุข) จานวน ๓๐ เตียง
  • 12. ๒.ศูนย์บริการอนามัย จานวน ๑ แห่ง ๓.คลีนิคเอกชน จานวน ๒ แห่ง ๔.ร้านขายยา จานวน ๓ แห่ง ๔.๖ ขยะ - ปริมาณขยะ ๑๐ ตัน / วัน - รถยนต์ที่ใช้ในการจัดเก็บขยะ รวม ๒ คัน แยกเป็น *รถยนต์คันที่ ๑ รถเก็บขยะขนาดความจุ ๖ ลบ.หลา *รถยนต์คันที่ ๑ รถเก็บขยะขนาดความจุ ๑๐ ลบ.หลา - ขยะที่เก็บขนได้ จานวน ๑๐ ลบ. หลา / วัน - ขยะที่กาจัดได้ จานวน ๑๐ ลบ. หลา / วัน โดยวิธีเผา ฝังกลบ - พื้นที่สาหรับกาจัดขยะ *พื้นที่ทั้งหมด ๑ ไร่ ใช้ไปแล้ว ๑ ไร่ *อยู่ห่างจากแหล่งชุมชน ประมาณ ๓ กิโลเมตร ผลการวิเคราะห์ เพื่อให้การวางแผนอัตรากาลัง ๓ ปี ของเทศบาลตาบลธงธานี มีความครบถ้วน สามารถ ดาเนินการตามอานาจหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เทศบาลตาบลธงธานีจึงได้วิเคราะห์สภาพปัญหาและ ความต้องการของประชาชนในเขตพื้นที่เทศบาลตาบลธงธานี ว่ามีปัญหาอะไรบ้าง มีความจาเป็นพื้นฐาน และความต้องการของประชาชนในเขตพื้นที่สาคัญ ดังนี้ แบ่งออกเป็นด้านต่างๆ ดังนี้ ๑. ด้านโครงสร้างพื้นฐาน ๑.๑ สภาพปัญหาของเทศบาล (๑) การคมนาคมไม่สะดวกเนื่องจากถนนที่ได้มาตรฐานยังไม่เพียงพอต่อความต้องการของ) ประชาชน (๒) มีน้าท่วมขังเนื่องจากทางระบายน้ายังไม่เพียงพอ (๓) ปัญหาเกี่ยวกับไฟฟ้า ไฟฟ้าสาธารณะ กระแสไฟฟ้าตก เนื่องจากกาลังส่งไฟฟ้าไม่ เพียงพอ ๑.๒ ความต้องการ (๑) ต้องการมีถนนที่ได้มาตรฐานและเพียงพอ (๒) ต้องการมีรางระบายน้าอย่างเพียงพอ (๓) ปรับปรุงถนนลูกรัง (๔) ติดตั้งไฟฟ้าแสงสว่างสาธารณะ (๕) ขยายเขตบริการไฟฟ้า (๖) พัฒนาระบบจราจร ๒. ด้านเศรษฐกิจ ๒.๑ สภาพปัญหาของเทศบาล
  • 13. (๑) ไม่มีตลาดรับซื้อผลิตผลทางการเกษตรและผลิตภัณฑ์ของกลุ่มอาชีพ (๒) พืชเกษตรกรรมได้รับความเสียหายเนื่องจากภาวะภัยแล้ง (๓) เกษตรกรและกลุ่มอาชีพไม่ได้รับการส่งเสริมด้านความรู้และประสบการณ์ (๔) ราคาผลผลิตทางการเกษตรตกต่า (๕) เกษตรกรไม่รวมตัวเป็นกลุ่มไม่มีอานาจต่อรอง (๖) ประชาชนมีรายได้น้อย (๗) การทาการเกษตรฤดูแล้งขาดน้า (๘) ไม่มีการประกอบอาชีพเสริมนอกฤดูการผลิต ๒.๒ ความต้องการของประชาชน (๑) ต้องการให้มีตลาดรับซื้อผลิตผลทางการเกษตรและผลิตภัณฑ์ของกลุ่มอาชีพ (๒) ต้องการให้มีฝายเก็บกักน้าเพื่อแก้ไขปัญหาภัยแล้ง (๓) ต้องการให้หน่วยงานราชการส่งเสริมด้านความรู้และประสบการณ์ให้แก่เกษตรกรและ กลุ่มอาชีพ ๓. ด้านสังคม ๓.๑ สภาพปัญหาของเทศบาล (๑) ไม่มีสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ และสวนสาธารณะ (๒) ไม่มีแหล่งศึกษาค้นคว้าหาความรู้นอกสถานศึกษา (๓) ไม่มีสถานที่ท่องเที่ยว (๔) ปัญหาการแพร่ระบาดยาเสพติด (๕) ประชาชนที่เห็นความสาคัญในการร่วมกิจกรรมต่างๆ น้อยมาก เมื่อเทียบกับ จานวนประชากรในชุมชน (๖) การระแวดระวังภัยต่างๆ ของอาสาสมัครต่างๆ น้อยมาก ไม่เป็นระบบ ๓.๒ ความต้องการของประชาชน (๑) ต้องการให้มีสถานที่พักผ่อนหย่อนใจและสวนสาธารณะ (๒) ต้องการให้มีห้องสมุดประจาตาบล เพื่อใช้เป็นแหล่งศึกษาค้นคว้าหาความรู้ (๓) ต้องการให้มีสถานที่ท่องเที่ยว (๔) ต้องการความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน (๕) ต้องการให้มีการป้องกัน ส่งเสริมสนับสนุน กิจกรรมป้องกันต่อต้านยาเสพติด (๖) ส่งเสริมสนับสนุนงานด้านกีฬา ๔. ด้านการเมืองการบริหาร ๔.๑ สภาพปัญหาของเทศบาล (๑) งบประมาณไม่เพียงพอ (๒) อุปกรณ์และเครื่องมือยังไม่เพียงพอ (๓) การบริการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารไม่ชัดเจน (๔) คณะบริหารขาดความรู้ด้านระเบียบกฎหมาย ๔.๒ ความต้องการของประชาชน (๑) ต้องการมีงบประมาณที่เพียงพอ
  • 14. (๒) ต้องการมีอุปกรณ์และเครื่องมืออย่างเพียงพอ (๓) ต้องการมีบุคลากรที่เพียงพอ (๔) ส่งเสริมสนับสนุนกิจกรรมในรูปประชาชน (๕) พัฒนาปรับปรุงวิธีการจัดเก็บรายได้ (๖) ให้มีกิจกรรมรณรงค์การเลือกตั้งทุกระดับ ๕. ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ๕.๑ สภาพปัญหาของเทศบาล (๑) การให้บริการจัดเก็บขยะมูลฝอยยังไม่ทั่วถึง (๒) การคุ้มครอง ดูแลและบารุงรักษา ป่าไม้และที่สาธารณะสมบัติยังไม่ทั่วถึง (๓) การปรับปรุงสภาพแวดล้อมยังไม่ทั่วถึง (๔) ไฟป่าในช่วงฤดูแล้ง (๕) คุณภาพดินไม่ดี ๕.๒ ความต้องการของประชาชน (๑) ต้องการให้มีการบริการจัดเก็บขยะอย่างทั่วถึง (๒) ต้องการให้มีการคุ้มครองดูแลและบารุงรักษาป่าไม้และที่สาธารณะสมบัติอย่าง ทั่วถึง (๓) ต้องการให้มีการปรับปรุงสภาพแวดล้อมให้สวยงาม ๖. ด้านสาธารณสุขและอนามัย ๖.๑ สภาพปัญหาของเทศบาล (๑) การบริการสาธารณสุขในหมู่บ้านไม่เพียงพอ (๒) สุขลักษณะในเขตชุมชนยังไม่ดี (๓) สุขภาพและอนามัยของบุคคลยังไม่ดี (๔) ปัญหาการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อทั่วไป (๕) ปัญหาการส่งเสริมความรู้ให้ประชาชน ป้องกันตัวเองจากโรคติดต่อ ๖.๒ ความต้องการของประชาชน (๑) ส่งเสริมสนับสนุน กิจกรรมทางด้านอนามัยบุคคล/ชุมชน (๒) ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อเป็นประจา ๗. ด้านการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๗.๑ สภาพปัญหาของเทศบาล (๑) การศึกษาต่อของนักเรียนหลังจากจบภาคบังคับ (๒) ระดับการศึกษาของผู้ใหญ่ (๓) กิจกรรมทางศาสนา วัฒนธรรม และการกีฬาในชุมชน (๔) สนามกีฬาเพื่อการฝึกซ้อมไม่ได้มาตรฐาน ๗.๒ ความต้องการของประชาชน (๑) ส่งเสริม สนับสนุน กิจกรรมทางการศึกษา ทั้งภายในระบบ นอกระบบ และตาม อัธยาศัย (๒) ส่งเสริม สนับสนุน กิจกรรม ประเพณี วัฒนธรรมท้องถิ่น
  • 15. เทศบาลตาบลธงธานี ไดดาเนินการสารวจสภาพปญหาและความตองการของประชาชน นามาวิเคราะห ศักยภาพเพื่อประเมินสภาพการพัฒนาในปจจุบันและโอกาสการพัฒนาในอนาคต ดวยเทคนิค SWOT Analysis ดังนี้ SWOT จุดแข็ง Strength ๑. มีอิสระในการบริหารจัดการ ๒. มีระบบงบประมาณและการบัญชี ๓. มีการบริหารงานอยางกระจายอานาจทั่วถึงทั้งองคกร ๔. พนักงานมีทักษะ ความรู ความสามารถในแตละดาน ๕. มีการแบงงานมอบหมายงาน การตัดสินใจรวดเร็ว ๖. มีแผนพัฒนาสามป มีแผนพัฒนาเทศบาล ๗. มีระบบตรวจสอบภายใน ๘. มีระบบติดตอสื่อสาร เครือขายวิทยุ อินเทอรเน็ต ๙. ผูบริหารเปนผูมีมนุษยสัมพันธดี รับฟงความคิดเห็นเปนประชาธิปไตย ๑๐. พนักงานและลูกจางมีจานวนมากพอเพียงในการปฏิบัติงาน จุดออน Weak ๑. โครงสรางขององคกรใหญ การปฏิบัติงานซ้าซอน ทาใหเกิดความลาชา ๒. งบประมาณของเทศบาล มีไมเพียงพอในการบริหารงาน ๓. ไมมีวิธีการตรวจสอบระบบการทางานอยางชัดเจน ๔. โครงสรางการตัดสินใจขาดการพิจารณาใหดี ๕. แนวทางในการพัฒนาไมเปนปจจุบัน ผูจัดทาและกรรมการแผนพัฒนาขาดความเขาใจ ๖. มีการเมืองทองถิ่นเขามาแทรกแซงการบริหารงาน ๗. พนักงานขาดความรูเรื่องเทคโนโลยี สารสนเทศ และการใชเครื่องมือสื่อสาร ๘. ขาดความรูความเขาใจในเรื่องกระบวนการบริการ การพัฒนา การตัดสินใจ คานิยม Value “เต็มใจใหบริการ” โอกาส Opportunity ๑. มีแมน้าชีไหลผาน มีน้าเพียงพอกับการอุปโภคบริโภค และทาการเกษตรทั้งป ๒. มีถนนสายรอยเอ็ด – มุกดาหาร ซึ่งเปนสายเชื่อมไปยังสถานที่ทองเที่ยวของจังหวัดรอย เอ็ดและ จังหวัดใกลเคียง ๓. มีพื้นที่เพาะปลูกทางการเกษตรมาก ๔. มีแหลงน้าจานวนมากใชในการเกษตร เชน กุดเสาธง บึงจิว หนองสะทอน หนองไขนุน หนองไผ ฯลฯ 5. มีการผลิตน้าประปาบริการชุมชนโดยเทศบาลเปนผูดาเนินการ ๕. อยูใกลสนามบินจังหวัดรอยเอ็ด ๕. ภารกิจ อานาจหน้าที่ของเทศบาลตาบลธงธานี
  • 16. อุปสรรค Threat ๑. มีปญหาภัยธรรมชาติ เชน ฝนแลง น้าทวม ๒. ถนนเพื่อการเกษตรบางสายยังไม่ได้รับการพัฒนาและแก้ไข ๓. การบริหารจัดการน้ายังไมดีพอ ๔. ผลิตผลทางการเกษตรตกต่า เกษตรกรยังใชสารเคมีจานวนมาก ๕. ประชาชนมีสวนรวมดาเนินกิจกรรมตาง ๆ ของทองถิ่นต่า ๖. รายไดตอหัว ตอครัวเรือน อยูในเกณฑต่า นอกจากคณะกรรมการได้รวมกันวิเคราะหจุดออน จุดแข็ง สภาพปญหาและความตองการของ ประชาชนในทองถิ่น กาหนดวิสัยทัศน และกาหนดยุทธศาสตรและแนวทางในการพัฒนาเทศบาลตาบลธง ธานี (พ.ศ.2554-2556) วิสัยทัศน (VISION) “เทศบาลตาบลธงธานี(๒๕๖๐) “ภายในป พ.ศ. ๒๕๖๓ เทศบาลตาบลธงธานจะเปนองคกร ปกครองสวนทองถิ่นที่มีการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลโดยเน้นการมีสวนรวมของ ประชาชน มีการบริการเปนเลิศ ทันสมัย เพื่อประโยชนสุขของประชาชนในเขตเทศบาล” วิสัยทัศน (VISION) สานักปลัดเทศบาล “ยิ้มแยม แจมใส เต็มใจบริการ รับฟงความเห็นประชาชน มุงงาน มุงพัฒนา นาพา ประสิทธิภาพสู องคกร” วิสัยทัศน (VISION) กองคลัง “ควบคุมงบประมาณอยางมีประสิทธิภาพ พัฒนารายได ใหเกิดประโยชนสูงสุด” วิสัยทัศน (VISION) กองชาง /กองประปา “งานไดมาตรฐาน มีความโปรงใส รวดเร็วทันใจ แกไขปญหา ใหปวงประชาสุขสันต” วิสัยทัศน (VISION) กองสาธารณสุข “บานเมืองสะอาด ปราศจากมลพิษ มุงพัฒนาสิ่งแวดลอม พรอมบริการเชิงรุก ปองกันเหตุราคาญ เนนงานสาธารณสุขมูลฐาน สรางมาตรฐานตลาดสด/ โรงฆาสัตว” วิสัยทัศน (VISION) กองการศึกษา “วัฒนธรรมล้าค่า พัฒนาคุณภาพชีวิต ยกระดับศูนยพัฒนาเด็กเล็ก ใหไดมาตรฐาน” ยุทธศาสตรและแนวทางการพัฒนาเทศบาลตาบลธงธานี ยุทธศาสตรที่ ๑ ยุทธศาสตรการพัฒนาดานโครงสรางพื้นฐาน แนวทางการพัฒนา ๑.๑ กอสราง ปรับปรุง บารุงรักษาถนน สะพาน ทางเทาทางระบายน้าและที่จอดรถ ๑.๒ จัดใหมี ปรับปรุงและบารุงรักษาสาธารณูปโภคและสาธารณูปการใหมีอยางทั่วถึงและเพียงพอ ๑.๓ จัดใหมีการวางผังเมือง
  • 17. ๑.๔ จัดใหมีการพัฒนา ปรับปรุงและบารุงรักษาพื้นที่สาธารณประโยชนของชุมชน ยุทธศาสตรที่ ๒ ยุทธศาสตรการพัฒนาดานการทองเที่ยว แนวทางการพัฒนา ๒.๑ บารุงรักษา ปรับปรุงพัฒนาและอนุรักษแหลงทองเที่ยวทางประวัติศาสตร ศาสนสถาน แหลงทองเที่ยว ทางธรรมชาติตาง ๆ ๒.๒ สงเสริมการประชาสัมพันธแหลงทองเที่ยวของจังหวัดใหเปนที่รูจักของนักทองเที่ยวทั้งในและตาง ประเทศ ๒.๓ จัดใหมีและอบรมพัฒนาความรูใหกับมัคคุเทศกทองถิ่น ๒.๔ สงเสริมสนับสนุนกิจกรรมเกี่ยวกับการทองเที่ยวของจังหวัด ๒.๕ สงเสริมการทองเที่ยวเชิงกีฬา ๒.๖ สงเสริมการทองเที่ยวเชิงอนุรักษและเชิงเกษตร ๒.๗ สนับสนุนการสรางโครงขายเสนทางทองเที่ยวเชื่อมตอกับจังหวัดใกลเคียง ๒.๘ สนับสนุนและยกระดับการจัดงานวันขาวหอมมะลิ ใหเปนงานประเพณีสาคัญประจาปของจังหวัดรอย เอ็ด ยุทธศาสตรที่ ๓ ยุทธศาสตรการพัฒนาดานการศึกษา ศาสนาและวัฒนาธรรมแนวทางการพัฒนา ๓.๑ สงเสริมและสนับสนุนการศึกษาขั้นพื้นฐานใหมีอยางเพียงพอทั่วถึงและไดมาตรฐาน ๓.๒ เพิ่มชองทางในการรับรูขอมูลขาวสารใหแกประชาชน ๓.๓ สงเสริมและสนับสนุนการศึกษาใหสอดคลอง และสามารถตอบสนองตอ การดารงชีวิตตามแบบวิถีชุมชน ตามแนวพระราชดาริเศรษฐกิจพอเพียง ๓.๔ สงเสริม สืบสานจารีตประเพณีและวัฒนธรรมอันดีงามใหคงอยูคูกับทองถิ่นตลอดไป ๓.๕ เสริมสราง สนับสนุนและสงเสริมใหเยาวชนมีคุณธรรม จริยธรรม ดารงตนอยูในสังคมปจจุบัน อยางรูเทา ทันและมีความสุขตามวิถีวัฒนธรรมไ ๓.๖ สงเสริมใหมีการจัดตั้งศูนยพัฒนาเด็กเล็กที่มีมาตรฐานเปนศูนยตนแบบการสอน แบบ “มอนเตสซอรี่” ๓.๗ การพัฒนาคนใหมีคุณธรรม นาความรูเกิดภูมิคุมกัน ยุทธศาสตรที่ ๕ ยุทธศาสตรการพัฒนาดานเศรษฐกิจแนวทางการพัฒนา ๔.๑ สนับสนุนการพัฒนา ใหความรูและสงเสริมอาชีพแกประชาชนใหมีรายไดเพียงพอและทั่วถึง ๔.๒ จัดใหมีและบารุงรักษาแหลงน้ําใหมีอยางเพียงพอในการประกอบอาชีพแกประชาชน ๔.๓ สงเสริมการนาภูมิปญญาทองถิ่นมาปรับใชในการประกอบอาชีพ ๔.๔ จัดใหมี บารุงรักษาและควบคุมตลาดเพื่อรองรับสินคาที่ประชาชนผลิตได ๔.๕ สงเสริมการดาเนินชีวิตตามแนวพระราชดาริเศรษฐกิจพอเพียง และสงเสริมระบบเกษตรอินทรียใหเกิด เป็นรูปธรรมเพื่อเปนแหลงเรียนรูตนแบบ ยุทธศาสตรที่ ๕ ยุทธศาสตรการพัฒนาดานสังคมและสิ่งแวดลอมแนวทางการพัฒนา ๕.๑ มุงเนนการปองกัน โดยพัฒนาสภาพแวดลอมชุมชนและสงเสริมสุขภาพอนามัยชีวิตความเปนอยูของ ประชาชน ๕.๒ สนับสนุนการปองกันและแกไขปญหายาเสพติดและความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสินของประชาชน ๕.๓ สรางจิตสานึกและความตระหนักในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม โดยสงเสริมใหมีการ ใชทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยูอยางจากัดใหเกิดความคุมคา เกิด ประโยชนสูงสุดและคงอยูกับชุมชนไดอยาง ยั่งยืน
  • 18. ๕.๔ จัดใหมีระบบบาบัดน้าเสีย ๕.๕ บาบัดและจัดการขยะ ๕.๖ สงเสริมและสนับสนุนใหมีการอนุรักษและฟนฟูสิ่งแวดลอม และทรัพยากรธรรมชาติ ๕.๗ เสริมสรางมาตรการปองกันและบรรเทาสาธารณภัย ๕.๘ สงเสริมกิจการ พัฒนาคุณภาพชีวิตเด็ก สตรี คนชรา ผูดอยโอกาสทางสังคม และการสังคมสงเคราะห ๕.๙ สงเสริมประชาธิปไตย ความเสมอภาค และสิทธิเสรีภาพของประชาชน ๕.๑๐ สงเสริมการรักษาวินัยดานการจราจรใหกับประชาชน ๕.๑๑ จัดใหมี ปรับปรุงและพัฒนาสวนสุขภาพในชุมชน 1 แหง / 1 ทองถิ่น ๕.๑๒ รณรงคและประชาสัมพันธแนวทางการปฏิบัติตาม พ.ร.บ.วาดวยการขุดดินและถมดินพ.ศ.๒๕๔๓ และ กฎหมายที่เกี่ยวของ ๕.๑๓ สนับสนุนการจัดใหมีและเสริมสรางความเขมแข็งใหกับอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือนทุกทองถิ่น ยุทธศาสตรที่ ๖ ยุทธศาสตรดานอื่นๆ ที่สอดคลองกับนโยบายรัฐบาล แผนยุทธศาสตรการพัฒนา กลุ่มจังหวัด ยุทธศาสตรการพัฒนาของจังหวัด และเจตนารมณของประชาชนในพื้นที่แนวทางการพัฒนา ๖.๑ สงเสริมสนับสนุนเกี่ยวกับการดาเนินงานของอาสาสมัครสาธารสุขหมูบานและกลุมอื่น ๆ ๖.๒ สงเสริมใหประชาชนมีสวนรวมในการพัฒนาทองถิ่น ๖.๓ สงเสริมใหมีการปองกันและแกไขปญหาน้าทวม/ฝนแลง ในระยะยาวอยางตอเนื่อง ๖.๔ สงเสริมสนับสนุนให องคกรปกครองสวนทองถิ่น มีความเขมแข็ง คณะกรรมการได้มีการวิเคราะห์ภารกิจหน้าที่ของแต่ละส่วนราชการดังนี้ ๑. สานักปลัดเทศบาล บทบาทอานาจหน้าที่ สานักปลัดเทศบาล มีหน้าที่ความรับผิดชอบเกี่ยวกับราชการทั่วไปของเทศบาลและ ราชการที่ มิได้กาหนดให้เป็นหน้าที่ของกอง หรือส่วนราชการใดในเทศบาลโดยเฉพาะ รวมทั้งกากับและ เร่งรัดการปฏิบัติราชการของส่วนราชการในเทศบาลให้เป็นไปตามนโยบาย แนวทาง และแผนการปฏิบัติ ราชการของเทศบาล และปฏิบัติหน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้องและที่ได้รับมอบหมาย ๒. กองคลัง บทบาทอานาจหน้าที่ กองคลัง มีหน้าที่ความรับผิดชอบเกี่ยวกับงานการจ่ายเงิน การรับ การนาส่งเงิน การเก็บ รักษา เงิน และเอกสารทางการเงิน การตรวจสอบใบสาคัญ ฎีกา งานเกี่ยวกับเงินเดือน ค่าจ้าง ค่าตอบแทน เงิน บาเหน็จ บานาญ เงินอื่น ๆ งานเกี่ยวกับการจัดทางบประมาณฐานะทางการเงิน การจัดสรรเงินต่าง ๆ การ จัดทาบัญชีทุกประเภท ทะเบียนคุมเงินรายได้และรายจ่ายต่าง ๆ การควบคุมการเบิกจ่าย งานทางบทดรอง ประจาเดือน ประจาปี งานเกี่ยวกับการพัสดุของเทศบาล และปฏิบัติหน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้องและที่ได้รับ มอบหมาย
  • 19. ๓. กองช่าง บทบาทอานาจหน้าที่ กองช่าง มีหน้าที่ความรับผิดชอบเกี่ยวกับการสารวจ ออกแบบ การจัดทาข้อมูลทางด้านวิศวกรรม การจัดเก็บและทดสอบคุณภาพวัสดุ งานออกแบบและเขียนแบบ การตรวจสอบการก่อสร้าง งานการ ควบคุมอาคารตามระเบียบกฎหมาย งานแผนการปฏิบัติงานการก่อสร้างและซ่อมบารุง งานแผนงานด้าน วิศวกรรมเครื่องจักรกล การรวบรวมประวัติ ติดตาม ควบคุมการปฏิบัติงานเครื่องจักรกล การควบคุม การ บารุงรักษาเครื่องจักรกลและยานพาหนะ งานเกี่ยวกับแผนงาน ควบคุม เก็บรักษา การเบิกจ่ายวัสดุอุปกรณ์ อะไหล่ น้ามันเชื้อเพลิง การจัดการสิ่งแวดล้อมด้านวัสดุใช้แล้ว(ขยะ) การจัดการคุณภาพน้า การควบคุม ออกแบบและก่อสร้างอาคารโรงงานที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม การควบคุมดูแล รักษา ตรวจสอบระบบ บาบัดน้าเสีย และมลพิษในด้านอื่น ๆ และปฏิบัติหน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้องและที่ได้รับมอบหมาย ๔. กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม บทบาทอานาจหน้าที่ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม มีหน้าที่ความรับผิดชอบเกี่ยวกับการสาธารณสุขชุมชน การ ส่งเสริมสุขภาพและอนามัย การป้องกันโรคติดต่อ งานด้านสุขาภิบาลและอนามัยสิ่งแวดล้อม การรักษาความ สะอาด การให้บริการด้านสาธารณสุข งานด้านสัตวแพทย์ และการรักษาพยาบาลเบื้องต้น แบ่งส่วนราชการ ภายในออกเป็น ๒ ฝ่าย คือ ๕. กองการศึกษา บทบาทอานาจหน้าที่ กองการศึกษา มีหน้าที่ความรับผิดชอบเกี่ยวกับการบริหารการศึกษาและพัฒนาการศึกษา ทั้ง การศึกษาในระบบการศึกษาและการศึกษาตามอัธยาศัย เช่น การจัดการศึกษาปฐมวัย อนุบาลศึกษา ประถมศึกษา มัธยมศึกษา และอาชีวศึกษา โดยมีงานธุรการ งานการเจ้าหน้าที่ งานกิจการนักเรียน งาน โรงเรียน งานนิเทศและประกันคุณภาพการศึกษา งานส่งเสริมประเพณี ศิลปวัฒนธรรม แบ่งส่วนราชการ ภายในออกเป็น ๓ ฝ่าย คือ นอกจากนี้ เทศบาลตาบลธงธานีได้กาหนดวิธีการดาเนินการตามภารกิจสอดคล้องกับแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แผนพัฒนาจังหวัด แผนพัฒนาอาเภอ แผนพัฒนา ๓ ปี แผนพัฒนาหมู่บ้าน และนโยบายรัฐบาล ตลอดจนนโยบายของผู้บริหารท้องถิ่น เพื่อให้สามารถวิเคราะห์ภารกิจให้ตรงกับสภาพ ปัญหา โดยสามารถกาหนดแบ่งภารกิจได้เป็น ๗ ด้าน ซึ่งภารกิจดังกล่าวกาหนดอยู่ในพระราชบัญญัติ เทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ รวมถึงฉบับแก้ไขเพิ่มเติมทุกฉบับ และตามพระราชบัญญัติกาหนดแผนและขั้นตอน การกระจายอานาจให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๒ รวมถึงฉบับแก้ไขเพิ่มเติมทุกฉบับ ดังนี้
  • 20. ๑. ด้านโครงสร้างพื้นฐาน มีภารกิจที่เกี่ยวข้องดังนี้ (๑) การจัดให้มีและบารุงรักษาทางบกทางน้า และทางระบายน้า (พ.ร.บ.กาหนดแผนและ ขั้นตอนการกระจายอานาจฯ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๖ (๒) และ พ.ร.บ. เทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ มาตรา ๕๐(๒) มาตรา ๕๑(๘) (๒) ให้มีน้าสะอาดและการประปาฯ (พ.ร.บ.เทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ มาตรา ๕๑(๑) (๓) ให้มีการบารุงไฟฟ้าหรือแสงสว่างอื่น ( พ.ร.บ.เทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ มาตรา๕๑(๗) (๔) การสาธารณูปโภคและการก่อสร้างอื่นๆ (พ.ร.บ. กาหนดแผนและขั้นตอนการกระจาย อานาจ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๖(๔) (๕) การสาธารณูปการ (พ.ร.บ. กาหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอานาจ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๖(๕) (๖) หน้าที่เกี่ยวกับโครงสร้างพื้นฐานตามที่กฎหมายบัญญัติให้เป็นหน้าที่ของเทศบาลตาบล (พ.ร.บ.เทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ มาตรา ๕๐(๙) ๒. ด้านส่งเสริมคุณภาพชีวิต มีภารกิจที่เกี่ยวข้องดังนี้ (๑) การส่งเสริมการฝึก และการประกอบอาชีพของประชาชน (พ.ร.บ.กาหนดแผนและ ขั้นตอนการกระจายอานาจฯ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๖(๖) (๒) การป้องกันและระงับโรคติดต่อ ( พ.ร.บ.เทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ มาตรา ๕๐(๔) (๓) การสังคมสงเคราะห์และพัฒนาคุณภาพชีวิต เด็ก สตรี คนชรา และผู้ด้อยโอกาส (พ.ร.บ. กาหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอานาจ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๖(๑๐) (๔) การส่งเสริมประชาธิปไตย ความเสมอภาค และสิทธิเสรีภาพของประชาชน (พ.ร.บ. กาหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอานาจ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๖(๕) (๕) ปรับปรุงแหล่งชุมชนแออัดและการจัดการเกี่ยวกับที่อยู่อาศัย (พ.ร.บ. กาหนดแผนและ ขั้นตอนการกระจายอานาจ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๖(๒) (๖) การสาธารณสุข การอนามัยครอบครัว และการรักษาพยาบาล (พ.ร.บ. กาหนดแผน และขั้นตอนการกระจายอานาจ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๖(๙) (๗) ให้ราษฎรได้รับการศึกษาอบรม (พ.ร.บ.เทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ มาตรา ๕๐(๖) ๓. ด้านการจัดระเบียบชุมชน สังคม และการรักษาความสงบเรียบร้อย มีภารกิจที่เกี่ยวข้อง ดังนี้ (๑) การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (พ.ร.บ. กาหนดแผนและขั้นตอนการกระจาย อานาจ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๖(๒๙) (๒) การรักษาความสงบเรียบร้อย การส่งเสริมสนับสนุนการป้องกันและรักษาความ ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน (พ.ร.บ. กาหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอานาจ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๖ (๓๐) (๓) การผังเมือง (พ.ร.บ. กาหนดแผน และขั้นตอนการกระจายอานาจ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๖(๒๕) (๔) จัดให้มีที่จอดรถ (พ.ร.บ. กาหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอานาจ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๖(๓)
  • 21. (๕) การรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง (พ.ร.บ. กาหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอานาจ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๖(๑๗) (๖) การควบคุมอาคาร (พ.ร.บ. กาหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอานาจ พ.ศ. มาตรา ๑๖(๒๘) (๗) ให้มีเครื่องใช้ในการดับเพลิง (พ.ร.บ.เทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ มาตรา ๕๐(๕) (๘) การรักษาความสงบเรียบร้อยของประชาชน (พ.ร.บ.เทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ มาตรา ๕๐(๑) ๔ ด้านการวางแผน การส่งเสริมการลงทุน พานิชยกรรมและการท่องเที่ยว มีภารกิจที่เกี่ยวข้อง ดังนี้ (๑) บารุงและส่งเสริมการทามาหากินของราษฎร (พ.ร.บ.เทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ มาตรา ๕๐(๕) ) (๒) ให้มีตลาด (พ.ร.บ.เทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ มาตรา ๕๑(๓) ) (๓) การส่งเสริมการท่องเที่ยว (พ.ร.บ. กาหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอานาจ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๖(๘) ) (๔) เทศพาณิชย์ (พ.ร.บ.เทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ มาตรา ๕๑(๙) ) (๕) การส่งเสริมการฝึกและประกอบอาชีพ (พ.ร.บ. กาหนดแผนและขั้นตอนการกระจาย อานาจ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๖(๖) ) (๖) การพาณิชย์และส่งเสริมการลงทุน (พ.ร.บ. กาหนดแผนและขั้นตอนการกระจาย อานาจ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๖(๗) ) ๕. ด้านการบริหารจัดการและการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มีภารกิจ ที่เกี่ยวข้องดังนี้ (๑) การดูแลรักษาที่สาธารณะ (พ.ร.บ. กาหนดแผนและขั้นตอนการกระจาย อานาจ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๖(๒๗) ) (๒) การกาจัดขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล น้าเสีย (พ.ร.บ. กาหนดแผนและขั้นตอนการ กระจายอานาจ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๖(๑๘) ) (๓) การจัดการ การบารุงรักษา และการใช้ประโยชน์จากป่าไม้ ที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม (พ.ร.บ. กาหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอานาจ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๖(๒๔) ) (๔) การจัดให้มีและบารุงรักษาสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ (พ.ร.บ. กาหนดแผนและขั้นตอน การกระจายอานาจ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๖(๑๓) ) ๖. ด้านการศาสนาศิลปวัฒนธรรมจารีตประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่น มีภารกิจที่เกี่ยวข้องดังนี้ (๑) บารุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่นและวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่น (พ.ร.บ.เทศบาล พ.ศ. 2496 มาตรา50 (8) ) (๒) การจัดการศึกษา (พ.ร.บ. กาหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอานาจ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๖(๙) ) (๓) การส่งเสริมกีฬา (พ.ร.บ. กาหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอานาจ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๖(๑๔) ) (๔) หน้าที่อื่นตามที่กฎหมายบัญญัติให้เป็นหน้าที่ของเทศบาล
  • 22. ๗. ด้านการบริหารจัดการและการสนับสนุนการปฏิบัติภารกิจของส่วนราชการและองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น มีภารกิจที่เกี่ยวข้อง ดังนี้ (๑) การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นของตนเอง (พ.ร.บ. กาหนดแผนและขั้นตอนการกระจาย อานาจ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๖(๑) ) (๒) การส่งเสริมประชาธิปไตย ความเสมอภาคและสิทธิเสรีภาพของประชาชน (พ.ร.บ. กาหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอานาจ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๖(๑๕) ) (๓) ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของราษฎรในการพัฒนาท้องถิ่น (พ.ร.บ. กาหนดแผนและ ขั้นตอนการกระจายอานาจ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๖(๑๖) ) (๔) กิจการอื่นใดที่เป็นผลประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นตามที่คณะกรรมการประกาศ กาหนด (พ.ร.บ. กาหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอานาจ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๖(๓๑) ) ภารกิจทั้ง ๗ ด้าน ตามที่กฎหมายกาหนดให้อานาจเทศบาลตาบลสามารถจะแก้ไขปัญหา ของเทศบาลตาบลธงธานี ได้เป็นอย่างดี มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดยคานึงถึงความต้องการของ ประชาชนในพื้นที่ประกอบด้วย การดาเนินการของเทศบาลตาบล จะต้องสอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ แผนพัฒนาจังหวัด แผนพัฒนาอาเภอ แผนพัฒนา ๓ ปี ของเทศบาลตาบลธงธานี นโยบายของรัฐบาลและนโยบายของผู้บริหารเทศบาลตาบลธงธานีเป็นสาคัญ เทศบาลตาบลธงธานีได้นาภารกิจที่ได้วิเคราะห์ตามข้อ ๕ นามากาหนดภารกิจหลัก และภารกิจรอง พิจารณาเห็นว่า สมควรกาหนดภารกิจหลัก และภารกิจรอง ดังนี้ ภารกิจหลัก ๑. การปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐาน ๒. การพัฒนาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ ๓. การพัฒนาการเมืองและการบริหาร ๔. การพัฒนาและปรับปรุงแหล่งท่องเที่ยว ๕. การพัฒนาและส่งเสริมอาชีพ ๖. การสาธารณูปโภคสาธารณูปการอื่น ๆ ๗. การสาธารณสุข การอนามัยครอบครัว ๘. การจัดการศึกษา ๙. การบารุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณีภูมิปัญญาท้องถิ่น ๑๐. กิจกรรมนันทนาการแก่เยาวชน ๖. ภารกิจหลัก และภารกิจรอง ที่เทศบาลตาบลธงธานีจะดาเนินการ
  • 23. ภารกิจรอง ๑. การรักษาพยาบาล ๒. การจัดการ การบารุงและการใช้ประโยชน์จากป่าไม้ ที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ๓. การส่งเสริมการเกษตร ๔. การสนับสนุนและส่งเสริมอุตสาหกรรมในครัวเรือน ๕. การฟื้นฟูวัฒนธรรมและส่งเสริมประเพณีท้องถิ่น เทศบาลตาบลธงธานี ได้กาหนดโครงสร้างการแบ่งส่วนราชการออกเป็น ๑ หน่วยตรวจสอบและ 6 ส่วนราชการ ได้แก่ ๑) สานักปลัดเทศบาล ๒) กองคลัง ๓) กองช่าง ๔) กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ๕) กองการศึกษา ๖) กองประปา ทั้งนี้ แผนอัตรากาลัง ๓ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑-๒๕๖๓) เทศบาลตาบลธงธานีได้กาหนดกรอบอัตรากาลัง ไว้ดังนี้ พนักงานกรอบอัตรากาลัง ๗๑ อัตรา พนักงานเทศบาลทั้งสิ้น 40 อัตรา ลูกจ้างประจา ๒ อัตรา พนักงานจ้างตามภารกิจ ๔ อัตรา และพนักงานจ้างทั่วไป ๑๘ อัตรา จานวนพนักงานเทศบาล ลูกจ้าง และพนักงานจ้าง มีความเหมาะสมเพียงพอกับปริมาณงานของแต่ละส่วนราชการ เทศบาลตาบลธงธานี จึง ไม่ได้กาหนดกรอบอัตรากาลังเพิ่มขึ้น เพียงแต่มีการโยกเกลี่ยตาแหน่งพนักงานจ้างทั่วไปจากกองการศึกษา ไปสังกัดกองคลัง ๑ ตาแหน่ง ๑ อัตรา และได้มีการคานวณมีภาระค่าใช้จ่ายด้านบุคลากร ตาม พระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ.๒๕๔๒ ๗. สรุปปัญหาและแนวทางในการกาหนดโครงสร้างส่วนราชการและกรอบอัตรากาลัง