SlideShare a Scribd company logo
วิธีสร้าง เปิดโปรแกรม ฐานข้อมูลที่สร้างไว้จะปรากฏหน้าต่างฐานข้อมูลขึ้นมา
           1.   คลิกแท็บสร้าง
           2.   คลิกเลือกออกแบบตาราง
           3.   จะได้ตารางในมุมมองออกแบบ
           4.   กาหนดอย่างน้อยหนึ่งเขตข้อมูลโดยใส่ชื่อเขตข้อมูลและเลือกชนิดข้อมูล
           5.   บันทึกและตั้งชื่อ ตาราง“ฐานข้อมูลนักเรียน”
กาหนดฟิลด์และโครงสร้างฐานข้อมูลให้กับตารางซึ่งมีขั้นตอนดังนี้
       6.1. ตั้งชื่อให้กับฟิลด์ ลงในช่อง ชื่อเขตข้อมูล ตัวอย่าง ตั้งชื่อเลขประจาตัวนักเรียน
       6.2. เลือกชนิดของข้อมูล จากช่อง ชนิดข้อมูลตัวอย่างเลือกชนิดของข้อมูลเป็น Text
       6.3. พิมพ์คาอธิบายชื่อฟิลด์ลงในช่องคาอธิบาย
       6.4. บริเวณด้านล่างของหน้าต่าง เป็นบริเวณที่ใช้กาหนดคุณสมบัติของฟิลด์ตัวอย่างปรับฟิลด์
นี้ในช่อง ขนาดเขตข้อมูลโดยกาหนดตัวเลขคือ 6 (ให้พิจารณาจากจานวนตัวอักษรมากที่สุดของเขต
ข้อมูลนั้นๆ เช่นเลขบัตรประจาตัวประชาชนมี 13 ตัว ก็กาหนดขนาดเขตข้อมูล เป็น 13 หรือ
มากกว่านั้นตามสมควร)
7. การกาหนดคีย์หลัก (Primary Key) มีขั้นตอนดังนี้
         1. คลิกฟิลด์ที่ต้องการสร้างเป็นคีย์หลัก
         2. คลิกสัญลักษณ์
         3. จะมีรูปกุญแจปรากฏ
การกาหนดคุณสมบัติของเขตข้อมูล ทาได้ดังนี้
     1. เปิดตารางในมุมมองออกแบบ
     2. คลิกที่เขตข้อมูลที่ต้องการกาหนดคุณสมบัติ โปรแกรม Microsoft office Access
จะแสดงคุณสมบัติของเขตข้อมูลที่ส่วนล่างของหน้าต่างตาราง
     3. คลิกเลือกคุณสมบัติเขตข้อมูลที่ต้องการกาหนด แก้ไขคุณสมบัติหรือเลือกรายการตามที่
ต้องการ
การใช้งานมุมมองแผ่นข้อมูล(Datasheet)
   1. ดับเบิ้ลคลิกที่ตารางทีต้องการ
                            ่




   2. ข้อมูลที่เก็บอยู่ในตารางจะถูกแสดงในรูปแบบของตารางโดยมีชื่อฟิลด์อยู่ที่หัวตารางในแต่ละคอลัมน์ผู้ใช้
สามารถบันทึกข้อมูลลงไปในแต่ละฟิลด์ได้เลย
ความสัมพันธ์ระหว่างตารางข้อมูล (Table Data Relationships)
           ความสัมพันธ์ระหว่างตารางฐานข้อมูลแบบหนึ่งต่อหนึ่ง หมายถึงมีฟิลด์ข้อมูล 1 ฟิลด์
ที่จับคู่กัน
           ความสัมพันธ์ระหว่างตารางฐานข้อมูลแบบหนึ่งต่อกลุ่ม หมายถึงมีฟิลด์ข้อมูล 1 ฟิลด์
ที่จับคู่กับฟิลด์ข้อมูลหลายฟิลด์ในตารางอื่น แต่ฟิลด์ในตารางนั้นจับคู่ได้เพียงแค่ฟิลด์เดียว
           ความสัมพันธ์ระหว่างตารางฐานข้อมูลแบบกลุ่มต่อกลุ่ม หมายถึงมีฟิลด์ข้อมูลหลายฟิลด์ที่จับคู่
กันระหว่างตาราง
ความสัมพันธ์หนึ่งต่อหนึ่ง (One-to-One Relationships)
            เป็นการแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลในแอนทิตที่มีความสัมพันธ์กับข้อมูลในอีกแอนทิตี้หนึ่ง ใน
                                                           ี้
ลักษณะหนึ่งต่อหนึ่ง ตัวอย่างเช่น ผู้เช่า 1 คนสามารถเช่าหนังสือได้เพียง 1 เล่ม หรือ 1 ชุดเท่านั้น ในขณะเดียวกัน
หนังสือ 1 เล่ม หรือ 1 ชุด ก็จะมีผู้เช่าเพียงคนเดียว เพราะมีเพียงเล่มเดียวเท่านั้น
ความสัมพันธ์แบบหนื่งต่อกลุ่ม(One –to-Many Relationships)
             เป็นการแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลในแอนทิตหนึ่ง ที่มีความสัมพันธ์กับข้อมูลหลายๆข้อมูลใน
                                                          ี้
แอนทิตหนึ่ง ตัวอย่างเช่น ผู้เช่า 1 คนสามารถเช่าหนังสือได้เพียง 1 เล่มหรือ 1 ชุด แต่หนังสือรหัสเดียวกันสามารถ
          ี้
มีผู้เช่ามากกว่า 1คน เพราะมีหนังสือให้เช่ามากกว่า 1 เล่มหรือมากกว่า 1 ชุด
ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many-to-Many Relationships)
                 เป็นการแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลสองแอนทิตในลักษณะกลุ่มต่อกลุ่ม ตัวอย่างเช่น หนังสือ 1
                                                              ี้
เรื่องจะมีผู้ยืมหนังสือได้มากกว่า 1 คน ในขณะเดียวกันผู้ยืมหนังสือ 1 คน ก็สามารถยืมหนังสือได้มากกว่า 1 เรื่อง
เนื้อหาจบแล้ว ต่อไปให้นักเรียนทาแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3
        เมื่อทาแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3 เสร็จแล้ว
          ให้นักเรียนศึกษา หน่วยที่ 4 ต่อไป

More Related Content

What's hot

คู่มือการใช้งานโปรแกรม EndNoteX4
คู่มือการใช้งานโปรแกรม EndNoteX4คู่มือการใช้งานโปรแกรม EndNoteX4
คู่มือการใช้งานโปรแกรม EndNoteX4
tulibslideshare
 
Slide Chapter1
Slide Chapter1Slide Chapter1
Test
TestTest
Testmukda
 
โครงสร้างข้อมูล
โครงสร้างข้อมูลโครงสร้างข้อมูล
โครงสร้างข้อมูล
korn27122540
 
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์Nunnapat Khumkong
 
ฐานข้อมูลนะสอน
ฐานข้อมูลนะสอนฐานข้อมูลนะสอน
ฐานข้อมูลนะสอนsariya25
 
วิธีการใช้งานโปรแกรม Endnote
วิธีการใช้งานโปรแกรม Endnote วิธีการใช้งานโปรแกรม Endnote
วิธีการใช้งานโปรแกรม Endnote Khun Nuttie
 
Endnote X4
Endnote X4Endnote X4
Endnote X4
tulibslideshare
 
Pqdt global 2014
Pqdt global 2014Pqdt global 2014
Pqdt global 2014
maethaya
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
kitkit1974
 
คู่มือ EndNoteX7
คู่มือ EndNoteX7คู่มือ EndNoteX7
คู่มือ EndNoteX7Dulyarat Gronsang
 
01ใบความรู้ที่ 1.1 การสร้างไซท์
01ใบความรู้ที่ 1.1 การสร้างไซท์01ใบความรู้ที่ 1.1 การสร้างไซท์
01ใบความรู้ที่ 1.1 การสร้างไซท์
JeeraJaree Srithai
 
การฝากไฟล์บนเว็บ
การฝากไฟล์บนเว็บการฝากไฟล์บนเว็บ
การฝากไฟล์บนเว็บ
mimewww
 

What's hot (15)

คู่มือการใช้งานโปรแกรม EndNoteX4
คู่มือการใช้งานโปรแกรม EndNoteX4คู่มือการใช้งานโปรแกรม EndNoteX4
คู่มือการใช้งานโปรแกรม EndNoteX4
 
Slide Chapter1
Slide Chapter1Slide Chapter1
Slide Chapter1
 
Km 01 01-file
Km 01 01-fileKm 01 01-file
Km 01 01-file
 
Test
TestTest
Test
 
โครงสร้างข้อมูล
โครงสร้างข้อมูลโครงสร้างข้อมูล
โครงสร้างข้อมูล
 
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
 
ฐานข้อมูลนะสอน
ฐานข้อมูลนะสอนฐานข้อมูลนะสอน
ฐานข้อมูลนะสอน
 
วิธีการใช้งานโปรแกรม Endnote
วิธีการใช้งานโปรแกรม Endnote วิธีการใช้งานโปรแกรม Endnote
วิธีการใช้งานโปรแกรม Endnote
 
Endnote X4
Endnote X4Endnote X4
Endnote X4
 
Pqdt global 2014
Pqdt global 2014Pqdt global 2014
Pqdt global 2014
 
End note x6
End note x6End note x6
End note x6
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
คู่มือ EndNoteX7
คู่มือ EndNoteX7คู่มือ EndNoteX7
คู่มือ EndNoteX7
 
01ใบความรู้ที่ 1.1 การสร้างไซท์
01ใบความรู้ที่ 1.1 การสร้างไซท์01ใบความรู้ที่ 1.1 การสร้างไซท์
01ใบความรู้ที่ 1.1 การสร้างไซท์
 
การฝากไฟล์บนเว็บ
การฝากไฟล์บนเว็บการฝากไฟล์บนเว็บ
การฝากไฟล์บนเว็บ
 

Viewers also liked

หน่วยที่ 7 การสร้างคำสั่งอย่างง่าย
หน่วยที่ 7 การสร้างคำสั่งอย่างง่ายหน่วยที่ 7 การสร้างคำสั่งอย่างง่าย
หน่วยที่ 7 การสร้างคำสั่งอย่างง่ายkruthanyaporn
 
หน่วยที่ 2 โปรแกรม Microsoft office Access 2007
หน่วยที่ 2 โปรแกรม Microsoft office Access 2007หน่วยที่ 2 โปรแกรม Microsoft office Access 2007
หน่วยที่ 2 โปรแกรม Microsoft office Access 2007kruthanyaporn
 
หน่วยที่ 6 การสร้างรายงาน
หน่วยที่ 6 การสร้างรายงานหน่วยที่ 6 การสร้างรายงาน
หน่วยที่ 6 การสร้างรายงานkruthanyaporn
 
หน่วยที่ 5 การสร้างฟอร์ม
หน่วยที่ 5 การสร้างฟอร์มหน่วยที่ 5 การสร้างฟอร์ม
หน่วยที่ 5 การสร้างฟอร์มkruthanyaporn
 
หน่วยที่ 6 การสร้างรายงาน
หน่วยที่ 6 การสร้างรายงานหน่วยที่ 6 การสร้างรายงาน
หน่วยที่ 6 การสร้างรายงานkruthanyaporn
 
หน่วยที่ 4 การสร้างแบบสอบถาม
หน่วยที่ 4 การสร้างแบบสอบถามหน่วยที่ 4 การสร้างแบบสอบถาม
หน่วยที่ 4 การสร้างแบบสอบถามkruthanyaporn
 
หน่วยที่ 4
หน่วยที่  4หน่วยที่  4
หน่วยที่ 4Kanjana Marasie
 
การสร้างคำสั่งอย่างง่าย (แมโคร)
การสร้างคำสั่งอย่างง่าย (แมโคร)การสร้างคำสั่งอย่างง่าย (แมโคร)
การสร้างคำสั่งอย่างง่าย (แมโคร)kruthanyaporn
 

Viewers also liked (9)

หน่วยที่ 7 การสร้างคำสั่งอย่างง่าย
หน่วยที่ 7 การสร้างคำสั่งอย่างง่ายหน่วยที่ 7 การสร้างคำสั่งอย่างง่าย
หน่วยที่ 7 การสร้างคำสั่งอย่างง่าย
 
หน่วยที่ 2 โปรแกรม Microsoft office Access 2007
หน่วยที่ 2 โปรแกรม Microsoft office Access 2007หน่วยที่ 2 โปรแกรม Microsoft office Access 2007
หน่วยที่ 2 โปรแกรม Microsoft office Access 2007
 
หน่วยที่ 6 การสร้างรายงาน
หน่วยที่ 6 การสร้างรายงานหน่วยที่ 6 การสร้างรายงาน
หน่วยที่ 6 การสร้างรายงาน
 
หน่วยที่ 5 การสร้างฟอร์ม
หน่วยที่ 5 การสร้างฟอร์มหน่วยที่ 5 การสร้างฟอร์ม
หน่วยที่ 5 การสร้างฟอร์ม
 
หน่วยที่ 6 การสร้างรายงาน
หน่วยที่ 6 การสร้างรายงานหน่วยที่ 6 การสร้างรายงาน
หน่วยที่ 6 การสร้างรายงาน
 
หน่วยที่ 4 การสร้างแบบสอบถาม
หน่วยที่ 4 การสร้างแบบสอบถามหน่วยที่ 4 การสร้างแบบสอบถาม
หน่วยที่ 4 การสร้างแบบสอบถาม
 
หน่วยที่ 4
หน่วยที่  4หน่วยที่  4
หน่วยที่ 4
 
การสร้างคำสั่งอย่างง่าย (แมโคร)
การสร้างคำสั่งอย่างง่าย (แมโคร)การสร้างคำสั่งอย่างง่าย (แมโคร)
การสร้างคำสั่งอย่างง่าย (แมโคร)
 
หน่วย 3
หน่วย 3 หน่วย 3
หน่วย 3
 

Similar to หน่วยที่ 3 การสร้างตาราง

การสร้างตาราง
การสร้างตารางการสร้างตาราง
การสร้างตารางkruthanyaporn
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลkruthanyaporn
 
นางสาว มลทิรา เอกกุล ม.5
นางสาว มลทิรา   เอกกุล ม.5นางสาว มลทิรา   เอกกุล ม.5
นางสาว มลทิรา เอกกุล ม.5miwmilk
 
นางสาวมลทิรา เอกกุล ม.5
นางสาวมลทิรา   เอกกุล ม.5นางสาวมลทิรา   เอกกุล ม.5
นางสาวมลทิรา เอกกุล ม.5miwmilk
 
นางสาวมลทิรา เอกกุล
นางสาวมลทิรา  เอกกุลนางสาวมลทิรา  เอกกุล
นางสาวมลทิรา เอกกุลmiwmilk
 
Db3
Db3Db3
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลkunanya12
 
งานคอม#2
งานคอม#2งานคอม#2
งานคอม#2
Worapod Khomkham
 
งานกลุ่ม3ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
งานกลุ่ม3ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์งานกลุ่ม3ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
งานกลุ่ม3ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
Earn'kanittha Thunyadee
 
งานกลุ่ม ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ ม.2/4 เลขที่ 1-18-26-29-31-34-40
งานกลุ่ม ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ ม.2/4 เลขที่ 1-18-26-29-31-34-40งานกลุ่ม ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ ม.2/4 เลขที่ 1-18-26-29-31-34-40
งานกลุ่ม ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ ม.2/4 เลขที่ 1-18-26-29-31-34-40KittinanSuksom2
 
การลงรายการบรรณานุกรมตามหลักเกณฑ์ AACR2R
การลงรายการบรรณานุกรมตามหลักเกณฑ์ AACR2R การลงรายการบรรณานุกรมตามหลักเกณฑ์ AACR2R
การลงรายการบรรณานุกรมตามหลักเกณฑ์ AACR2R
Suranaree University of Technology
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลkruthanyaporn
 
ส่วนประกอบของรายงานและโครงงานม.4 60
ส่วนประกอบของรายงานและโครงงานม.4 60ส่วนประกอบของรายงานและโครงงานม.4 60
ส่วนประกอบของรายงานและโครงงานม.4 60
Supaporn Khiewwan
 
ข้อมูลเชิงสัมพันธ์.
ข้อมูลเชิงสัมพันธ์.ข้อมูลเชิงสัมพันธ์.
ข้อมูลเชิงสัมพันธ์.
เฟิน กะ ไค๊
 
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
กฤศอนันต์ ชาญเชี่ยว
 
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
Kochakorn Noiket
 

Similar to หน่วยที่ 3 การสร้างตาราง (20)

การสร้างตาราง
การสร้างตารางการสร้างตาราง
การสร้างตาราง
 
5
55
5
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
SQL By Sayuri
SQL By Sayuri SQL By Sayuri
SQL By Sayuri
 
นางสาว มลทิรา เอกกุล ม.5
นางสาว มลทิรา   เอกกุล ม.5นางสาว มลทิรา   เอกกุล ม.5
นางสาว มลทิรา เอกกุล ม.5
 
นางสาวมลทิรา เอกกุล ม.5
นางสาวมลทิรา   เอกกุล ม.5นางสาวมลทิรา   เอกกุล ม.5
นางสาวมลทิรา เอกกุล ม.5
 
นางสาวมลทิรา เอกกุล
นางสาวมลทิรา  เอกกุลนางสาวมลทิรา  เอกกุล
นางสาวมลทิรา เอกกุล
 
Db3
Db3Db3
Db3
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
การจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูลการจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูล
 
งานคอม#2
งานคอม#2งานคอม#2
งานคอม#2
 
งานกลุ่ม3ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
งานกลุ่ม3ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์งานกลุ่ม3ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
งานกลุ่ม3ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
 
งานกลุ่ม ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ ม.2/4 เลขที่ 1-18-26-29-31-34-40
งานกลุ่ม ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ ม.2/4 เลขที่ 1-18-26-29-31-34-40งานกลุ่ม ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ ม.2/4 เลขที่ 1-18-26-29-31-34-40
งานกลุ่ม ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ ม.2/4 เลขที่ 1-18-26-29-31-34-40
 
Database
DatabaseDatabase
Database
 
การลงรายการบรรณานุกรมตามหลักเกณฑ์ AACR2R
การลงรายการบรรณานุกรมตามหลักเกณฑ์ AACR2R การลงรายการบรรณานุกรมตามหลักเกณฑ์ AACR2R
การลงรายการบรรณานุกรมตามหลักเกณฑ์ AACR2R
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
 
ส่วนประกอบของรายงานและโครงงานม.4 60
ส่วนประกอบของรายงานและโครงงานม.4 60ส่วนประกอบของรายงานและโครงงานม.4 60
ส่วนประกอบของรายงานและโครงงานม.4 60
 
ข้อมูลเชิงสัมพันธ์.
ข้อมูลเชิงสัมพันธ์.ข้อมูลเชิงสัมพันธ์.
ข้อมูลเชิงสัมพันธ์.
 
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
 
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
 

More from kruthanyaporn

การสร้างรายงาน
การสร้างรายงานการสร้างรายงาน
การสร้างรายงานkruthanyaporn
 
หน่วยที่ 6 รายงาน
หน่วยที่ 6 รายงานหน่วยที่ 6 รายงาน
หน่วยที่ 6 รายงานkruthanyaporn
 
การสร้างฟอร์ม
การสร้างฟอร์มการสร้างฟอร์ม
การสร้างฟอร์มkruthanyaporn
 
การสร้างแบบสอบถาม
 การสร้างแบบสอบถาม การสร้างแบบสอบถาม
การสร้างแบบสอบถามkruthanyaporn
 
โปรแกรม Microsoft Access 2007
โปรแกรม Microsoft Access 2007โปรแกรม Microsoft Access 2007
โปรแกรม Microsoft Access 2007kruthanyaporn
 
Database1
Database1Database1
Database1
kruthanyaporn
 
Database1
Database1Database1
Database1
kruthanyaporn
 
Database1
Database1Database1
Database1
kruthanyaporn
 
Database1
Database1Database1
Database1
kruthanyaporn
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1
kruthanyaporn
 
Database1
Database1Database1
Database1
kruthanyaporn
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1
kruthanyaporn
 

More from kruthanyaporn (17)

การสร้างรายงาน
การสร้างรายงานการสร้างรายงาน
การสร้างรายงาน
 
หน่วยที่ 6 รายงาน
หน่วยที่ 6 รายงานหน่วยที่ 6 รายงาน
หน่วยที่ 6 รายงาน
 
การสร้างฟอร์ม
การสร้างฟอร์มการสร้างฟอร์ม
การสร้างฟอร์ม
 
การสร้างแบบสอบถาม
 การสร้างแบบสอบถาม การสร้างแบบสอบถาม
การสร้างแบบสอบถาม
 
โปรแกรม Microsoft Access 2007
โปรแกรม Microsoft Access 2007โปรแกรม Microsoft Access 2007
โปรแกรม Microsoft Access 2007
 
N2 (2)
N2 (2)N2 (2)
N2 (2)
 
Database1
Database1Database1
Database1
 
Database1
Database1Database1
Database1
 
Database1
Database1Database1
Database1
 
Database1
Database1Database1
Database1
 
Database1
Database1Database1
Database1
 
Database1
Database1Database1
Database1
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1
 
Database1
Database1Database1
Database1
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1
 
188
188188
188
 
188
188188
188
 

หน่วยที่ 3 การสร้างตาราง

  • 1.
  • 2. วิธีสร้าง เปิดโปรแกรม ฐานข้อมูลที่สร้างไว้จะปรากฏหน้าต่างฐานข้อมูลขึ้นมา 1. คลิกแท็บสร้าง 2. คลิกเลือกออกแบบตาราง 3. จะได้ตารางในมุมมองออกแบบ 4. กาหนดอย่างน้อยหนึ่งเขตข้อมูลโดยใส่ชื่อเขตข้อมูลและเลือกชนิดข้อมูล 5. บันทึกและตั้งชื่อ ตาราง“ฐานข้อมูลนักเรียน”
  • 3.
  • 4. กาหนดฟิลด์และโครงสร้างฐานข้อมูลให้กับตารางซึ่งมีขั้นตอนดังนี้ 6.1. ตั้งชื่อให้กับฟิลด์ ลงในช่อง ชื่อเขตข้อมูล ตัวอย่าง ตั้งชื่อเลขประจาตัวนักเรียน 6.2. เลือกชนิดของข้อมูล จากช่อง ชนิดข้อมูลตัวอย่างเลือกชนิดของข้อมูลเป็น Text 6.3. พิมพ์คาอธิบายชื่อฟิลด์ลงในช่องคาอธิบาย 6.4. บริเวณด้านล่างของหน้าต่าง เป็นบริเวณที่ใช้กาหนดคุณสมบัติของฟิลด์ตัวอย่างปรับฟิลด์ นี้ในช่อง ขนาดเขตข้อมูลโดยกาหนดตัวเลขคือ 6 (ให้พิจารณาจากจานวนตัวอักษรมากที่สุดของเขต ข้อมูลนั้นๆ เช่นเลขบัตรประจาตัวประชาชนมี 13 ตัว ก็กาหนดขนาดเขตข้อมูล เป็น 13 หรือ มากกว่านั้นตามสมควร)
  • 5.
  • 6. 7. การกาหนดคีย์หลัก (Primary Key) มีขั้นตอนดังนี้ 1. คลิกฟิลด์ที่ต้องการสร้างเป็นคีย์หลัก 2. คลิกสัญลักษณ์ 3. จะมีรูปกุญแจปรากฏ
  • 7. การกาหนดคุณสมบัติของเขตข้อมูล ทาได้ดังนี้ 1. เปิดตารางในมุมมองออกแบบ 2. คลิกที่เขตข้อมูลที่ต้องการกาหนดคุณสมบัติ โปรแกรม Microsoft office Access จะแสดงคุณสมบัติของเขตข้อมูลที่ส่วนล่างของหน้าต่างตาราง 3. คลิกเลือกคุณสมบัติเขตข้อมูลที่ต้องการกาหนด แก้ไขคุณสมบัติหรือเลือกรายการตามที่ ต้องการ
  • 8.
  • 9. การใช้งานมุมมองแผ่นข้อมูล(Datasheet) 1. ดับเบิ้ลคลิกที่ตารางทีต้องการ ่ 2. ข้อมูลที่เก็บอยู่ในตารางจะถูกแสดงในรูปแบบของตารางโดยมีชื่อฟิลด์อยู่ที่หัวตารางในแต่ละคอลัมน์ผู้ใช้ สามารถบันทึกข้อมูลลงไปในแต่ละฟิลด์ได้เลย
  • 10. ความสัมพันธ์ระหว่างตารางข้อมูล (Table Data Relationships) ความสัมพันธ์ระหว่างตารางฐานข้อมูลแบบหนึ่งต่อหนึ่ง หมายถึงมีฟิลด์ข้อมูล 1 ฟิลด์ ที่จับคู่กัน ความสัมพันธ์ระหว่างตารางฐานข้อมูลแบบหนึ่งต่อกลุ่ม หมายถึงมีฟิลด์ข้อมูล 1 ฟิลด์ ที่จับคู่กับฟิลด์ข้อมูลหลายฟิลด์ในตารางอื่น แต่ฟิลด์ในตารางนั้นจับคู่ได้เพียงแค่ฟิลด์เดียว ความสัมพันธ์ระหว่างตารางฐานข้อมูลแบบกลุ่มต่อกลุ่ม หมายถึงมีฟิลด์ข้อมูลหลายฟิลด์ที่จับคู่ กันระหว่างตาราง
  • 11. ความสัมพันธ์หนึ่งต่อหนึ่ง (One-to-One Relationships) เป็นการแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลในแอนทิตที่มีความสัมพันธ์กับข้อมูลในอีกแอนทิตี้หนึ่ง ใน ี้ ลักษณะหนึ่งต่อหนึ่ง ตัวอย่างเช่น ผู้เช่า 1 คนสามารถเช่าหนังสือได้เพียง 1 เล่ม หรือ 1 ชุดเท่านั้น ในขณะเดียวกัน หนังสือ 1 เล่ม หรือ 1 ชุด ก็จะมีผู้เช่าเพียงคนเดียว เพราะมีเพียงเล่มเดียวเท่านั้น
  • 12. ความสัมพันธ์แบบหนื่งต่อกลุ่ม(One –to-Many Relationships) เป็นการแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลในแอนทิตหนึ่ง ที่มีความสัมพันธ์กับข้อมูลหลายๆข้อมูลใน ี้ แอนทิตหนึ่ง ตัวอย่างเช่น ผู้เช่า 1 คนสามารถเช่าหนังสือได้เพียง 1 เล่มหรือ 1 ชุด แต่หนังสือรหัสเดียวกันสามารถ ี้ มีผู้เช่ามากกว่า 1คน เพราะมีหนังสือให้เช่ามากกว่า 1 เล่มหรือมากกว่า 1 ชุด
  • 13. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many-to-Many Relationships) เป็นการแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลสองแอนทิตในลักษณะกลุ่มต่อกลุ่ม ตัวอย่างเช่น หนังสือ 1 ี้ เรื่องจะมีผู้ยืมหนังสือได้มากกว่า 1 คน ในขณะเดียวกันผู้ยืมหนังสือ 1 คน ก็สามารถยืมหนังสือได้มากกว่า 1 เรื่อง
  • 14. เนื้อหาจบแล้ว ต่อไปให้นักเรียนทาแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3 เมื่อทาแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3 เสร็จแล้ว ให้นักเรียนศึกษา หน่วยที่ 4 ต่อไป