SlideShare a Scribd company logo
เสวนาวิชาการ 
เรื่อง 
“ปัญหาการตีความ ร่างพระราชบญัญตัิป้องกัน 
และปราบปรามสิ่ง 
ยั่วยุพฤติกรรมอันตราย พ.ศ. ...” 
วันอังคารที่ 
๒๘ ตุลาคม ๒๕๕๗ เวลา ๑๓.๐๐-๑๖.๐๐ น. 
ณ ห้องประชุมชนั้ ๗ อาคารสา นกังานอธิการบดี 
มหาวิทยาลยักรุงเทพธนบุรี 
จดัโดย หลกัสูตรนิติศาสตรมหาบณัฑิต มหาวิทยาลยักรุงเทพธนบุรี
เหตุผลและความเป็นมา 
 กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ได้ทา การยกร่าง พ.ร.บ. ป้องกันและปราบปราม 
สิ่งยั่วยุพฤติกรรมอันตราย พ.ศ. ... โดยมีวตัถุประสงค์เพื่อป้องกันและปราบปรามสื่อรูปแบบต่างๆ ที่ 
จะกระตุ้น ส่งเสริม หรือยั่วยุให้เกิดพฤติกรรมอันตราย ได้แก่ 
๑) การกระทาวิปริตทางเพศ 
๒) ความสัมพันธ์หรือการกระทา ทางเพศกับเด็ก 
๓) การกระทาทารุณกรรมต่อเด็ก 
๔) การฆ่าตัวตายของเด็กหรือเป็นหมู่คณะ 
๕) การใชย้าเสพติด และ 
๖) การกระทา ความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้าย ชิงทรัพย์ ปล้นทรัพยืฆ่าผู้อื่น หรือ 
ทา ร้ายร่างกายโดยทรมานหรือโดยกระทา ทารุณโหดร้าย 
 กา หนดให้มีมาตรการต่างๆ ที่ทา ให้สามารถเข้าถึงข้อมูลเกี่ยวกับการกระทา ความผิดและครอบคลุม 
รูปแบบของ การกระทา ความผิดได้มากข้นึ ทงั้การเข้าตรวจค้น ยึด หรืออายัดสิ่งยั่วยุพฤติกรรม 
อันตรายหรือพยานหลักฐานที่เกี่ยวข้อง ซึ่งจะกา หนดให้เป็นความผิดมูลฐานตามกฏหมาย ว่าด้วยการ 
ป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน หรือให้นา เงินค่าปรับและเงินที่ริบได้มอบให้เป็นกองทุนคุ้มครอง 
เดก็ร้อยละ ๖๐ และกองทุนส่งเสริมการจัดสวสัดิการสังคม ร้อยละ ๔๐
เหตุผลและความเป็นมา 
เจตนารมณ์ของกฎหมายฉบับนี้ เพื่อปกป้องและคุ้มครองเด็ก 
และเยาวชนจากสื่อหรือวตัถุที่จะกระตุ้น ส่งเสริม หรือยั่วยุ ให้ 
เกิดพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมกับวยั ซึ่งเป็นอันตรายต่อเด็กและ 
เยาวชน 
คณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวนัที่ ๒๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ในการ 
เห็นชอบร่างพระราชบัญญัติฉบับที่สา นักงานคณะกรรมการ 
กฤษฏีกาได้ตรวจพิจารณาเสร็จแล้ว
เหตุผลและความจา เป็นในการเสนอร่างพระราชบญัญตัิ 
เนื่องดว้ยกฎหมายอาญาที่เกี่ยวกับวตัถุลามกในปัจจุบันไม่สามารถบังคับใชไ้ด้ 
อย่างมีประสิทธิภาพ ทงั้ไม่มีกฎหมายกา หนดมาตรการในการป้องกันและ 
ปราบปรามการกระทา ความผิดเกี่ยวกับวตัถุลามก เช่น สื่อที่มีการแสดงกิจกรรม 
ที่วิปริตทางเพศและสื่อลามกที่เกี่ยวกับเด็ก ซึ่งพิธีสารเลือกรับต่อท้ายอนุสัญญา 
ว่าดว้ยสิทธิเด็ก กา หนดใหรั้ฐภาคีตอ้งบัญญัติใหเ้ป็นความผิดอาญาและมี 
มาตรการป้องกันและปราบปรามที่เหมาะสมไวด้ว้ย ประกอบกับยังมีสื่อที่ส่งเสริม 
หรือยั่วยุพฤติกรรมอันตรายที่รา้ยแรงอื่น ๆ เช่น การใชย้าเสพติด การฆ่าตัวตาย 
หรือการกระทา ทารุณกรรมต่อเด็ก ซึ่งตอ้งปราบปรามไปพรอ้มกันดว้ย ดังนนั้ 
เพื่อใหก้ารปราบปรามสิ่งยั่วยุพฤติกรรมอันตรายมีประสิทธิภาพ สมควรมี 
กฎหมายว่าดว้ยการป้องกันและปราบปรามสิ่งยั่วยุพฤติกรรมอันตราย 
จึงจา เป็นตอ้งตราพระราชบัญญัตินี้
สาระสา คญัของร่างพระราชบญัญตัิ 
 กาหนดความหมายของสิ่ง 
ยั่วยุพฤติกรรมอันตราย ซึ่ง 
รวมถึงสิ่ง 
ยั่วยุที่ 
น่าจะก่อให้เกิดการกระทา 
วิปริตทางเพศ ความสมัพนัธ์หรือการกระทา ทางเพศกบัเด็ก การกระทา ทารุณกรรมต่อเด็ก 
การฆ่าตวัตายของเด็กหรือเป็นหมู่คณะ การใชย้าเสพติด การกระทา ความผิดต่อชีวิตและ 
ความผิดต่อทรัพย์ และขยายความหมายของคาว่า “เด็ก” ให้ครอบคลุมถึงตัวแสดงที่ 
ปรากฏ 
อยู่ในสิ่ง 
ยั่วยุพฤติกรรมอันตรายที่ 
มีเนื้อหาหรือลักษณะที่ 
ทา ให้เขา้ใจไดว้่าเป็นเด็กดว้ย 
(ร่างมาตรา ๓) 
 พระราชบัญญัตินี้ไม่กระทบกระเทือนถึงอา นาจหน้าที่ของส่วนราชการหรือเจา้หน้าที่อื่นตาม 
กฎหมายอื่นที่มีลักษณะหรือเนื้อหาเกี่ยวกับสิ่งยั่วยุพฤติกรรมอันตราย และกา หนดให้ 
คณะรัฐมนตรีเป็นผู้มีอา นาจในการวินิจฉัยและการวางระเบียบเกี่ยวกับการปฏิบัติราชการ 
และการประสานงานระหว่างส่วนราชการหรือเจา้หน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้กับส่วนราชการ 
หรือเจา้หน้าที่ตามกฎหมายอื่น (ร่างมาตรา ๔)
สาระสา คญัของร่างพระราชบญัญตัิ 
กา หนดให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคง 
ของมนุษย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการ 
สื่อสาร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวง 
ยุติธรรม และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวฒันธรรม ซึ่งเป็นรัฐมนตรีของ 
กระทรวงที่มีภารกิจเกี่ยวข้องกับการปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ 
เป็นรัฐมนตรีผ้รูักษาการตามกฎหมาย และให้รัฐมนตรีแต่ละกระทรวง 
มีอา นาจหน้าที่ตามที่กา หนดเฉพาะในส่วนที่เกี่ยวข้องกับอา นาจหน้าที่ 
ของตนเท่านนั้ (ร่างมาตรา ๕)
สาระสา คญัของร่างพระราชบญัญตัิ 
 หมวดคณะกรรมการ กา หนดให้มีคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามสิ่งยั่วยุพฤติกรรม 
อันตราย ประกอบด้วย 
 (๑) รองนายกรฐัมนตรีที่นายกรัฐมนตรีมอบหมายเป็นประธานกรรมการ 
 (๒) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์เป็นรองประธานกรรมการ 
 (๓) กรรมการโดยตาแหน่ง ได้แก่ ปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ 
ปลัดกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อ 
สาร ปลดักระทรวงมหาดไทย ปลดักระทรวงยุติธรรม 
ปลดักระทรวงวัฒนธรรม ปลดักระทรวงศึกษาธิการ ปลดักระทรวงสาธารณสุข ผูบ้ญัชาการตา รวจ 
แห่งชาติ เลขาธิการสา นกังานศาลยุติธรรม และอยัการสูงสุด 
 (๔) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ 
แต่งตงั้จา นวนห้าคน โดยต้องแต่งตั้งจากบุคคลที่มีความรู้ความสามารถและประสบการณ์ 
ด้านจิตวิทยา จิตเวช เด็กและเยาวชน สื่อสารมวลชน และสังคมวิทยา ด้านละหนึ่งคน ทั้งนี้ 
ให้มีกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิเป็นสตรีไม่น้อยกว่าสองคน 
 (๕) ผูอ้า นวยการสา นกังานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผูด้อ้ยโอกาส และผูสู้งอายุ เป็น 
กรรมการและเลขานุการ และคณะกรรมการจะแต่งตงั้ข้าราชการในสา นักงานส่งเสริมสวสัดิภาพและ 
พิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส และผู้สูงอายุ ไม่เกินสองคนเป็นผู้ช่วยเลขานุการก็ได้ (ร่างมาตรา ๖)
สาระสา คญัของร่างพระราชบญัญตัิ 
 หมวด ๒ พนักงานเจา้หน้าที่ 
 พนักงานเจา้หน้าที่มีอา นาจในการเข้าไปตรวจค้นในสถานที่ หรือเคหสถานของบุคคล ค้นบุคคล 
หรือยานพาหนะ เมื่อมีเหตุอันควรสงสัยว่ามีสิ่งยั่วยุพฤติกรรมอันตรายหรือทรัพย์สินที่ได้ใช้ 
หรือจะใชใ้นการกระทา ความผิดซึ่งอาจใชเ้ป็นพยานหลักฐานได้ (ร่างมาตรา ๑๔ (๑) และ (๒)) 
 ยึดหรืออายัดสิ่งยั่วยุพฤติกรรมอันตรายหรือพยานหลักฐานที่เกี่ยวข้องกับการกระทา ความผิด 
(ร่างมาตรา ๑๔ (๓)) 
 การใชอ้า นาจในการเข้าไปตรวจค้นนั้น พนักงานเจา้หน้าที่จะต้องขอออกหมายค้นก่อน 
ดาเนินการ เว้นแต่จะมีเหตุอันควรเชื่อ 
ว่าหากเนิ่นช้ากว่าจะเอาหมายค้นมาได้สิ่ง 
ยั่วยุพฤติกรรม 
อันตรายหรือพยานหลักฐานที่ 
เกี่ย 
วขอ้งกบัการกระทา ความผิดจะถูกยกัยา้ย ซุกซ่อน ทา ลาย 
หรือทาให้เปลี่ย 
นสภาพไปจากเดิม และต้องบันทึกรายงานผลต่อศาลที่ 
มีเขตอา นาจภายหลงั 
การดา เนินการดงักล่าว
สาระสา คญัของร่างพระราชบญัญตัิ 
การใชอ้า นาจเข้าทา การคน้โดยไม่มีหมายคน้และการเข้าคน้ในเวลากลางคืนจะต้อง 
เป็นไปตามระเบียบที่รัฐมนตรีกา หนดโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ 
ป้องกันและปราบปรามสิ่งยั่วยุพฤติกรรมอันตราย (ร่างมาตรา ๑๔) 
พนักงานเจ้าหน้าที่ 
มีอานาจในการเข้าถึงข้อมูลเกี่ย 
วกบัการกระทา ความผิดในพสัดุ 
ภณัฑ์ จดหมาย ตไู้ปรษณียภณัฑ์ ระบบคอมพิวเตอร์ ขอ้มูลคอมพิวเตอร์ ขอ้มูล 
จราจรทางคอมพิวเตอร์ หรือจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ เมื่ 
อปรากฏหลกัฐานอนัควร 
เชื่ 
อได้ว่าจะได้ข้อมูลที่ 
เกี่ย 
วกบัการกระทา ความผิด ทงั้นี้จะตอ้งไดร้บัอนุญาตจาก 
ศาลและตอ้งรายงานผลการดา เนินการให้ศาลทราบดว้ย (ร่างมาตรา ๑๖)
สาระสา คญัของร่างพระราชบญัญตัิ 
 หมวด ๓ ความผิดและบทกาหนดโทษ 
 ผู้ให้บริการตามกฎหมายว่าด้วยการกระทา ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ที่รู้ว่ามีสิ่งยั่วยุ 
พฤติกรรมอันตรายในระบบคอมพิวเตอร์ที่อยู่ในความควบคุมของตน แต่มิได้จัดการถอนหรือ 
กา จัดออกในทันที ต้องรับโทษตามอัตราโทษที่กา หนด (ร่างมาตรา ๒๒) 
 ผู้กระทา ความผิดเกี่ยวกับสิ่งยั่วยุพฤติกรรมอันตราย 
ตามพระราชบัญญัตินี้ แม้กระทา นอกราชอาณาจักร ต้องรับโทษในราชอาณาจักรด้วย 
(ร่างมาตรา ๒๔) 
 กา หนดให้พนักงานเจา้หน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้แจง้ให้พนักงานเจา้หน้าที่ผู้มีอา นาจตาม 
กฎหมายว่าด้วยการโรงแรม โรงภาพยนตร์ หรือสถานบริการ ดา เนินการเพิกถอนหรือพักใช้ 
ใบอนุญาตผู้ประกอบกิจการซึ่งได้รับอนุญาตตามกฎหมายนั้น หากปรากฏหลักฐานว่าได้รู้เห็น 
เป็นใจให้มีการกระทา ความผิดเกี่ยวกับสิ่งยั่วยุพฤติกรรมอันตรายในสถานประกอบการของตน 
(ร่างมาตรา ๒๕)
เสวนาวิชาการ 
เรื่อง 
“ปัญหาการตีความ ร่างพระราชบญัญตัิป้องกัน 
และปราบปรามสิ่ง 
ยั่วยุพฤติกรรมอันตราย พ.ศ. ...” 
วันอังคารที่ 
๒๘ ตุลาคม ๒๕๕๗ เวลา ๑๓.๐๐-๑๖.๐๐ น. 
ณ ห้องประชุมชนั้ ๗ อาคารสา นกังานอธิการบดี 
มหาวิทยาลยักรุงเทพธนบุรี 
จดัโดย หลกัสูตรนิติศาสตรมหาบณัฑิต มหาวิทยาลยักรุงเทพธนบุรี

More Related Content

What's hot

สิทธิมนุษยชนกับศาสนา
สิทธิมนุษยชนกับศาสนา  สิทธิมนุษยชนกับศาสนา
สิทธิมนุษยชนกับศาสนา
ssuserd18196
 
นโยบายของรัฐ
นโยบายของรัฐนโยบายของรัฐ
นโยบายของรัฐRobert Kim
 
Gov policy-55
Gov policy-55Gov policy-55
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศwannuka24
 
เทคโนโลยี สารสนเทศ มิ้ม
เทคโนโลยี สารสนเทศ มิ้มเทคโนโลยี สารสนเทศ มิ้ม
เทคโนโลยี สารสนเทศ มิ้มNoomim
 
เทคโนโลยี สารสนเทศ
เทคโนโลยี สารสนเทศเทคโนโลยี สารสนเทศ
เทคโนโลยี สารสนเทศPheeranan Thetkham
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศwannuka24
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศwannuka24
 

What's hot (9)

สิทธิมนุษยชนกับศาสนา
สิทธิมนุษยชนกับศาสนา  สิทธิมนุษยชนกับศาสนา
สิทธิมนุษยชนกับศาสนา
 
นโยบายของรัฐ
นโยบายของรัฐนโยบายของรัฐ
นโยบายของรัฐ
 
Gov policy-55
Gov policy-55Gov policy-55
Gov policy-55
 
Concept Goverment
Concept GovermentConcept Goverment
Concept Goverment
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยี สารสนเทศ มิ้ม
เทคโนโลยี สารสนเทศ มิ้มเทคโนโลยี สารสนเทศ มิ้ม
เทคโนโลยี สารสนเทศ มิ้ม
 
เทคโนโลยี สารสนเทศ
เทคโนโลยี สารสนเทศเทคโนโลยี สารสนเทศ
เทคโนโลยี สารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 

Viewers also liked

Recycling
RecyclingRecycling
Recycling
Dia Diana
 
Auberon lol ministry_fix
Auberon lol ministry_fixAuberon lol ministry_fix
Auberon lol ministry_fix
blackdaisies
 
Comenius la arad romania
Comenius  la  arad romaniaComenius  la  arad romania
Comenius la arad romaniaDia Diana
 
Instantanee 2009-2010
Instantanee 2009-2010Instantanee 2009-2010
Instantanee 2009-2010Dia Diana
 
Top 5 surse de poluare jud. Neamţ
Top 5 surse de poluare jud. NeamţTop 5 surse de poluare jud. Neamţ
Top 5 surse de poluare jud. NeamţDia Diana
 

Viewers also liked (6)

Recycling
RecyclingRecycling
Recycling
 
Auberon lol ministry_fix
Auberon lol ministry_fixAuberon lol ministry_fix
Auberon lol ministry_fix
 
Comenius la arad romania
Comenius  la  arad romaniaComenius  la  arad romania
Comenius la arad romania
 
Instantanee 2009-2010
Instantanee 2009-2010Instantanee 2009-2010
Instantanee 2009-2010
 
Top 5 surse de poluare jud. Neamţ
Top 5 surse de poluare jud. NeamţTop 5 surse de poluare jud. Neamţ
Top 5 surse de poluare jud. Neamţ
 
Pilota PassadíS1
Pilota PassadíS1Pilota PassadíS1
Pilota PassadíS1
 

Similar to สไลด์ ปัญหาการตีความร่างพ.ร.บ.ป้องกันและปราบปรามสิ่งยั่วยุพฤติกรรมอันตราย (28 ต.ค. 2557 - มหาวิทย

พระราชบัญญัติ ส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม
พระราชบัญญัติ ส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมพระราชบัญญัติ ส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม
พระราชบัญญัติ ส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมPoramate Minsiri
 
คำแถลงนโยบาย ของคณะรัฐมนตรี พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา แถลงต่อสภานิติบัญญัติแห...
คำแถลงนโยบาย ของคณะรัฐมนตรี พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา แถลงต่อสภานิติบัญญัติแห...คำแถลงนโยบาย ของคณะรัฐมนตรี พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา แถลงต่อสภานิติบัญญัติแห...
คำแถลงนโยบาย ของคณะรัฐมนตรี พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา แถลงต่อสภานิติบัญญัติแห...
ประพันธ์ เวารัมย์
 
รายชื่อผู้สมควรได้รับใบประกาศเกียรติคุณโครงการวิทยาศาสตร์สู่ความเป็นเลิศ]
รายชื่อผู้สมควรได้รับใบประกาศเกียรติคุณโครงการวิทยาศาสตร์สู่ความเป็นเลิศ]รายชื่อผู้สมควรได้รับใบประกาศเกียรติคุณโครงการวิทยาศาสตร์สู่ความเป็นเลิศ]
รายชื่อผู้สมควรได้รับใบประกาศเกียรติคุณโครงการวิทยาศาสตร์สู่ความเป็นเลิศ]
Thanachart Numnonda
 
NAC 2009 Agenda
NAC 2009 AgendaNAC 2009 Agenda
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศCreampyyy
 
What is innovation? How to capture this value? นวัตกรรม
What is innovation? How to capture this value? นวัตกรรมWhat is innovation? How to capture this value? นวัตกรรม
What is innovation? How to capture this value? นวัตกรรม
Kant Weerakant Drive Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
DUGA September series: Education ICT- Human Capital Development & the Role of...
DUGA September series: Education ICT- Human Capital Development & the Role of...DUGA September series: Education ICT- Human Capital Development & the Role of...
DUGA September series: Education ICT- Human Capital Development & the Role of...
Experience Matters Co.Ltd.
 
การเสวนา "ก้าวต่อไปประเทศไทย" ครั้งที่ 1
การเสวนา "ก้าวต่อไปประเทศไทย" ครั้งที่ 1การเสวนา "ก้าวต่อไปประเทศไทย" ครั้งที่ 1
การเสวนา "ก้าวต่อไปประเทศไทย" ครั้งที่ 1Poramate Minsiri
 
ผู้ได้รับใบประกาศเกียรติคุณโครงการวิทยาศาสตร์สู่ความเป็นเลิศ วุฒิสภา พ.ศ. ๒๕๕๖
ผู้ได้รับใบประกาศเกียรติคุณโครงการวิทยาศาสตร์สู่ความเป็นเลิศ วุฒิสภา พ.ศ. ๒๕๕๖ผู้ได้รับใบประกาศเกียรติคุณโครงการวิทยาศาสตร์สู่ความเป็นเลิศ วุฒิสภา พ.ศ. ๒๕๕๖
ผู้ได้รับใบประกาศเกียรติคุณโครงการวิทยาศาสตร์สู่ความเป็นเลิศ วุฒิสภา พ.ศ. ๒๕๕๖IMC Institute
 
งานเสวนา บนย่างก้าวสู่ประชาคมอาเซียน 2015 ปัญหา อุปสรรคและโอกาส
งานเสวนา บนย่างก้าวสู่ประชาคมอาเซียน 2015  ปัญหา อุปสรรคและโอกาสงานเสวนา บนย่างก้าวสู่ประชาคมอาเซียน 2015  ปัญหา อุปสรรคและโอกาส
งานเสวนา บนย่างก้าวสู่ประชาคมอาเซียน 2015 ปัญหา อุปสรรคและโอกาส
Teeranan
 
Nstda 55 final
Nstda 55 finalNstda 55 final
Nstda 55 final
Invest Ment
 
2553 1 statement-of-government-policy
2553 1 statement-of-government-policy2553 1 statement-of-government-policy
2553 1 statement-of-government-policyps-most
 
คำแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรี (นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี)
คำแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรี (นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี)คำแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรี (นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี)
คำแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรี (นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี)ps-most
 
2553 1 statement-of-government-policy
2553 1 statement-of-government-policy2553 1 statement-of-government-policy
2553 1 statement-of-government-policyps-most
 
2552 1-statement-of-government-policy
2552 1-statement-of-government-policy2552 1-statement-of-government-policy
2552 1-statement-of-government-policyps-most
 

Similar to สไลด์ ปัญหาการตีความร่างพ.ร.บ.ป้องกันและปราบปรามสิ่งยั่วยุพฤติกรรมอันตราย (28 ต.ค. 2557 - มหาวิทย (20)

พระราชบัญญัติ ส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม
พระราชบัญญัติ ส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมพระราชบัญญัติ ส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม
พระราชบัญญัติ ส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม
 
คำแถลงนโยบาย ของคณะรัฐมนตรี พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา แถลงต่อสภานิติบัญญัติแห...
คำแถลงนโยบาย ของคณะรัฐมนตรี พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา แถลงต่อสภานิติบัญญัติแห...คำแถลงนโยบาย ของคณะรัฐมนตรี พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา แถลงต่อสภานิติบัญญัติแห...
คำแถลงนโยบาย ของคณะรัฐมนตรี พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา แถลงต่อสภานิติบัญญัติแห...
 
V 288
V 288V 288
V 288
 
รายชื่อผู้สมควรได้รับใบประกาศเกียรติคุณโครงการวิทยาศาสตร์สู่ความเป็นเลิศ]
รายชื่อผู้สมควรได้รับใบประกาศเกียรติคุณโครงการวิทยาศาสตร์สู่ความเป็นเลิศ]รายชื่อผู้สมควรได้รับใบประกาศเกียรติคุณโครงการวิทยาศาสตร์สู่ความเป็นเลิศ]
รายชื่อผู้สมควรได้รับใบประกาศเกียรติคุณโครงการวิทยาศาสตร์สู่ความเป็นเลิศ]
 
NAC 2009 Agenda
NAC 2009 AgendaNAC 2009 Agenda
NAC 2009 Agenda
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
V 302
V 302V 302
V 302
 
What is innovation? How to capture this value? นวัตกรรม
What is innovation? How to capture this value? นวัตกรรมWhat is innovation? How to capture this value? นวัตกรรม
What is innovation? How to capture this value? นวัตกรรม
 
V 298
V 298V 298
V 298
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566
 
DUGA September series: Education ICT- Human Capital Development & the Role of...
DUGA September series: Education ICT- Human Capital Development & the Role of...DUGA September series: Education ICT- Human Capital Development & the Role of...
DUGA September series: Education ICT- Human Capital Development & the Role of...
 
การเสวนา "ก้าวต่อไปประเทศไทย" ครั้งที่ 1
การเสวนา "ก้าวต่อไปประเทศไทย" ครั้งที่ 1การเสวนา "ก้าวต่อไปประเทศไทย" ครั้งที่ 1
การเสวนา "ก้าวต่อไปประเทศไทย" ครั้งที่ 1
 
V 289
V 289V 289
V 289
 
ผู้ได้รับใบประกาศเกียรติคุณโครงการวิทยาศาสตร์สู่ความเป็นเลิศ วุฒิสภา พ.ศ. ๒๕๕๖
ผู้ได้รับใบประกาศเกียรติคุณโครงการวิทยาศาสตร์สู่ความเป็นเลิศ วุฒิสภา พ.ศ. ๒๕๕๖ผู้ได้รับใบประกาศเกียรติคุณโครงการวิทยาศาสตร์สู่ความเป็นเลิศ วุฒิสภา พ.ศ. ๒๕๕๖
ผู้ได้รับใบประกาศเกียรติคุณโครงการวิทยาศาสตร์สู่ความเป็นเลิศ วุฒิสภา พ.ศ. ๒๕๕๖
 
งานเสวนา บนย่างก้าวสู่ประชาคมอาเซียน 2015 ปัญหา อุปสรรคและโอกาส
งานเสวนา บนย่างก้าวสู่ประชาคมอาเซียน 2015  ปัญหา อุปสรรคและโอกาสงานเสวนา บนย่างก้าวสู่ประชาคมอาเซียน 2015  ปัญหา อุปสรรคและโอกาส
งานเสวนา บนย่างก้าวสู่ประชาคมอาเซียน 2015 ปัญหา อุปสรรคและโอกาส
 
Nstda 55 final
Nstda 55 finalNstda 55 final
Nstda 55 final
 
2553 1 statement-of-government-policy
2553 1 statement-of-government-policy2553 1 statement-of-government-policy
2553 1 statement-of-government-policy
 
คำแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรี (นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี)
คำแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรี (นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี)คำแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรี (นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี)
คำแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรี (นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี)
 
2553 1 statement-of-government-policy
2553 1 statement-of-government-policy2553 1 statement-of-government-policy
2553 1 statement-of-government-policy
 
2552 1-statement-of-government-policy
2552 1-statement-of-government-policy2552 1-statement-of-government-policy
2552 1-statement-of-government-policy
 

สไลด์ ปัญหาการตีความร่างพ.ร.บ.ป้องกันและปราบปรามสิ่งยั่วยุพฤติกรรมอันตราย (28 ต.ค. 2557 - มหาวิทย

  • 1. เสวนาวิชาการ เรื่อง “ปัญหาการตีความ ร่างพระราชบญัญตัิป้องกัน และปราบปรามสิ่ง ยั่วยุพฤติกรรมอันตราย พ.ศ. ...” วันอังคารที่ ๒๘ ตุลาคม ๒๕๕๗ เวลา ๑๓.๐๐-๑๖.๐๐ น. ณ ห้องประชุมชนั้ ๗ อาคารสา นกังานอธิการบดี มหาวิทยาลยักรุงเทพธนบุรี จดัโดย หลกัสูตรนิติศาสตรมหาบณัฑิต มหาวิทยาลยักรุงเทพธนบุรี
  • 2. เหตุผลและความเป็นมา  กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ได้ทา การยกร่าง พ.ร.บ. ป้องกันและปราบปราม สิ่งยั่วยุพฤติกรรมอันตราย พ.ศ. ... โดยมีวตัถุประสงค์เพื่อป้องกันและปราบปรามสื่อรูปแบบต่างๆ ที่ จะกระตุ้น ส่งเสริม หรือยั่วยุให้เกิดพฤติกรรมอันตราย ได้แก่ ๑) การกระทาวิปริตทางเพศ ๒) ความสัมพันธ์หรือการกระทา ทางเพศกับเด็ก ๓) การกระทาทารุณกรรมต่อเด็ก ๔) การฆ่าตัวตายของเด็กหรือเป็นหมู่คณะ ๕) การใชย้าเสพติด และ ๖) การกระทา ความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้าย ชิงทรัพย์ ปล้นทรัพยืฆ่าผู้อื่น หรือ ทา ร้ายร่างกายโดยทรมานหรือโดยกระทา ทารุณโหดร้าย  กา หนดให้มีมาตรการต่างๆ ที่ทา ให้สามารถเข้าถึงข้อมูลเกี่ยวกับการกระทา ความผิดและครอบคลุม รูปแบบของ การกระทา ความผิดได้มากข้นึ ทงั้การเข้าตรวจค้น ยึด หรืออายัดสิ่งยั่วยุพฤติกรรม อันตรายหรือพยานหลักฐานที่เกี่ยวข้อง ซึ่งจะกา หนดให้เป็นความผิดมูลฐานตามกฏหมาย ว่าด้วยการ ป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน หรือให้นา เงินค่าปรับและเงินที่ริบได้มอบให้เป็นกองทุนคุ้มครอง เดก็ร้อยละ ๖๐ และกองทุนส่งเสริมการจัดสวสัดิการสังคม ร้อยละ ๔๐
  • 3. เหตุผลและความเป็นมา เจตนารมณ์ของกฎหมายฉบับนี้ เพื่อปกป้องและคุ้มครองเด็ก และเยาวชนจากสื่อหรือวตัถุที่จะกระตุ้น ส่งเสริม หรือยั่วยุ ให้ เกิดพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมกับวยั ซึ่งเป็นอันตรายต่อเด็กและ เยาวชน คณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวนัที่ ๒๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ในการ เห็นชอบร่างพระราชบัญญัติฉบับที่สา นักงานคณะกรรมการ กฤษฏีกาได้ตรวจพิจารณาเสร็จแล้ว
  • 4. เหตุผลและความจา เป็นในการเสนอร่างพระราชบญัญตัิ เนื่องดว้ยกฎหมายอาญาที่เกี่ยวกับวตัถุลามกในปัจจุบันไม่สามารถบังคับใชไ้ด้ อย่างมีประสิทธิภาพ ทงั้ไม่มีกฎหมายกา หนดมาตรการในการป้องกันและ ปราบปรามการกระทา ความผิดเกี่ยวกับวตัถุลามก เช่น สื่อที่มีการแสดงกิจกรรม ที่วิปริตทางเพศและสื่อลามกที่เกี่ยวกับเด็ก ซึ่งพิธีสารเลือกรับต่อท้ายอนุสัญญา ว่าดว้ยสิทธิเด็ก กา หนดใหรั้ฐภาคีตอ้งบัญญัติใหเ้ป็นความผิดอาญาและมี มาตรการป้องกันและปราบปรามที่เหมาะสมไวด้ว้ย ประกอบกับยังมีสื่อที่ส่งเสริม หรือยั่วยุพฤติกรรมอันตรายที่รา้ยแรงอื่น ๆ เช่น การใชย้าเสพติด การฆ่าตัวตาย หรือการกระทา ทารุณกรรมต่อเด็ก ซึ่งตอ้งปราบปรามไปพรอ้มกันดว้ย ดังนนั้ เพื่อใหก้ารปราบปรามสิ่งยั่วยุพฤติกรรมอันตรายมีประสิทธิภาพ สมควรมี กฎหมายว่าดว้ยการป้องกันและปราบปรามสิ่งยั่วยุพฤติกรรมอันตราย จึงจา เป็นตอ้งตราพระราชบัญญัตินี้
  • 5. สาระสา คญัของร่างพระราชบญัญตัิ  กาหนดความหมายของสิ่ง ยั่วยุพฤติกรรมอันตราย ซึ่ง รวมถึงสิ่ง ยั่วยุที่ น่าจะก่อให้เกิดการกระทา วิปริตทางเพศ ความสมัพนัธ์หรือการกระทา ทางเพศกบัเด็ก การกระทา ทารุณกรรมต่อเด็ก การฆ่าตวัตายของเด็กหรือเป็นหมู่คณะ การใชย้าเสพติด การกระทา ความผิดต่อชีวิตและ ความผิดต่อทรัพย์ และขยายความหมายของคาว่า “เด็ก” ให้ครอบคลุมถึงตัวแสดงที่ ปรากฏ อยู่ในสิ่ง ยั่วยุพฤติกรรมอันตรายที่ มีเนื้อหาหรือลักษณะที่ ทา ให้เขา้ใจไดว้่าเป็นเด็กดว้ย (ร่างมาตรา ๓)  พระราชบัญญัตินี้ไม่กระทบกระเทือนถึงอา นาจหน้าที่ของส่วนราชการหรือเจา้หน้าที่อื่นตาม กฎหมายอื่นที่มีลักษณะหรือเนื้อหาเกี่ยวกับสิ่งยั่วยุพฤติกรรมอันตราย และกา หนดให้ คณะรัฐมนตรีเป็นผู้มีอา นาจในการวินิจฉัยและการวางระเบียบเกี่ยวกับการปฏิบัติราชการ และการประสานงานระหว่างส่วนราชการหรือเจา้หน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้กับส่วนราชการ หรือเจา้หน้าที่ตามกฎหมายอื่น (ร่างมาตรา ๔)
  • 6. สาระสา คญัของร่างพระราชบญัญตัิ กา หนดให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคง ของมนุษย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสาร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวง ยุติธรรม และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวฒันธรรม ซึ่งเป็นรัฐมนตรีของ กระทรวงที่มีภารกิจเกี่ยวข้องกับการปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ เป็นรัฐมนตรีผ้รูักษาการตามกฎหมาย และให้รัฐมนตรีแต่ละกระทรวง มีอา นาจหน้าที่ตามที่กา หนดเฉพาะในส่วนที่เกี่ยวข้องกับอา นาจหน้าที่ ของตนเท่านนั้ (ร่างมาตรา ๕)
  • 7. สาระสา คญัของร่างพระราชบญัญตัิ  หมวดคณะกรรมการ กา หนดให้มีคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามสิ่งยั่วยุพฤติกรรม อันตราย ประกอบด้วย  (๑) รองนายกรฐัมนตรีที่นายกรัฐมนตรีมอบหมายเป็นประธานกรรมการ  (๒) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์เป็นรองประธานกรรมการ  (๓) กรรมการโดยตาแหน่ง ได้แก่ ปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ปลัดกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อ สาร ปลดักระทรวงมหาดไทย ปลดักระทรวงยุติธรรม ปลดักระทรวงวัฒนธรรม ปลดักระทรวงศึกษาธิการ ปลดักระทรวงสาธารณสุข ผูบ้ญัชาการตา รวจ แห่งชาติ เลขาธิการสา นกังานศาลยุติธรรม และอยัการสูงสุด  (๔) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ แต่งตงั้จา นวนห้าคน โดยต้องแต่งตั้งจากบุคคลที่มีความรู้ความสามารถและประสบการณ์ ด้านจิตวิทยา จิตเวช เด็กและเยาวชน สื่อสารมวลชน และสังคมวิทยา ด้านละหนึ่งคน ทั้งนี้ ให้มีกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิเป็นสตรีไม่น้อยกว่าสองคน  (๕) ผูอ้า นวยการสา นกังานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผูด้อ้ยโอกาส และผูสู้งอายุ เป็น กรรมการและเลขานุการ และคณะกรรมการจะแต่งตงั้ข้าราชการในสา นักงานส่งเสริมสวสัดิภาพและ พิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส และผู้สูงอายุ ไม่เกินสองคนเป็นผู้ช่วยเลขานุการก็ได้ (ร่างมาตรา ๖)
  • 8. สาระสา คญัของร่างพระราชบญัญตัิ  หมวด ๒ พนักงานเจา้หน้าที่  พนักงานเจา้หน้าที่มีอา นาจในการเข้าไปตรวจค้นในสถานที่ หรือเคหสถานของบุคคล ค้นบุคคล หรือยานพาหนะ เมื่อมีเหตุอันควรสงสัยว่ามีสิ่งยั่วยุพฤติกรรมอันตรายหรือทรัพย์สินที่ได้ใช้ หรือจะใชใ้นการกระทา ความผิดซึ่งอาจใชเ้ป็นพยานหลักฐานได้ (ร่างมาตรา ๑๔ (๑) และ (๒))  ยึดหรืออายัดสิ่งยั่วยุพฤติกรรมอันตรายหรือพยานหลักฐานที่เกี่ยวข้องกับการกระทา ความผิด (ร่างมาตรา ๑๔ (๓))  การใชอ้า นาจในการเข้าไปตรวจค้นนั้น พนักงานเจา้หน้าที่จะต้องขอออกหมายค้นก่อน ดาเนินการ เว้นแต่จะมีเหตุอันควรเชื่อ ว่าหากเนิ่นช้ากว่าจะเอาหมายค้นมาได้สิ่ง ยั่วยุพฤติกรรม อันตรายหรือพยานหลักฐานที่ เกี่ย วขอ้งกบัการกระทา ความผิดจะถูกยกัยา้ย ซุกซ่อน ทา ลาย หรือทาให้เปลี่ย นสภาพไปจากเดิม และต้องบันทึกรายงานผลต่อศาลที่ มีเขตอา นาจภายหลงั การดา เนินการดงักล่าว
  • 9. สาระสา คญัของร่างพระราชบญัญตัิ การใชอ้า นาจเข้าทา การคน้โดยไม่มีหมายคน้และการเข้าคน้ในเวลากลางคืนจะต้อง เป็นไปตามระเบียบที่รัฐมนตรีกา หนดโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ ป้องกันและปราบปรามสิ่งยั่วยุพฤติกรรมอันตราย (ร่างมาตรา ๑๔) พนักงานเจ้าหน้าที่ มีอานาจในการเข้าถึงข้อมูลเกี่ย วกบัการกระทา ความผิดในพสัดุ ภณัฑ์ จดหมาย ตไู้ปรษณียภณัฑ์ ระบบคอมพิวเตอร์ ขอ้มูลคอมพิวเตอร์ ขอ้มูล จราจรทางคอมพิวเตอร์ หรือจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ เมื่ อปรากฏหลกัฐานอนัควร เชื่ อได้ว่าจะได้ข้อมูลที่ เกี่ย วกบัการกระทา ความผิด ทงั้นี้จะตอ้งไดร้บัอนุญาตจาก ศาลและตอ้งรายงานผลการดา เนินการให้ศาลทราบดว้ย (ร่างมาตรา ๑๖)
  • 10. สาระสา คญัของร่างพระราชบญัญตัิ  หมวด ๓ ความผิดและบทกาหนดโทษ  ผู้ให้บริการตามกฎหมายว่าด้วยการกระทา ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ที่รู้ว่ามีสิ่งยั่วยุ พฤติกรรมอันตรายในระบบคอมพิวเตอร์ที่อยู่ในความควบคุมของตน แต่มิได้จัดการถอนหรือ กา จัดออกในทันที ต้องรับโทษตามอัตราโทษที่กา หนด (ร่างมาตรา ๒๒)  ผู้กระทา ความผิดเกี่ยวกับสิ่งยั่วยุพฤติกรรมอันตราย ตามพระราชบัญญัตินี้ แม้กระทา นอกราชอาณาจักร ต้องรับโทษในราชอาณาจักรด้วย (ร่างมาตรา ๒๔)  กา หนดให้พนักงานเจา้หน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้แจง้ให้พนักงานเจา้หน้าที่ผู้มีอา นาจตาม กฎหมายว่าด้วยการโรงแรม โรงภาพยนตร์ หรือสถานบริการ ดา เนินการเพิกถอนหรือพักใช้ ใบอนุญาตผู้ประกอบกิจการซึ่งได้รับอนุญาตตามกฎหมายนั้น หากปรากฏหลักฐานว่าได้รู้เห็น เป็นใจให้มีการกระทา ความผิดเกี่ยวกับสิ่งยั่วยุพฤติกรรมอันตรายในสถานประกอบการของตน (ร่างมาตรา ๒๕)
  • 11.
  • 12.
  • 13.
  • 14.
  • 15.
  • 16.
  • 17.
  • 18. เสวนาวิชาการ เรื่อง “ปัญหาการตีความ ร่างพระราชบญัญตัิป้องกัน และปราบปรามสิ่ง ยั่วยุพฤติกรรมอันตราย พ.ศ. ...” วันอังคารที่ ๒๘ ตุลาคม ๒๕๕๗ เวลา ๑๓.๐๐-๑๖.๐๐ น. ณ ห้องประชุมชนั้ ๗ อาคารสา นกังานอธิการบดี มหาวิทยาลยักรุงเทพธนบุรี จดัโดย หลกัสูตรนิติศาสตรมหาบณัฑิต มหาวิทยาลยักรุงเทพธนบุรี