SlideShare a Scribd company logo
การจัดการพาณิชย์
นาวี
บรรยายโดย ขวัญชัย ช้างเกิด
MBA Logistics Ramkhamhaeng
เอกสารอ้างอิง
• เอกสารอ้างอิง กรมการขนส่งทางนำ้า และพานิชยนาวี กระทรวง
คมนาคม
• หนังสือการจัดการกิจการพานิชยนาวี ผศ.น.ท.สำาราญ ทองเล็ก
2551
ประวัติ การขนส่งทางทะเลของประเทศไทย
• การขนส่งทางทะเลมีมาตั้งแต่สมัยสุโขทัย โดย
ติดต่อค้าขายกับประเทศจีน โดยเรือสำาเภาจีน
• สมัยกรุงศรีอยุธยาจึงได้มีการขยายขอบเขตการ
ค้าไปยังประเทศญวน มลายู ชวา สุมาตรา
อินเดีย และศรีลังกา ในสมัครสมเด็จพระ
รามาธิบดีที่ 2 ได้มีการค้าขายกับประเทศยุโรป
เริ่มจากโปรตุเกส สเปน ฮอลแลนด์ อังกฤษ และ
ฝรั่งเศส การขนส่งทางทะเลของไทยในสมัยกรุง
ศรีอยุธยาเจริญที่สุดในรัชสมัยของสมเด็จพระ
นารายณ์มหาราช สิ้นรัชกาลของสมเด็จพระ
นารายณ์มหาราช พระเทพราชาไม่ทรงวาง
• ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ในรัชสมัยพระบาทสำา
เด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยได้ทรงทำาการค้ากับ
ประเทศจีน เขมร ญาณ มลายู ชวาและอินเดีย
ได้มีการต่อและซื้อเรือในแบบฝรั่งเรียกว่า เรือ
กำาปั่นใน ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จ
พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เกิดการปฏิวัติ
อุตสาหกรรม ประเทศไทยจึงได้เริ่มใช้เรือกลไฟ
มีการสร้างอู่ต่อเรือกลไฟ แต่เนื่องจากเรือกลไฟ
ของต่างชาติใหญ่กว่าและแล่นได้เร็วกว่า ทำาให้
เรือกลไฟของไทยไม่สามารถแข่งขันได้จน
ประเทศไทยเกิดบาดหมางกับประเทศฮอลันดา
• ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 1 ประเทศไทยเข้า
ข้างฝ่ายพันธมิตร ได้ประกาศสงครามกับ
ประเทศเยอรมัน ประยึดเรือของบริษัท นอร์ท
เยอรมันลอย จำานวน 9 ลำาเป็นเรือเชลย เรือทั้ง
9 ลำามาจดทะเบียนเป็นเรือของบริษัทและเปลี่ยน
ชื่อเป็น แก้วสมุทร ผ่านสมุทร ศรีสมุทร ปิ่น
สมุทร เด่นสมุทร แล่นสมุทร ท่องสมุทรและเยี่ยม
สมุทรโดยมีพระยาโชฏิราชเศรษฐี (ผ่อง โชติก
พุกนะ)
• เป็นผู้จัดการเป็นคนแรก ต่อมาภายหลังบริษัท
ขาดทุนจึงขายเรือทั้งหมดให้ชาวญี่ปุ่นและเลิก
• ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 เรือถูกนำาไปใช้ใน
การสงคราม ทำาให้ประเทศไทยขาดการขนส่ง
ทางทะเล รัฐบาลจึงตั้งบริษัท ไทยเดินเรือทะเล
จำากัด ในปี พ.ศ. 2482 โดยซื้อเรือเก่าสร้างในปี
พ.ศ. 2463 จำานวน 4 ลำา คือ
สุริโยทัยนาวา เทพกษัตริย์นาวา ศรีสมัทรนาวา
และ นางเสือนาวา ในบริการแบบเรือจรระหว่าง
กรุงเทพ-อาฟริกาใต้-สหรัฐอเมริกาสิ้นสุด
สงครามบริษัทได้รับเรือคืนเพียงสำาเดียวเพราะ
เรือที่เหลือถูกจมระหว่างสงคราม บริษัทได้นำา
เรือดังกล่าวไปให้บริการระหว่างกรุงเทพ-
แนวคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับการขนส่งทางทะเล
• การขนส่งสินค้าทางทะเล เป็นส่วนประกอบที่
สำาคัญส่วนหนึ่งของระบบการค้าระหว่างประเทศ
ทั้งในอดีต ปัจจุบัน และอนาคต เพราะเป็นเพียง
การขนส่งชนิดเดียวที่ขนสินค้าได้คราวละมากๆ
และค่าระวางมีราคาถูกกว่าการขนส่งรูปแบ
บอื่นๆ
• การขนส่งสินค้าทั้งขาเข้าและขาออกของไทย
เป็นการขนส่งทางทะเลเป็นส่วนใหญ่ ดังนั้นการ
ขนส่งสินค้าทางทะเลจึงเป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อ
ความสามารถในการแข่งขันทางการค้าใน
ตลาดโลก
ลักษณะกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง ท่าเรือ
การบริการนอกท่า อู่เรือ การขนส่ง
เชื่อมโยงหลายรูปแบบ และการแลก
เปลี่ยนข้อมูลทางด้าน อิเล็กทรอนิกส์
การขนส่งเชื่อมโยงระหว่างท่าเรือกับดินแดน
หลังท่า
โดยการนำาระบบขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ
มาใช้ เพื่อประโยชน์ดังต่อไปนี้
• ลดต้นทุนค่าขนส่ง โดยการนำารูปแบบการขนส่ง
แต่ละรูปแบบที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพที่สุด
มาใช้ร่วมกัน
• เพิ่มผลผลิตและประสิทธิภาพทางด้านเศรษฐกิจ
เพื่อการแข่งขันในยุคโลกาภิวัฒน์
• ก่อให้เกิดความสมดุลในการใช้ประโยชน์
โครงสร้างพื้นฐานการขนส่งแต่ละรูปแบบ
• เพื่อเพิ่มผลตอบแทนการลงทุนการก่อสร้าง
โครงสร้างพื้นฐานทั้งภาครัฐและภาคเอกชนให้
สูงขึ้น
• เพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจแก่พื้นที่ที่มี
ประสิทธิภาพการขนส่งตำ่าและไม่สะดวก หรือมี
ข้อจำากัดทางด้านการขนส่ง
• เพื่อประหยัดการใช้พลังงานและลดผลกระทบ
ทางด้านสิ่งแวดล้อม
• เพื่อให้บริการขนส่งแบบรับส่งถึงที่ ให้มีความ
รวดเร็วและสามารถตอบสนองความต้องการ
ความสำาคัญของการขนส่งทางทะเล
• การขนส่งทางทะเลของประเทศไทย ปริมาณ
สินค้าที่ขนส่งทางทะเล จะเป็นร้อยละ 91-96 (ปี
2547)ดังนั้นการขนส่งทางทะเลจึงเป็นที่นิยม
เนื่องจากมีค่าใช้จ่ายที่ถูกที่สุดและขนส่งได้
คราวละมากๆจึงทำาให้ต้นทุนด้านเชื้อเพลิงลดลง
ข้อเสียของการขนส่งทางทะเล ก็คือ มีความ
ล่าช้า ที่เกิดจากต้องมีการถ่ายตามท่าเรือที่ได้มี
การกำาหนดไว้ที่เรียกว่า
Place to place และข้อกำาหนดในเรื่องของคาม
เร็วและสภาพภูมิศาสตร์ในแต่ละฤดู ไม่ว่าจะเป็น
สาเหตุมาจากลมพายุ กระแสนำ้า และทะเลที่เป็น
นำ้าแข็ง ก็ล้วนมีอุปสรรคในการขนส่ง
ธุรกิจเกี่ยวเนื่องกับการขนส่งทางทะเล
• ธุรกิจเกี่ยวเนื่องกับการขนส่งทางทะเล
รูปแบบของการขนส่งสินค้าทางทะเลใน
อนาคตได้มีการเปลี่ยนแปลง เนื่องจาก
บริษัทเดินเรือ ซึ่งเกือบจะ 90-95% เป็น
ของบริษัทข้ามชาติ ได้มีการปรับการให้
บริการเป็นลักษณะ Intermodal
Transport ที่เรียกว่า ผสมผสานประเภท
การขนส่งเชื่อมต่อทางเรือร่วมกับการ
ขนส่งทางถนน-รถไฟ-อากาศ เป็นธุรกิจที่
ขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ (Multimodal
Transport Operation) ในการขนส่งที่
เริ่มจากจุดต้นทางไปถึงจุดปลายทางได้ดี
• อุปสรรคของการขนส่งทางทะเลของไทย
อัตราค่าต้นทุนการขนส่งทางทะเลของไทยยัง
ไม่สู้ มาเลียเซีย,สิงค์โปร์,ฮ่องกง เนื่องจาก
ประเทศไทยไม่มีกองเรือ แห่งชาติ ทำาให้ต้อง
พึ่งพากองเรือข้ามชาติ ซึ่งเขาจะมีการรวมตัว
กันเป็นกลุ่มธุรกิจผูกขาด ไม่สามารถต่อรอง
อัตราค่าระวางบรรทุกได้ อย่างมีประสิทธิภาพ
อีกทั้งกฎระเบียบต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการส่งออก
และการดำาเนินการขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ
ขาดความคล่องตัว
ธุรกิจที่มีความคล่องตัวในไทย จะเป็น ธุรกิจ
ประเภท Freight Forwader ซึ่งเป็นธุรกิจด้าน
การขนส่งทางทะเลที่มีความเมาะสมของไทย ซึ่ง
ไม่มีเรือเป็นของตนเอง กฎหมายและระเบียบ
• ทั้งหมดนี้มีผลต่อขีดความสามารถในการ
แข่งขันของไทยที่จะเป็น
HUB ของการขนส่งทางทะเลของภูมิภาค
ประเทศไทยจะต้องมีการส่งเสริมการขนส่ง
สินค้าภายในประเทศให้ดีที่สุด และพร้อมที่จะ
ธุรกิจเกี่ยวเนื่องกับการขนส่งทางทะเล
• ธุรกิจเกี่ยวเนื่องกับการขนส่งทางทะเล
หมายถึง ธุรกิจที่อยู่บนฝั่งแต่ดำาเนินการ
เกี่ยวกับธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องหรือสนับสนุน
การขนส่งทางทะเล ซึ่งประกอบด้วยธุรกิจ
5 ประเภท คือ
• บริษัทเรือ โดยเฉพาะส่วนการทำางาน
บนภาคพื้นดิน เพื่อสนับสนุนการขนส่ง
ทางทะเลบนเรือเดินทะเล ซึ่งบริษัทเรือ
ส่วนนี้จะทำาหน้าที่ในการขายและการ
ตลาดเกี่ยวกับการขนส่งสินค้าทางทะเล
จัดการเรื่องเอกสาร และให้บริการลูกค้า
• ตัวแทนสายเดินเรือ คือ ผู้รับมอบบอกอำานาจ
จากเจ้าของเรือ ให้เป็นผู้ดำาเนินการแทนเจ้าของ
เรือ ณ เมืองท่าต้นทางและเมืองท่าปลายทาง
ตัวแทนสายเดินเรือมีหน้าที่โดนทั่วไป ดังนี้
a.จัดหาระวางบรรทุกให้แก่ผู้นำาเข้าและผู้ส่งออก
b.ออกใบตราส่งสินค้าให้แก่ผู้ส่งออก
๓. ออกใบสั่งปล่อยสินค้าให้แก่ผู้นำาเข้า
๓.๑ โดยทั่วไปตัวแทนสายเดินเรือจะออกใบ
ปล่อยสินค้าให้แก่ผู้นำาเข้าเมื่อผู้นำาใบตราส่ง
สินค้าต้นฉบับไปมอบให้แก่ตัวแทนสายเดินเรือ
๓.๒ แต่หากใบตราส่งสินค้าระบุมาจากต้นทางว่า
เป็น Surrender
Bill of Lading แล้วตัวแทนสายเดินเรือจะออกใบ
ปล่อยสินค้าให้แก่ผู้นำาโดยที่ผู้นำาไม่เข้าไม่ต้อง
นำาใบตราส่งสินค้าไปมองให้แก่ตัวแทนสายเดิน
เรือ แต่ต้องออกหนังสือของรับใบสั่งปล่อยไป
บริษัทรับจัดการขนส่งสินค้าระหว่าง
ประเทศ (Freight Forwarder)
คือ บริษัทที่รับจัดการขนส่งสินค้าระหว่าง
ประเทศ Freight Forwarder อาจทำาหน้าที่
หลายอย่าง เช่น บางรายทำาหน้าที่เป็นตัวแทน
ในการจัดหาและจัดการขนส่งสินค้าของผู้ส่ง
ออกไปยังเมืองท่าปลายทางบางรายทำาหน้าที่
เป็นตัวกลางระหว่างผู้ส่งสินค้ากับผู้รับขนส่ง
สินค้า บางรายอาจทำาหน้าที่เป็นผู้ขนส่งสินค้า
โดยตรง ซึ่งอาจจะเป็น
ผู้ประกอบการขนส่งสินค้าหลายรูปแบบ
บริษัทจัดการขนส่งระหว่างประเทศ
มี 2 ประเภท ได้แก่
1. การขนส่งทางทะเล (Sea Freight Forwarder)
2. การขนส่งทางอากาศ(Air Freight Forwarder)
3. หน้าที่การให้บริการของบริษัทรับจัดการขนส่ง
สินค้าระหว่างประเทศ ทางทะเล
4. จัดหาระวางบรรทุกให้แก่ลูกค้า
5. บริการทางด้านพิธีการศุลกากรให้แก่ลูกค้า
6. จัดทำาเอกสารนำาเข้าและส่งออกต่างๆ ให้แก่
ลูกค้า
7. บริการรับ-ส่งสินค้าด้วยรถบรรทุก
8. บริการเก็บราคาสินค้า
ธุรกิจการส่งออกและนำาเข้าสินค้า
ระหว่างประเทศ
(Import and Export Business)
• ทำาหน้าที่นำาเข้าและ/หรือส่งออกสินค้าระหว่างประเทศ
ซึ่งในที่นี้จะเน้นเฉพาะการขนส่งทางทะเลโดยธุรกิจเหล่า
นี้มีทั้งขนาดใหญ่จนถึงขนาดเล็ก และเป็นนิติบุคคลใบรูป
ของบริษัทจำากัดหรือห้างหุ้นส่วนจำากัด นอกจากจะดำาเนิน
การให้มีการนำาเข้าและ/หรือส่งออกสินค้า และ/หรือ
วัตถุดิบแล้วยังเป็นผู้ลงทุนในการซื้อสินค้าและ/หรือ
วัตถุดิบดังกล่าวด้วย ธุรกิจการส่งออกและนำาเข้าสินค้า
ระหว่างประเทศ จึงเป็นกลไกสำาคัญในการที่จะกระจาย
และแลกเปลี่ยนสินค้าระหว่างประเทศ
อ.ธีร์วรา บวชชัยภูมิ
Teewara Buchaiyaphum
การประกันภัยทางทะเล
เป็นสัญญาซึ่งผู้รับประกันภัยตกลงรับชดใช้ความเสียหาย
ให้แก่ผู้เอาประกันภัย ตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่ตกลง
กันในสัญญา เมื่อเกิดวินาศภัยทางทะเลอันได้แก่
วินาศภัย ที่จะพึงเกิดขึ้นในการผจญภัยทางทะเล ซึ่งโดย
ทั่วไปแล้วสามารถจำาแนกการประกันภัยทางทะเลออก
เป็น 3 แบบ คือ
1.การประกันภัยตัวเรือและเครื่องจักร
2.การประกันภัยสินค้า
3.การประกันความรับผิดชอบทางแพ่งของเจ้าของเรือ
โดยมีกรมธรรม์ระบุเวลา กรมธรรม์ระบุเที่ยวเรือ และ
กรมธรรม์ผสม การประกันภัยทางทะเลจึงเป็นส่วนหนึ่ง
บริษัทประกันวินาศภัยในประเทศไทยมีมากกว่า 60
บริษัท แต่มีบริษัทที่รับประกันภัยทั้งตัวเรือและ
สินค้าทางเรืออยู่ประมาณ 10 บริษัท ส่วนใหญ่
เป็นการรับประกันสินค้าเป็นการขนส่งสินค้าทาง
ทะเล
ผู้ที่เกี่ยวข้องกับการขนส่งสินค้าทางทะเลได้แก่
a.เจ้าของเรือ
b.ผู้เช่าเรือ
c.ผู้ให้บริการขนส่งทางทะเล
d.ผู้ส่งสินค้า
รูปแบบของการว่าจ้างขนส่งสินค้าทางทะเล
• การว่าจ้างขนส่งสินค้าทางทะเลมีรูปแบบจำาแนก
ตามลักษณะของเรือเดินสมุทรและการใช้งาน
ดังนี้
๑. การแล่นเรือประจำาทาง (Liner Term) คือ การ
ว่าจ้างขนส่งสินค้าโดยเรือที่มีตารางเดินเรือที่วิ่ง
ประจำาเส้นทาง ซึ่งประกอบด้วย 3 แบบด้วยกัน
คือ
เรือสินค้าอเนกประสงค์แบบเดิม คือ
(Conventional Vessel) ทำาการขนส่งสินค้า
โดยการบรรทุกสินค้าลงในระวางเรือใหญ่ ส่วน
ใหญ่ใช้ในการขนส่งสินค้าแบบเทกอง มักมีเส้น
๒.เรือสินค้าที่ทำาการขนส่งโดยระบบตู้
คอนเทนเนอร์ (Container Vessel) คือ มักมี
เส้นทางเดินเรือแบบเครือข่าย หรือเส้นทางเดิน
เรือแบบรอบโลก โดยใช้เรือสินค้าขนาดใหญ่วิ่ง
ให้บริการเฉพาะเมืองท่าหลักที่เป็นฐานการให้
บริการ เช่น เมืองท่า Singapore แล้วใช้เรือ
สินค้าขนาดเล็ก ขนตู้คอนเทนเนอร์จากเมืองท่า
หลักไปยังเมืองท่ารองหรือเมืองท่าปลายทาง
เช่น ท่าเรือกรุงเทพ ท่าเรือนำ้าลึกแหลมฉบัง
เป็นต้น
๓. เรือสินค้าที่มีรูปแบบการขนส่งผสมระหว่างเรือ
สินค้าอเนกประสงค์ กับเรือขนส่งแบบตู้
• การเช่าเหมาเรือ (Charter Term) คือ การว่า
จ้างขนส่งสินค้าโดยเรือที่เช่ามาขนส่งสินค้าเป็น
เที่ยวๆ เป็นเรือที่ไม่มีตารางเดินเรือและเส้นทาง
เป็นการตายตัว เรียกว่าการเช่าเรือ ซึ่งแบ่งการ
เช่าออกเป็น 4 ลักษณะ คือ
• 1. เป็นการเช่าเหมาเรือแบบเที่ยว (Voyage
Charter) เพื่อขนส่งสินค้าที่กำาหนดส่วนใหญ่
เป็นการเช่าเหมาเรือทั้งลำา เพื่อขนส่งสินค้าจาก
ท่าเรือแห่งหนึ่งไปยังท่าเรืออีกแห่งหนึ่งค่าใช้
จ่ายในการเดินเรือเป็นภาระของเจ้าของเรือที่
ต้องรับผิดชอบ ซึ่งเป็นไปตามข้อตกลงใน
• 2. เป็นการเช่าเหมาเรือตามระยะเวลา(Time
Charter) ผู้เช่าเหมาเรือจะได้สิทธิในการใช้เรือ
ในช่วงระยะเวลาหนึ่ง เจ้าของเรือมีหน้าที่ที่จะ
ต้องทำาให้เรืออยู่ในสภาพที่จะใช้งานได้เท่านั้น
ส่วนค่าใช้จ่ายในการเดินเรือตามที่ตกลงกันไว้
ในสัญญาการเช่าเหมาเรือ จะตกเป็นภาระของผู้
เช่าเรือที่จะต้องรับผิดชอบ
3. เป็นการเช่าเหมาเรือเฉพาะตัวเรือเปล่าๆ
(Bareboat Charter) ไม่รวมลูกเรือมักเป็นการ
เช่าเหมาเรือในระยะเวลาที่ยาวนาน เจ้าของเรือ
จะรับภาระเฉพาะการหาเรือมาให้แก่ผู้เช่าเรือ
ส่วนค่าใช้จ่ายในการเดินเรือตลอดจนการทำาให้
เรือสามารถปฏิบัติงานได้เป็นภาระของผู้เช่าเรือ
4. เป็นการเช่าเหมาเรือแบบผสมผสานกัน
(Hybrid Charter) เช่น การเช่าเหมาเรือเที่ยว
เดียวอย่างต่อเนื่องและการเช่าเหมาเรือที่ผสม
ระหว่างการเช่าแบบเที่ยวและการเช่าแบบตาม
เรือแล่นประจำาเส้นทาง
• มีตารางการเดินเรือที่แน่นอนซึ่งเรื่อจะเข้าเทียบท่า
ตามวันและเวลาที่กำาหนด
• ค่าระวาง เจ้าของเป็นผู้กำาหนด คิดตามหน่วย เช่น นำ้า
หนัก ปริมาตร
• ผู้ว่าจ้าง ผู้นำาเข้าและผู้ส่งออก
• ปริมาณว่าจ้าง นำ้าหนัก ปริมาตร หรือจำานวนตู้
คอนเทนเนอร์
• ค่าปรับและโบนัส มีเฉพากค้าปรับของการคืนตู้ช้า
• เส้นทางเดินเรือ มีกำาหนดเส้นทางเดินเรือตายตัว
เรือเช่าเหมาลำา
• ไม่มีตารางการเดินเรือ ที่แน่นอนผู้เช่าเรือเป็น
คนกำาหนด
• ค่าระวาง เก็บเป็นการเหมาต่อวัน การเหมาทั้ง
วันหรือบางส่วนของเรือ
• มีสัญญาว่าจ้าง กำาหนดอัตราค่าเช่า และเงิน
โบนัส
• เส้นทางเดินเรือ ไม่มีตารางกำาหนดเส้นทางการ
เดินเรอ
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 2

More Related Content

What's hot

Key of sheet 8 56x
Key of sheet 8 56xKey of sheet 8 56x
Key of sheet 8 56x
Pracha Wongsrida
 
กาพย์เห่เรือ ชมไม้
กาพย์เห่เรือ ชมไม้กาพย์เห่เรือ ชมไม้
กาพย์เห่เรือ ชมไม้Smile Petsuk
 
04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทย04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทยJulPcc CR
 
Marine Transportation
Marine Transportation Marine Transportation
Marine Transportation
Stallan Britto
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
Warittha Nokmeerod
 
ความจริงกับข้อเท็จจริง ป.5+580+54his p05 f12-1page
ความจริงกับข้อเท็จจริง ป.5+580+54his p05 f12-1pageความจริงกับข้อเท็จจริง ป.5+580+54his p05 f12-1page
ความจริงกับข้อเท็จจริง ป.5+580+54his p05 f12-1page
Prachoom Rangkasikorn
 
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดงกาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดงLakkana Wuittiket
 
หัวข้อที่ ๕ ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
หัวข้อที่ ๕  ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัยหัวข้อที่ ๕  ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
หัวข้อที่ ๕ ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
chakaew4524
 
โหลดแนวข้อสอบ สภาพัฒน์
โหลดแนวข้อสอบ สภาพัฒน์โหลดแนวข้อสอบ สภาพัฒน์
โหลดแนวข้อสอบ สภาพัฒน์
rungnapa260332
 
จิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภา
จิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภาจิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภา
จิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภาJiraprapa Noinoo
 
2คำที่มีความหมายโดยนัย
2คำที่มีความหมายโดยนัย2คำที่มีความหมายโดยนัย
2คำที่มีความหมายโดยนัย
SAM RANGSAM
 
Digital Collection with Omeka
Digital Collection with OmekaDigital Collection with Omeka
Digital Collection with Omeka
Boonlert Aroonpiboon
 
หน่วยที่ 10 เศรษฐกิจระหว่างประเทศppt
หน่วยที่ 10 เศรษฐกิจระหว่างประเทศpptหน่วยที่ 10 เศรษฐกิจระหว่างประเทศppt
หน่วยที่ 10 เศรษฐกิจระหว่างประเทศpptapple_clubx
 
แนวข้อสอบเตรียมสอบนักวิเคราะห์นโยบายและแผน ..เก็ง....... ดัก.......-เดา.........
แนวข้อสอบเตรียมสอบนักวิเคราะห์นโยบายและแผน ..เก็ง....... ดัก.......-เดา.........แนวข้อสอบเตรียมสอบนักวิเคราะห์นโยบายและแผน ..เก็ง....... ดัก.......-เดา.........
แนวข้อสอบเตรียมสอบนักวิเคราะห์นโยบายและแผน ..เก็ง....... ดัก.......-เดา.........
ประพันธ์ เวารัมย์
 
หน่วยที่ 4 ภาษาเขมรในภาษาไทย 1
หน่วยที่ 4 ภาษาเขมรในภาษาไทย 1หน่วยที่ 4 ภาษาเขมรในภาษาไทย 1
หน่วยที่ 4 ภาษาเขมรในภาษาไทย 1
Wilawun Wisanuvekin
 

What's hot (20)

สำรวจทะเล2
สำรวจทะเล2สำรวจทะเล2
สำรวจทะเล2
 
Key of sheet 8 56x
Key of sheet 8 56xKey of sheet 8 56x
Key of sheet 8 56x
 
กาพย์เห่เรือ ชมไม้
กาพย์เห่เรือ ชมไม้กาพย์เห่เรือ ชมไม้
กาพย์เห่เรือ ชมไม้
 
04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทย04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทย
 
Marine Transportation
Marine Transportation Marine Transportation
Marine Transportation
 
แนวข้อสอบระเบียบงานสารบรรณ
แนวข้อสอบระเบียบงานสารบรรณแนวข้อสอบระเบียบงานสารบรรณ
แนวข้อสอบระเบียบงานสารบรรณ
 
แนวข้อสอบนักพัฒนาชุมชน 2
แนวข้อสอบนักพัฒนาชุมชน 2แนวข้อสอบนักพัฒนาชุมชน 2
แนวข้อสอบนักพัฒนาชุมชน 2
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ความจริงกับข้อเท็จจริง ป.5+580+54his p05 f12-1page
ความจริงกับข้อเท็จจริง ป.5+580+54his p05 f12-1pageความจริงกับข้อเท็จจริง ป.5+580+54his p05 f12-1page
ความจริงกับข้อเท็จจริง ป.5+580+54his p05 f12-1page
 
Transporte aquaviário brasileiro
Transporte aquaviário brasileiroTransporte aquaviário brasileiro
Transporte aquaviário brasileiro
 
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดงกาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
 
หัวข้อที่ ๕ ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
หัวข้อที่ ๕  ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัยหัวข้อที่ ๕  ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
หัวข้อที่ ๕ ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
 
ข้อสอบ
ข้อสอบข้อสอบ
ข้อสอบ
 
โหลดแนวข้อสอบ สภาพัฒน์
โหลดแนวข้อสอบ สภาพัฒน์โหลดแนวข้อสอบ สภาพัฒน์
โหลดแนวข้อสอบ สภาพัฒน์
 
จิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภา
จิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภาจิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภา
จิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภา
 
2คำที่มีความหมายโดยนัย
2คำที่มีความหมายโดยนัย2คำที่มีความหมายโดยนัย
2คำที่มีความหมายโดยนัย
 
Digital Collection with Omeka
Digital Collection with OmekaDigital Collection with Omeka
Digital Collection with Omeka
 
หน่วยที่ 10 เศรษฐกิจระหว่างประเทศppt
หน่วยที่ 10 เศรษฐกิจระหว่างประเทศpptหน่วยที่ 10 เศรษฐกิจระหว่างประเทศppt
หน่วยที่ 10 เศรษฐกิจระหว่างประเทศppt
 
แนวข้อสอบเตรียมสอบนักวิเคราะห์นโยบายและแผน ..เก็ง....... ดัก.......-เดา.........
แนวข้อสอบเตรียมสอบนักวิเคราะห์นโยบายและแผน ..เก็ง....... ดัก.......-เดา.........แนวข้อสอบเตรียมสอบนักวิเคราะห์นโยบายและแผน ..เก็ง....... ดัก.......-เดา.........
แนวข้อสอบเตรียมสอบนักวิเคราะห์นโยบายและแผน ..เก็ง....... ดัก.......-เดา.........
 
หน่วยที่ 4 ภาษาเขมรในภาษาไทย 1
หน่วยที่ 4 ภาษาเขมรในภาษาไทย 1หน่วยที่ 4 ภาษาเขมรในภาษาไทย 1
หน่วยที่ 4 ภาษาเขมรในภาษาไทย 1
 

More from Khwanchai Changkerd

การจัดการทรัพยากรโลจิสติกส์ บทที่ 2
การจัดการทรัพยากรโลจิสติกส์ บทที่ 2การจัดการทรัพยากรโลจิสติกส์ บทที่ 2
การจัดการทรัพยากรโลจิสติกส์ บทที่ 2
Khwanchai Changkerd
 
การจัดการทรัพยากรโลจิสติกส์ บทที่ 1
การจัดการทรัพยากรโลจิสติกส์ บทที่ 1การจัดการทรัพยากรโลจิสติกส์ บทที่ 1
การจัดการทรัพยากรโลจิสติกส์ บทที่ 1
Khwanchai Changkerd
 
Multimodal Transportation 2
Multimodal Transportation 2Multimodal Transportation 2
Multimodal Transportation 2
Khwanchai Changkerd
 
Multimodal transportation บทที่ 1
Multimodal transportation   บทที่ 1Multimodal transportation   บทที่ 1
Multimodal transportation บทที่ 1
Khwanchai Changkerd
 
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 10 ศูนย์ศรีราชา
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 10 ศูนย์ศรีราชาวิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 10 ศูนย์ศรีราชา
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 10 ศูนย์ศรีราชา
Khwanchai Changkerd
 
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 7
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 7วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 7
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 7
Khwanchai Changkerd
 
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 6
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 6วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 6
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 6
Khwanchai Changkerd
 
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 5
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 5วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 5
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 5
Khwanchai Changkerd
 
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 4
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 4วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 4
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 4
Khwanchai Changkerd
 
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 3
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 3วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 3
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 3
Khwanchai Changkerd
 

More from Khwanchai Changkerd (10)

การจัดการทรัพยากรโลจิสติกส์ บทที่ 2
การจัดการทรัพยากรโลจิสติกส์ บทที่ 2การจัดการทรัพยากรโลจิสติกส์ บทที่ 2
การจัดการทรัพยากรโลจิสติกส์ บทที่ 2
 
การจัดการทรัพยากรโลจิสติกส์ บทที่ 1
การจัดการทรัพยากรโลจิสติกส์ บทที่ 1การจัดการทรัพยากรโลจิสติกส์ บทที่ 1
การจัดการทรัพยากรโลจิสติกส์ บทที่ 1
 
Multimodal Transportation 2
Multimodal Transportation 2Multimodal Transportation 2
Multimodal Transportation 2
 
Multimodal transportation บทที่ 1
Multimodal transportation   บทที่ 1Multimodal transportation   บทที่ 1
Multimodal transportation บทที่ 1
 
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 10 ศูนย์ศรีราชา
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 10 ศูนย์ศรีราชาวิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 10 ศูนย์ศรีราชา
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 10 ศูนย์ศรีราชา
 
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 7
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 7วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 7
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 7
 
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 6
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 6วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 6
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 6
 
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 5
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 5วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 5
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 5
 
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 4
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 4วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 4
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 4
 
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 3
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 3วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 3
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 3
 

วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 2