SlideShare a Scribd company logo
1 of 61
บทที่ 7
การประกันภัยทางทะเล
บรรยายโดย ขวัญชัย ช้างเกิด
MBA Logistics Ramkhamhaeng
เอกสารอ้างอิง
• เอกสารอ้างอิง กรมการขนส่งทางนำ้า และพานิชยนาวี กระทรวง
คมนาคม
• หนังสือการจัดการกิจการพานิชยนาวี ผศ.น.ท.สำาราญ ทองเล็ก
2551
• สำานักงานคณะกรรมการกำากับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจ
ประกันภัย
การประกันภัยทางทะเลและขนส่ง
ความหมาย การประกันความเสียหายแก่เรือและ
ทรัพย์สินหรือสินค้าที่อยู่ในระหว่างการขนส่งทางทะเล
และยังขยายของเขตความคุ้มครองไปถึงการขนส่ง
สินค้าทางอากาศและทางบก ซึ่งต่อเนื่องกับการขนส่ง
ทางทะเลด้วย
ประเภทของการประกันภัยทางทะเล
สินค้า Cargo
Insuranceตัวเรือ Hull Insurance
1. การประกันภัยตัวเรือ (Hull
Insurance) : คุ้มครองความเสียหาย
ต่อตัวเรือจากอุบัติเหตุต่างๆ เช่น ภัย
จากลมพายุ, เรือเกยตื้น, เรือชนกัน,
เรือชนหินโสโครก เป็นต้น และยัง
หมายความรวมไปถึงการประกันค่า
ระวางด้วย
ประเภทของการประกันภัยทางทะเล
2. การประกันภัยสินค้า (Cargo
Insurance) : คุ้มครองสินค้าที่เอา
ประกันภัยซึ่งอยู่ในระหว่างการขนส่ง
ทางทะเล ภัยที่ได้รับการคุ้มครองขึ้น
อยู่กับเงื่อนไขที่ผู้เอาประกันภัยเลือก
ซื้อความคุ้มครองไว้
ประเภทของการประกันภัยทางทะเล
ภัยที่คุ้มครองและเงื่อนไขความ
คุ้มครองในกรมธรรม์ 5 ประเภท1. ภัยทางทะเล (Peril of the sea)
เช่น ภัยจากพายุ, มรสุม, เรือจม, เรือ
ชนกัน และเรือเกยตื้น
2. อัคคีภัย (Fire) ได้แก่ ความเสีย
หายที่เกิดขึ้นจากไฟไหม้ แต่ต้องไม่
เกิดจากความประพฤติผิดของผู้เอา
ประกันภัยเอง หรือเกิดจากการลุก
ไหม้ขึ้นมาเองของสินค้าอันเนื่องมา
จากธรรมชาติ
3. การทิ้งทะเล(Jettisons) หมายถึง
การเอาของทิ้งทะเลเพื่อให้เรือเบาลง
4. โจรกรรม (Thieves) หมายถึง การ
โจรกรรมอย่างรุนแรงโดยการใช้
กำาลังเพื่อช่วงชิงทรัพย์
ภัยที่คุ้มครองและเงื่อนไขความ
คุ้มครองในกรมธรรม์
5. การกระทำาโดยทุจริตของคน
เรือ(Barratry) หมายถึง การกระทำา
โดยมิชอบของคนเรือโดยเจตนากลั่น
แกล้งทุจริต ตั้งแต่นายเรือจนกระทั่ง
ถึงลูกเรือในอันที่จะทำาให้เกิดความ
เสียหายแก่ทรัพย์สินและการกระทำา
นั้นต้องปราศจากการรู้เห็นเป็นใจ
ของเจ้าของทรัพย์
ภัยที่คุ้มครองและเงื่อนไขความ
คุ้มครองในกรมธรรม์
การเลือกซื้อความคุ้มครอง
จะมี 3 แบบให้เลือกโดยแต่ละแบบจะ
ให้ความคุ้มครองไม่เท่ากัน
Average)
แปลว่า การประกันตามเงื่อนไขนี้ให้
ความคุ้มครองแคบที่สุด
กล่าวคือ บริษัทประกันภัยจะชดใช้ค่า
สินไหมทดแทนเฉพาะเมื่อสินค้าเสีย
หายโดยสิ้นเชิง (Total Loss)
เท่านั้น ถ้าสินค้านั้นได้รับความเสีย
หายแต่เพียงบางส่วน (Partial
Loss) จะไม่ได้รับการชดใช้
2. W.A. (With Average)
แปลว่า การประกันภัยตามเงื่อนไขนี้
ให้ความคุ้มครองความเสียหายโดย
สิ้นเชิง และความเสียหายบางส่วน
ด้วย แต่ความเสียหายบางส่วนนี้จะ
ต้องไม่ตำ่ากว่า 30% ของข้อมูลค่า
ทรัพย์สินที่เอาประกันภัย
3. All Risks
เป็นเงื่อนไขความคุ้มครองที่กว้าง
ที่สุด คือ ให้ความคุ้มครองทั้งความ
เสียหายบางส่วน และสิ้นเชิงโดยไม่
จำากัดเปอร์เซ็นต์ความสูญเสีย
การเลือกซื้อความคุ้มครองจะขึ้นกับ
Incoterm
เช่นกรณีนำาเข้าสินค้าในเงื่อนไข FOB (Free on
Board) หรือ C&F (Cost and Freight) ควรซื้อ
ประกันภัยสินค้าดังกล่าวในประเทศไทย
กรณีส่งออกสินค้าในเงื่อนไข CIF (Cost,
Insurance and Freight) ควรซื้อประกันภัยสินค้า
ดังกล่าวในประเทศไทย
การนำาเข้าสินค้าในเงื่อนไข FOB หรือ C&F และ
การส่งออกสินค้าในเงื่อนไข CIF จึงเป็นความได้
เปรียบทางการค้าของคุณ แอกซ่าประกันภัยให้
ความคุ้มครองสินค้าด้วยเบี้ยประกันภัยราคา
ประหยัด ทำาให้สินค้าของคุณสามารถแข่งขันด้าน
ะขอบเขตความคุ้มครองในการประกันภัยทางทะเล
ในตลาดการประกันภัยทางทะเลและ
ขนส่งประเทศไทย เงื่อนไขความคุ้มครองที่
ผู้รับประกันภัยส่วนใหญ่ จัดให้แก่ผู้เอาประกัน
ภัย มักจะยึดถือตามเงื่อนไขความคุ้มครองที่ใช้
กันในประเทศอังกฤษ ซึ่งเป็นเงื่อนไขความ
คุ้มครองที่จัดทำาขึ้นโดย กลุ่มผู้รับประกันภัย
อันได้แก่
The Institute of London Underwriters, the
Liverpool Underwriters Association
และ Lloyds Underwriters Association
ะขอบเขตความคุ้มครองในการประกันภัยทางทะเล
เงื่อนไขความคุ้มครองที่จัดทำาโดยกลุ่ม
ผู้รับประกันภัยดังกล่าวข้างต้น จะขึ้นด้วยคำา
ว่า ‘Institute’ ซึ่งเป็นที่รู้จักแลยอมรับกันดี
ทั่วไป ในวงการธุรกิจที่เกี่ยวข้อง ไม่ว่าจะ
เป็น ผู้ส่งออก ผู้นำาเข้า ธนาคาร หรือ ตัวแทน
ในการพิจารณาค่าสินไหมทดแทนในการ
ประกันภัย ขนส่งสินค้าทางทะเลโดยทั่วไป มี
ชุดเงื่อนไขความคุ้มครอง 3 ชุด ที่เป็นที่นิยม
กัน ซึ่งได้กำาหนดขอบเขตความเสี่ยงภัยที่
คุ้มครอง ลดหลั่นลงไปตามลำาดับ
ะขอบเขตความคุ้มครองในการประกันภัยทางทะเล
1. The Institute Cargo
Clauses ‘A’ ICC (A)
2. The Institute Cargo
Clauses ‘B’ ICC (B)
3. The Institute Cargo
Clauses ‘C’ ICC (C)
ะขอบเขตความคุ้มครองในการประกันภัยทางทะเล
ครองใน Institute Cargo Clauses (A)
This insurance covers all risks of loss of or
damage to the subject-matter insured, except
as provided in Clauses 4, 5, 6 and 7 below.
คำาว่า All Risks หมายถึง การเสี่ยงภัยทุก
ชนิด (ที่ไม่เป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ และสืบ
เนื่องจากสาเหตุภายนอก) ที่อาจยังความสูญ
เสีย หรือเสียหายต่อสินค้าที่เอาประกันภัย
ในระหว่างช่วงระยะของการประกันภัย
1. ความสูญเสียที่เป็นของส่วนรวม และค่า
ตอบแทนในการกอบกู้ทรัพย์สิน ที่ต้องร่วมรับ
ผิดตามที่กำาหนดในสัญญาขนส่ง หรือวิธี
ปฏิบัติและกฎที่มีผลบังคับใช้
ครองใน Institute Cargo Clauses (A)
1. การชดใช้ค่าสินไหมฯ ที่ผู้เอาประกันภัยต้อง
รับผิดภายใต้เงื่อนไข “การโดนกันของเรือแล้ว
ผิดทั้งคู่” ในสัญญาขนส่ง
2.ผู้เอาประกันภัยต้องแจ้งผู้รับประกันภัย เมื่อ
เจ้าของเรือเรียกร้องค่าสินไหมทดแทน เพื่อ
ผู้รับประกันภัยจะได้มีสิทธิต่อสู้การเรียกร้องค่า
สินไหมทดแทน ดังกล่าว
2. ความสูญเสียหรือค่าตอบแทนนั้นต้องเพื่อ
หลีกเลี่ยง หรือเกี่ยวเนื่องกับการหลีกเลี่ยง
ความสูญเสียจากภัยที่คุ้มครอง หรือไม่ได้ถูก
ยกเว้น “Boths to Blame Collision” Clause
ให้คุ้มครอง
ครองใน Institute Cargo Clauses (A)
ความคุ้มครองใน Institute Cargo Clauses
แม้ว่าเงื่อนไขความคุ้มครองตาม Institute Cargo
Clauses (A) จะระบุความคุ้มครองแบบ All Risks
ก็ตามแต่ก็มีความเสี่ยงภัย หรือลักษณะความเสีย
หายบางอย่างที่ถูกยกเว้นไม่ให้ความคุ้มครองโดย
ได้กำาหนดและระบุไว้เป็นข้อกำาหนดอย่างชัดเจน
ภายใต้ General Exclusions Clause ดังนี้
1. การกระทำามิชอบโดยจงใจของผู้เอา
ประกันภัย
2. การรั่วไหลไปตามปกติการขาดหายตาม
ปกติของปริมาณ หรือนำ้าหนัก หรือการ
สึกหรอและสึกกร่อนตามปกติ
3. การบรรจุหีบห่อ หรือการจัดเตรียมที่ไม่
เพียงพอ หรือไม่เหมาะสมในวัตถุแห่งการ
ประกันภัย
4. ข้อเสียในตัวเองหรือลักษณะตามธรรมชาติ
ของวัตถุแห่งการประกันภัย
ความคุ้มครองใน Institute Cargo Clauses
ความคุ้มครองใน Institute Cargo Clauses
ที่คุ้มครองก็ตาม
6. การล้มละลาย หรือการไม่สามารถใช้หนี้
สิน ไม่ว่าของเจ้าของเรือ, ผู้เช่าเหมาเรือ หรือ
ผู้ดำาเนินการเดินเรือ หรือตัวแทนของบุคคล
ใดบุคคลหนึ่ง ที่กล่าวมา
7. การใช้อาวุธสงครามที่อาศัยการแตกตัว
หรือ การหลอมตัวของปรมาณู หรือ ผลกระ
ทบจากกัมมันตภาพรังสี
8. เรือ หรือยาน ไม่พร้อมที่จะใช้เดินทะเล
หรือ เรือ ยาน ยวดยาน ตู้ลำาเลียง หรือ ตู้ยก
ที่จะใช้ในการบรรทุกสินค้า ไม่พร้อมสมบูรณ์
หรือปลอดภัยเพียงพอ โดยที่ผู้เอาประกันภัย
หรือลูกจ้างของผู้เอาประกันภัยมีส่วนรู้เห็น
เป็นใจด้วย
ความคุ้มครองใน Institute Cargo Clauses
. ข้อยกเว้นภัยสงคราม
9.1 สงคราม สงครามกลางเมือง การปฏิวัติ
กบฏแข็งข้อ หรือ การต่อสู้ของประชาชนที่
เกิดจากการดังกล่าว หรือการกระทำาเป็น
ปฏิปักษ์ ซึ่งกระทำาต่อ หรือถูกกระทำาโดยชาติ
อำานาจที่เป็นศัตรู
9.2 การถูกจับกุม ถูกยึด ถูกกุม กักกัน หรือ
หน่วงเหนี่ยว (ยกเว้น การกระทำาการเป็นโจร
สลัด) และผลใดๆ ของการนั้นๆ หรือ ความ
พยายามใดๆ ที่จะกระทำาการดังกล่าว
9.3 การถูกทิ้งทุ่นระเบิด ตอร์ปิโด ระเบิด หรือ
อาวุธสงครามอื่นใด
ความคุ้มครองใน Institute Cargo Clauses
0. ข้อยกเว้นภัยนัดหยุดงาน10.1 คนงานที่นัดหยุดงาน, คนงานที่ถูกปิด
งาน, หรือ บุคคลที่มีส่วนร่วมในการก่อความ
ไม่สงบทางแรงงาน
10.2 การจลาจล หรือการก่อความวุ่นวานโดย
ฝูงชน อันเป็นผลจากการนัดหยุดงาน การปิด
งาน ความไม่สงบทางแรงงาน
10.3 การก่อความวุ่นวายโดยฝูงชน อันเกิด
จากการก่อการร้าย หรือการกระทำาไม่ว่าจะ
ของบุคคลหนึ่งบุคคลใดในการเคลื่อนไหว
ทางการเมือง
ภัยที่คุ้มครองใน Institute
Cargo Clauses (B)
ให้ความคุ้มครองแตกต่างจาก Institute
Cargo Clauses (A) คือ
I.C.C (A) ระบุให้คุ้มครองการเสี่ยงภัยทุกชนิด
ที่มีสาเหตุจากภายนอกพร้อมกับกำาหนด
ยกเว้นภัยบางประเภทไว้เท่านั้น แต่
I.C.C (B) ระบุภัยที่คุ้มครอง และสิ่งที่ยกเว้น
ความคุ้มครองไว้อย่างชัดเจน ความสูญเสีย
หรือเสียหายอันเนื่องจาก หรือมีสาเหตุจาก
ภัยที่ไม่ได้ระบุไว้จะไม่ได้รับความคุ้มครอง
ยังได้แยกความคุ้มครองออกเป็น 3 ลักษณะ
คือ
1. ผู้รับประกันภัยชดใช้ในความสูญเสียหรือ
เสียหาย ซึ่งมีผลสืบเนื่องจากภัยที่ระบุไว้ไม่
จำาเป็นต้องคำานึงถึงสาเหตุที่เป็นตัวการที่
ทำาให้เกิดความเสียหายภัยที่คุ้มครอง ได้แก่
ภัยที่คุ้มครองใน Institute
Cargo Clauses (B)
1.1 อัคคีภัย หรือ การระเบิด
1.2 เรือ หรือยวดยานประสบเหตุเกยตื้น
เกยพื้น จม หรือพลิกควำ่า
1.3 การควำ่าหรือตกรางของยานพาหนะ
ทางบก
ภัยที่คุ้มครองใน Institute
Cargo Clauses (B)
1.4 การชนหรือการโดยกันของเรือ ยวดยาน
หรือ ยานพาหนะ กับวัตถุ ภายนอกใดๆ ก็ตาม
นอกเหนือจากกับนำ้า
1.5 การขนถ่ายสินค้าลงที่ท่าใช้หลบภัย
1.6 แผ่นดินไหว การระเบิดของภูเขาไฟ หรือ
ฟ้าผ่า
2. ความสูญเสียหรือเสียหาย จะต้องมีสาเหตุ
โดยตรงจากภัยที่ระบุไว้ ได้แก่
2.1 การถูกสละไปอันถือได้ว่าเป็นการสูญ
เสียเพื่อส่วนรวม
2.2 การถูกทิ้งทะเล หรือ การถูกนำ้าซัดตก
จากเรือไป
2.3 การที่นำ้าทะเล นำ้าทะเลสาบ หรือนำ้าใน
แม่นำ้า เข้ามาในระวางเรือ หรือยวดยาน หรือ
เข้ามาในตู้ลำาเลียง, ตู้ยก หรือสถานที่เก็บวาง
สินค้า
ภัยที่คุ้มครองใน Institute
Cargo Clauses (B)
3. ความสูญเสียโดยสิ้นเชิงของหีบห่อใด ซึ่ง
ตกจากเรือ หรือตกลงมาในขณะขนขึ้น หรือ
ขนลงจากเรือ หรือยวดยาน
นอกจากนี้ความสูญเสียหรือความเสียหาย
หรือค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นเนื่องจากกรณี
General Average และ/หรือ Boths to
blame Collision ก็ได้รับความคุ้มครองด้วย
ภัยที่คุ้มครองใน Institute
Cargo Clauses (B)
ภัยที่ยกเว้นความคุ้มครองใน
Institute Cargo Clauses (B)แม้ว่าเงื่อนไขความคุ้มครองตาม Institute
Cargo Clauses (B) จะระบุภัยที่ให้ความ
คุ้มครองไว้อย่างชัดเจนแล้วก็ตาม แต่ก็ได้
กำาหนดและระบุ สาเหตุ หรือ ลักษณะความ
เสียหายบางอย่างที่จะถูกยกเว้นไม่ให้ความ
คุ้มครองไว้เป็นข้อกำาหนดอย่างชัดเจนภายใต้
General Exclusions Clause ดังนี้
ภัยที่ยกเว้นความคุ้มครองใน
Institute Cargo Clauses (B)
1. การกระทำามิชอบโดยจงใจของผู้เอาประกัน
ภัย
2. การรั่วไหลไปตามปกติ, การขาดหายตาม
ปกติของปริมาณ หรือนำ้าหนัก หรือการสึกหรอ
และสึกกร่อนตามปกติ
3. การบรรจุหีบห่อ หรือการจัดเตรียมที่ไม่เพียง
พอ หรือไม่เหมาะสมในวัตถุแห่งการประกันภัย
4. ข้อเสียในตัวเองหรือลักษณะตามธรรมชาติ
ของวัตถุแห่งการประกันภัย
ไม่ว่ากรณีใดก็ตามการประกันภัยนี้ไม่คุ้มครอง ความสูญเสีย
เสียหาย หรือค่าใช้จ่าย อ้นเนื่องจาก/ที่เกิดจาก
5. การล่าช้า แม้ว่าการล่าช้านั้นจะเกิดจากภัย
ที่คุ้มครองก็ตาม
6. การล้มละลาย หรือ การไม่สามารถใช้หนี้
สิน ไม่ว่าของเจ้าของเรือ, ผู้เช่าเหมาเรือ หรือ
ผู้ดำาเนินการเดินเรือ หรือตัวแทนของบุคคลใด
บุคคลหนึ่ง ที่กล่าวมา
7. การใช้อาวุธสงครามที่อาศัยการแตกตัว
หรือ การหลอมตัวของปรมาณู หรือ ผลกระทบ
จากกัมมันตภาพรังสี
ภัยที่ยกเว้นความคุ้มครองใน
Institute Cargo Clauses (B)
ภัยที่ยกเว้นความคุ้มครองใน
Institute Cargo Clauses (B)
8. เรือ หรือ ยาน ไม่พร้อมที่จะใช้เดินทะเล หรือ
เรือ ยาน ยวดยาน ตู้ลำาเลียง หรือ ตู้ยก ที่จะใช้
ในการบรรทุกสินค้า ไม่พร้อมสมบูรณ์หรือ
ปลอดภัยเพียงพอ โดยที่ผู้เอาประกันภัย หรือ
ลูกจ้างของผู้เอาประกันภัยมีส่วนรู้เห็นเป็นใจ
ด้วย
9. การทำาความเสียหายโดยเจตนา หรือการ
ทำาลายโดยเจตนาต่อวัตถุแห่งการประกันภัย
หรือส่วนหนึ่งส่วนใดในวัตถุแห่งการประกันภัย
โดยการกระทำาที่ผิดกฎหมายไม่ว่าจะโดยบุคคล
หนึ่งบุคคลใด หรือหลายบุคคลก็ตาม
ภัยที่ยกเว้นความคุ้มครองใน
Institute Cargo Clauses (B)
10. ข้อยกเว้นภัยสงคราม
10.1 สงคราม สงครามกลางเมือง การปฏิวัติ
กบฏแข็งข้อ หรือ การต่อสู้ของประชาชนที่เกิด
จากการดังกล่าว หรือการกระทำาเป็นปฏิปักษ์
ซึ่งกระทำาต่อ หรือถูกกระทำาโดยชาติอำานาจที่
เป็นศัตรู
10.2 การถูกจับกุม ถูกยึด ถูกกุม กักกัน หรือ
หน่วงเหนี่ยว (ยกเว้น การกระทำาการเป็นโจร
สลัด) และผลใดๆ ของการนั้นๆ หรือ ความ
พยายามใดๆ ที่จะกระทำาการดังกล่าว
10.3 การถูกทิ้งทุ่นระเบิด ตอร์ปิโด ระเบิด หรือ
อาวุธสงครามอื่นใด
ภัยที่ยกเว้นความคุ้มครองใน
Institute Cargo Clauses (B)
1. ข้อยกเว้นภัยนัดหยุดงาน11.1 คนงานที่นัดหยุดงาน, คนงานที่ถูกปิด
งาน, หรือ บุคคลที่มีส่วนร่วมในการก่อความ
ไม่สงบทางแรงงาน
11.2 การจลาจล หรือการก่อความวุ่นวายโดย
ฝูงชน อันเป็นผลจากการนัดหยุดงาน การปิด
งาน ความไม่สงบทางแรงงาน
11.3 การก่อความวุ่นวายโดยฝูงชน อันเกิด
จากการก่อการร้าย หรือการกระทำาไม่ว่าจะ
ของบุคคลหนึ่งบุคคลใดในการเคลื่อนไหว
ทางการเมือง
มครองใน Institute Cargo Clauses (C)Institute Cargo Clauses (C) ให้ความ
คุ้มครองแตกต่างจาก I.C.C. (A) เช่นเดียวกับ
I.C.C (B) คือ
ระบุภัยที่คุ้มครอง และสิ่งที่ยกเว้นความ
คุ้มครองไว้อย่างชัดเจน ความสูญเสียหรือเสีย
หาย อันสืบเนื่องจากหรือมีสาเหตุจากภัย ที่ไม่
ได้ระบุไว้จะไม่ได้รับความคุ้มครอง แต่ I.C.C.
(C) ให้ความคุ้มครองที่แคบกว่า I.C.C. (B)
โดยแบ่งความคุ้มครองออกเป็น 2 ลักษณะ คือ
มครองใน Institute Cargo Clauses (C)
1. เท่ากับว่า ผู้รับประกันภัยชดใช้ในความสูญ
เสียหรือเสียหาย ซึ่งมีผลสืบเนื่องจากภัยที่ระบุ
ไว้ไม่จำาเป็นต้องคำานึงถึงสาเหตุที่เป็นตัวการที่
ทำาให้เกิดความเสียหายภัยที่คุ้มครอง ได้แก่
1.1 อัคคีภัย หรือ การระเบิด
1.2 เรือ หรือยวดยานประสบเหตุเกยตื้น เกย
พื้น จม หรือพลิกควำ่า
1.3 การควำ่า หรือตกรางของยานพาหนะทาง
บก
1.4 การชนหรือการโดนกันของเรือ ยวดยาน
หรือยานพาหนะ กับวัตถุภายนอกใดๆ ก็ตาม
นอกเหนือจากกับนำ้า
1.5 การขนถ่ายสินค้าลงที่ท่าใช้หลบลี้ภัย
มครองใน Institute Cargo Clauses (C)
2. ความสูญเสียหรือเสียหายจะต้องมีสาเหตุ
โดยตรงจากภัยที่ระบุไว้ ได้แก่
2.1 การถูกสละไปอันถือได้ว่าเป็นการ
สูญเสียเพื่อส่วนรวม
2.2 การถูกทิ้งทะเล
นความคุ้มครองใน Institute Cargo Clause
แม้ว่าเงื่อนไขความคุ้มครองตาม
Institute Cargo Clauses (C) จะระบุภัย
ที่ให้ความคุ้มครองไว้อย่างชัดเจนแล้ว
ก็ตาม แต่ก็ได้กำาหนดและระบุ สาเหตุ
หรือ ลักษณะความเสียหายบางอย่างที่จะ
ถูกยกเว้นไม่ให้ความคุ้มครองไว้เป็นข้อ
กำาหนดอย่างชัดเจนภายใต้ General
Exclusions Clause ดังนี้
นความคุ้มครองใน Institute Cargo Clause1. การกระทำามิชอบโดยจงใจของผู้เอา
ประกันภัย
2. การรั่วไหลไปตามปกติ การขาดหายตาม
ปกติของปริมาณ หรือนำ้าหนัก หรือการ
สึกหรอและสึกกร่อนตามปกติ
3.การบรรจุหีบห่อ หรือการจัดเตรียมที่ไม่
เพียงพอ หรือไม่เหมาะสมในวัตถุแห่งการ
ประกันภัย
4. ข้อเสียในตัวเองหรือลักษณะตามธรรมชาติ
ของวัตถุแห่งการประกันภัย
นความคุ้มครองใน Institute Cargo Clause
5. การล่าช้า แม้ว่าการล่าช้านั้นจะเกิดจาก
ภัยที่คุ้มครองก็ตาม
6. การล้มละลาย หรือ การไม่สามารถใช้หนี้
สิน ไม่ว่าของเจ้าของเรือ, ผู้เช่าเหมาเรือ
หรือผู้ดำาเนินการเดินเรือ หรือตัวแทนของ
บุคคลใดบุคคลหนึ่งที่กล่าวมา
7. การใช้อาวุธสงครามที่อาศัยการแตกตัว
หรือ การหลอมตัวของปรมาณู หรือผลกระ
ทบจากกัมมันตภาพรังสี
นความคุ้มครองใน Institute Cargo Clause
8. เรือ หรือ ยาน ไม่พร้อมที่จะใช้เดินทะเล
หรือ เรือ ยาน ยวดยาน ตู้ลำาเลียง หรือ ตู้ยก
ที่จะใช้ในการบรรทุกสินค้า ไม่พร้อม
สมบูรณ์หรือปลอดภัยเพียงพอโดยที่ผู้เอา
ประกันภัย หรือลูกจ้างของผู้เอาประกันภัยมี
ส่วนรู้เห็นเป็นใจด้วย
9. การทำาความเสียหายโดยเจตนา หรือการ
ทำาลายโดยเจตนาต่อวัตถุแห่งการประกันภัย
หรือส่วนหนึ่งส่วนใดในวัตถุแห่งการประกัน
ภัย โดยการกระทำาที่ผิดกฎหมายไม่ว่าจะ
โดยบุคคลหนึ่งบุคคลใด หรือหายบุคคล
ก็ตาม
นความคุ้มครองใน Institute Cargo Clause
0. ข้อยกเว้นภัยสงคราม
10.1 สงคราม สงครามกลางเมือง การปฏิวัติ
กบฏแข็งข้อ หรือ การต่อสู้ของประชาชนที่
เกิดจากการดังกล่าว หรือการกระทำาเป็น
ปฏิปักษ์ ซึ่งกระทำาต่อ หรือถูกกระทำาโดยชาติ
อำานาจที่เป็นศัตรู
10.2 การถูกจับกุม ถูกยึด ถูกกุม กักกัน หรือ
หน่วงเหนี่ยว (ยกเว้นการกระทำาการเป็นโจร
สลัด) และผลใดๆ ของการนั้นๆ หรือ ความ
พยายามใดๆ ที่จะกระทำาการดังกล่าว
10.3 การถูกทิ้งทุ่นระเบิด ตอร์ปิโด ระเบิด
หรืออาวุธสงครามอื่นใด
นความคุ้มครองใน Institute Cargo Clause
ข้อยกเว้นภัยนัดหยุดงาน11.1 คนงานที่นัดหยุดงาน, คนงานที่ถูกปิดงาน,
หรือ บุคคลที่มีส่วนร่วมในการก่อความไม่สงบ
ทางแรงงาน
11.2 การจลาจล หรือการก่อความวุ่นวายโดย
ฝูงชน อันเป็นผลจากการนัดหยุดงาน การปิด
งาน ความไม่สงบทางแรงงาน
11.3 การก่อความวุ่นวายโดยฝูงชน อันเกิด
จากการก่อการร้าย หรือการกระทำาไม่ว่าจะ
ของบุคคลหนึ่งบุคคลใดในการเคลื่อนไหว
ทางการเมือง
การขอเอาประกันภัย
สำาหรับการประกันภัยการขนส่งสินค้าทางทะเลนั้น มี
แนวทางในการขอเอาประกันภัย ดังนี้
1. ควรเลือกเงื่อนไขความคุ้มครองให้เหมาะ
สมกับประเภทของสินค้า
ซึ่งมีให้เลือก 3 เงื่อนไขด้วยกัน คือ
ารขอเอาประกันภัย
เงื่อนไข “A” สำาหรับการคุ้มครองที่กว้างที่สุด
เงื่อนไข “B” สำาหรับการคุ้มครองอุบัติเหตุที่ร้าย
แรง เช่นรถควำ่า เรือชนกัน เกยตื้น ไฟไหม้ และ
รวมถึงความเสียหายจากการเปียกนำ้าด้วย
เงื่อนไข “C” คุ้มครองเฉพาะอุบัติเหตุที่ร้ายแรง
เท่านั้น
ารขอเอาประกันภัย2. ควรระบุให้กรมธรรม์มีผลคุ้มครองตลอดเส้น
ทางของการขนส่ง เช่น คลังสินค้าของผู้ซื้อ
สินค้าสมมติว่าตั้งอยู่ในเชียงใหม่ สินค้านำาเข้า
มาจากฮ่องกงซึ่งเรือสินค้าจะต้องเข้าเทียบ
ท่าเรือกรุงเทพฯ ก่อนขนส่งต่อภายในประเทศ
ไปยังจังหวัดเชียงใหม่ จึงควรระบุในกรมธรรม์
ให้ความคุ้มครอง เริ่มจากฮ่องกงผ่านกรุงเทพฯ
ถึงเชียงใหม่ (From Hongkong via Bangkok
to Chiengmai)
ารขอเอาประกันภัย
3.ควรพิจารณาดูว่าสัญญาซื้อขายเป็นเงื่อนไข
แบบใด ถ้าเป็นสัญญาซื้อขายแบบ C.I.F. ใน
กรณีที่เป็นสินค้าส่งออกจะต้องตรวจดูเงื่อนไข
ของ L/C ที่ผู้ซื้อสินค้าระบุมาว่าให้ใช้เงื่อนไข
ความคุ้มครองแบบใด ถ้าผู้ซื้อระบุการ
คุ้มครองที่กว้างกว่าประเพณีนิยมของการซื้อ
ขายชนิดนั้น ผู้ซื้อมีหน้าที่รับภาระค่าเบี้ย
ประกันภัยส่วนที่เพิ่มขึ้นจากปกติ
ารขอเอาประกันภัย
4. ควรพิจารณาทำาประกันภัยกับบริษัทประกัน
ภัยภายในประเทศ โดยเฉพาะกรณีที่เป็นสินค้า
นำาเข้าเพราะนอกจากจะเป็นการสงวน เงิน
ตราไว้ภายในประเทศ ได้ส่วนหนึ่งแล้วใน
กรณีที่สินค้าได้รับความเสียหายหรือสูญหาย
ขั้นตอนการเรียกร้องค่าสินไหมทดแทน จาก
บริษัทประกันภัยในประเทศ จะสะดวกรวดเร็ว
กว่าการเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนจากบริษัท
ประกันภัยซึ่งตั้งอยู่ต่างประเทศ
ารขอเอาประกันภัย
5. ควรมีข้อมูลและรายละเอียดสำาหรับทำา
ประกันภัย ดังนี้
- ชื่อผู้เอาประกันภัย
- ชื่อและประเภทของสินค้าที่เอาประกันภัย
- จำานวนเงินเอาประกันภัย
- เส้นทางการขนส่ง ควรระบุเมืองต้นทางและเมือง
ปลายทางให้ชัดเจนในกรณีที่มีการถ่ายลำาจะต้องระบุ
เมืองท่าที่มีการถ่ายลำาด้วย
เงื่อนไขความคุ้มครองที่ต้องการ ภายหลัง
จากที่สินค้าขึ้นเรือเรียบร้อย จะต้องแจ้ง
ข้อมูลให้บริษัททราบเพื่อออกกรมธรรม์ ดังนี้
- ชื่อเรือหรือยานพาหนะที่ใช้บรรทุกสินค้า
ชื่อเรือที่มีการถ่ายลำา (ถ้ามี)
- วันที่เรือออกเดินทาง
- ชื่อเมืองท่าต้นทางและปลายทาง
- จำานวนหีบห่อและเครื่องหมายบนหีบห่อ
เอกสารที่ใช้ประกอบในการ
ขอเอาประกันภัย1.ใบกำากับสินค้า (Invoice)
2.ใบตราส่งสินค้า (BillofLading)
3.หนังสือสั่งให้จ่ายเงิน
(LetterofCredit)
4.หนังสือคุ้มครองชั่วคราว
(CoverNote)
5.กรมธรรม์ประกันภัย (OpenPolicy)
6.กรมธรรม์ประกันภัย
(MarineInsurancePolicy)
A B C
1. ไฟไหม้ ระเบิด คุ้มคร
อง
คุ้มคร
อง
คุ้มคร
อง
2. เรือจม เกยตื้น เรือล่ม การโดน
กัน ชนกัน กับวัตถุอื่นนอกเหนือ
จากนำ้า
คุ้มคร
อง
คุ้มคร
อง
คุ้มคร
อง
3. รถพลิกควำ่า ชนกัน รถไฟตก
ราง
คุ้มคร
อง
คุ้มคร
อง
คุ้มคร
อง
4. การขนถ่ายสินค้า ณ ท่าเรือ
หลบภัย
คุ้มคร
อง
คุ้มคร
อง
คุ้มคร
อง
5. General Average การเสีย คุ้มคร คุ้มคร คุ้มคร
สรุปภัยที่คุ้มครองการประกันภัยตามเงื่อนไขต่างๆ
ความเสียหายของวัตถุที่เอาประกันภัยที่เกิดจาก Institute
A B C
8. สินค้าถูกคลื่นซัดตกทะเล คุ้มคร
อง
คุ้มคร
อง
ไม่
คุ้มครอ
ง
9. สินค้าเสียหายสิ้นเชิงทั้งหีบห่อ
ในขณะที่ขนขึ้นลงเรือ หรือระหว่าง
ถ่ายลำาสับเปลี่ยนเรือ
คุ้มคร
อง
คุ้มคร
อง
ไม่
คุ้มครอ
ง
10. นำ้าทะเล นำ้าทะเลสาบ สถานที่
นำ้าในแม่นำ้า เข้าไปในเรือ ยาน
ระวาง ตู้คอนเทนเนอร์
คุ้มคร
อง
คุ้มคร
อง
ไม่
คุ้มครอ
ง
11. เปียกนำ้าฝน คุ้มคร
อง
ไม่
คุ้มครอ
ง
ไม่
คุ้มครอ
ง
สรุปภัยที่คุ้มครองการประกันภัยตามเงื่อนไขต่างๆ
ความเสียหายของวัตถุที่เอาประกันภัยที่เกิดจาก Institute
ประกันภัยการขนส่งสินค้าจะเริ่มต้นและสิ้นสุด
สัญญาประกันภัยการขนส่งสินค้า จะเริ่มต้น
เมื่อสินค้าเคลื่อนออกจากโกดังหรือ สถานที่
เก็บสินค้า ณ สถานที่ ที่ระบุเมื่อเริ่มเดินทาง
ต่อเนื่องตลอดการขนส่งตามปกติ และสิ้นสุด
เมื่อ1. ส่งถึงโกดังของผู้รับสินค้าหรือโกดังปลายทางอื่นหรือสถาน
ที่เก็บสินค้า ณ ปลายทางที่ระบุไว้
2. ส่งถึงโกดังหรือสถานที่เก็บสินค้าอื่นไม่ว่าจะก่อนถึง หรือ
ณ ปลายทางที่ระบุไว้ซึ่งผู้เอาประกันภัยเลือกใช้เป็น
3. ที่เก็บสินค้านอกเหนือเส้นทางขนส่งตามปกติ หรือ
4. ที่จัดสรรหรือแจกจ่ายสินค้า
5. เมื่อครบ 60 วัน หลังลงเรือเดินทะเล ณ ปลายทาง แล้วแต่
ว่าเหตุการณ์ใดเกิดก่อน
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 7

More Related Content

Viewers also liked

วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 3
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 3วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 3
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 3Khwanchai Changkerd
 
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 2
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 2วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 2
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 2Khwanchai Changkerd
 
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 6
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 6วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 6
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 6Khwanchai Changkerd
 
บทที่ 5 วินาศภัย
บทที่ 5 วินาศภัยบทที่ 5 วินาศภัย
บทที่ 5 วินาศภัยchakaew4524
 
บทที่5การประกันวินาศภัย
บทที่5การประกันวินาศภัยบทที่5การประกันวินาศภัย
บทที่5การประกันวินาศภัยchakaew4524
 

Viewers also liked (6)

วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 3
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 3วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 3
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 3
 
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 2
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 2วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 2
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 2
 
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 6
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 6วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 6
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 6
 
Multimodal Transportation 2
Multimodal Transportation 2Multimodal Transportation 2
Multimodal Transportation 2
 
บทที่ 5 วินาศภัย
บทที่ 5 วินาศภัยบทที่ 5 วินาศภัย
บทที่ 5 วินาศภัย
 
บทที่5การประกันวินาศภัย
บทที่5การประกันวินาศภัยบทที่5การประกันวินาศภัย
บทที่5การประกันวินาศภัย
 

วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 7

  • 2. เอกสารอ้างอิง • เอกสารอ้างอิง กรมการขนส่งทางนำ้า และพานิชยนาวี กระทรวง คมนาคม • หนังสือการจัดการกิจการพานิชยนาวี ผศ.น.ท.สำาราญ ทองเล็ก 2551 • สำานักงานคณะกรรมการกำากับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจ ประกันภัย
  • 4.
  • 5.
  • 6.
  • 8. 1. การประกันภัยตัวเรือ (Hull Insurance) : คุ้มครองความเสียหาย ต่อตัวเรือจากอุบัติเหตุต่างๆ เช่น ภัย จากลมพายุ, เรือเกยตื้น, เรือชนกัน, เรือชนหินโสโครก เป็นต้น และยัง หมายความรวมไปถึงการประกันค่า ระวางด้วย ประเภทของการประกันภัยทางทะเล
  • 9. 2. การประกันภัยสินค้า (Cargo Insurance) : คุ้มครองสินค้าที่เอา ประกันภัยซึ่งอยู่ในระหว่างการขนส่ง ทางทะเล ภัยที่ได้รับการคุ้มครองขึ้น อยู่กับเงื่อนไขที่ผู้เอาประกันภัยเลือก ซื้อความคุ้มครองไว้ ประเภทของการประกันภัยทางทะเล
  • 10. ภัยที่คุ้มครองและเงื่อนไขความ คุ้มครองในกรมธรรม์ 5 ประเภท1. ภัยทางทะเล (Peril of the sea) เช่น ภัยจากพายุ, มรสุม, เรือจม, เรือ ชนกัน และเรือเกยตื้น 2. อัคคีภัย (Fire) ได้แก่ ความเสีย หายที่เกิดขึ้นจากไฟไหม้ แต่ต้องไม่ เกิดจากความประพฤติผิดของผู้เอา ประกันภัยเอง หรือเกิดจากการลุก ไหม้ขึ้นมาเองของสินค้าอันเนื่องมา จากธรรมชาติ
  • 11. 3. การทิ้งทะเล(Jettisons) หมายถึง การเอาของทิ้งทะเลเพื่อให้เรือเบาลง 4. โจรกรรม (Thieves) หมายถึง การ โจรกรรมอย่างรุนแรงโดยการใช้ กำาลังเพื่อช่วงชิงทรัพย์ ภัยที่คุ้มครองและเงื่อนไขความ คุ้มครองในกรมธรรม์
  • 12. 5. การกระทำาโดยทุจริตของคน เรือ(Barratry) หมายถึง การกระทำา โดยมิชอบของคนเรือโดยเจตนากลั่น แกล้งทุจริต ตั้งแต่นายเรือจนกระทั่ง ถึงลูกเรือในอันที่จะทำาให้เกิดความ เสียหายแก่ทรัพย์สินและการกระทำา นั้นต้องปราศจากการรู้เห็นเป็นใจ ของเจ้าของทรัพย์ ภัยที่คุ้มครองและเงื่อนไขความ คุ้มครองในกรมธรรม์
  • 15. 2. W.A. (With Average) แปลว่า การประกันภัยตามเงื่อนไขนี้ ให้ความคุ้มครองความเสียหายโดย สิ้นเชิง และความเสียหายบางส่วน ด้วย แต่ความเสียหายบางส่วนนี้จะ ต้องไม่ตำ่ากว่า 30% ของข้อมูลค่า ทรัพย์สินที่เอาประกันภัย
  • 16. 3. All Risks เป็นเงื่อนไขความคุ้มครองที่กว้าง ที่สุด คือ ให้ความคุ้มครองทั้งความ เสียหายบางส่วน และสิ้นเชิงโดยไม่ จำากัดเปอร์เซ็นต์ความสูญเสีย
  • 17. การเลือกซื้อความคุ้มครองจะขึ้นกับ Incoterm เช่นกรณีนำาเข้าสินค้าในเงื่อนไข FOB (Free on Board) หรือ C&F (Cost and Freight) ควรซื้อ ประกันภัยสินค้าดังกล่าวในประเทศไทย กรณีส่งออกสินค้าในเงื่อนไข CIF (Cost, Insurance and Freight) ควรซื้อประกันภัยสินค้า ดังกล่าวในประเทศไทย การนำาเข้าสินค้าในเงื่อนไข FOB หรือ C&F และ การส่งออกสินค้าในเงื่อนไข CIF จึงเป็นความได้ เปรียบทางการค้าของคุณ แอกซ่าประกันภัยให้ ความคุ้มครองสินค้าด้วยเบี้ยประกันภัยราคา ประหยัด ทำาให้สินค้าของคุณสามารถแข่งขันด้าน
  • 19. ในตลาดการประกันภัยทางทะเลและ ขนส่งประเทศไทย เงื่อนไขความคุ้มครองที่ ผู้รับประกันภัยส่วนใหญ่ จัดให้แก่ผู้เอาประกัน ภัย มักจะยึดถือตามเงื่อนไขความคุ้มครองที่ใช้ กันในประเทศอังกฤษ ซึ่งเป็นเงื่อนไขความ คุ้มครองที่จัดทำาขึ้นโดย กลุ่มผู้รับประกันภัย อันได้แก่ The Institute of London Underwriters, the Liverpool Underwriters Association และ Lloyds Underwriters Association ะขอบเขตความคุ้มครองในการประกันภัยทางทะเล
  • 20. เงื่อนไขความคุ้มครองที่จัดทำาโดยกลุ่ม ผู้รับประกันภัยดังกล่าวข้างต้น จะขึ้นด้วยคำา ว่า ‘Institute’ ซึ่งเป็นที่รู้จักแลยอมรับกันดี ทั่วไป ในวงการธุรกิจที่เกี่ยวข้อง ไม่ว่าจะ เป็น ผู้ส่งออก ผู้นำาเข้า ธนาคาร หรือ ตัวแทน ในการพิจารณาค่าสินไหมทดแทนในการ ประกันภัย ขนส่งสินค้าทางทะเลโดยทั่วไป มี ชุดเงื่อนไขความคุ้มครอง 3 ชุด ที่เป็นที่นิยม กัน ซึ่งได้กำาหนดขอบเขตความเสี่ยงภัยที่ คุ้มครอง ลดหลั่นลงไปตามลำาดับ ะขอบเขตความคุ้มครองในการประกันภัยทางทะเล
  • 21. 1. The Institute Cargo Clauses ‘A’ ICC (A) 2. The Institute Cargo Clauses ‘B’ ICC (B) 3. The Institute Cargo Clauses ‘C’ ICC (C) ะขอบเขตความคุ้มครองในการประกันภัยทางทะเล
  • 22. ครองใน Institute Cargo Clauses (A) This insurance covers all risks of loss of or damage to the subject-matter insured, except as provided in Clauses 4, 5, 6 and 7 below. คำาว่า All Risks หมายถึง การเสี่ยงภัยทุก ชนิด (ที่ไม่เป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ และสืบ เนื่องจากสาเหตุภายนอก) ที่อาจยังความสูญ เสีย หรือเสียหายต่อสินค้าที่เอาประกันภัย ในระหว่างช่วงระยะของการประกันภัย
  • 23. 1. ความสูญเสียที่เป็นของส่วนรวม และค่า ตอบแทนในการกอบกู้ทรัพย์สิน ที่ต้องร่วมรับ ผิดตามที่กำาหนดในสัญญาขนส่ง หรือวิธี ปฏิบัติและกฎที่มีผลบังคับใช้ ครองใน Institute Cargo Clauses (A)
  • 24. 1. การชดใช้ค่าสินไหมฯ ที่ผู้เอาประกันภัยต้อง รับผิดภายใต้เงื่อนไข “การโดนกันของเรือแล้ว ผิดทั้งคู่” ในสัญญาขนส่ง 2.ผู้เอาประกันภัยต้องแจ้งผู้รับประกันภัย เมื่อ เจ้าของเรือเรียกร้องค่าสินไหมทดแทน เพื่อ ผู้รับประกันภัยจะได้มีสิทธิต่อสู้การเรียกร้องค่า สินไหมทดแทน ดังกล่าว 2. ความสูญเสียหรือค่าตอบแทนนั้นต้องเพื่อ หลีกเลี่ยง หรือเกี่ยวเนื่องกับการหลีกเลี่ยง ความสูญเสียจากภัยที่คุ้มครอง หรือไม่ได้ถูก ยกเว้น “Boths to Blame Collision” Clause ให้คุ้มครอง ครองใน Institute Cargo Clauses (A)
  • 25. ความคุ้มครองใน Institute Cargo Clauses แม้ว่าเงื่อนไขความคุ้มครองตาม Institute Cargo Clauses (A) จะระบุความคุ้มครองแบบ All Risks ก็ตามแต่ก็มีความเสี่ยงภัย หรือลักษณะความเสีย หายบางอย่างที่ถูกยกเว้นไม่ให้ความคุ้มครองโดย ได้กำาหนดและระบุไว้เป็นข้อกำาหนดอย่างชัดเจน ภายใต้ General Exclusions Clause ดังนี้
  • 26. 1. การกระทำามิชอบโดยจงใจของผู้เอา ประกันภัย 2. การรั่วไหลไปตามปกติการขาดหายตาม ปกติของปริมาณ หรือนำ้าหนัก หรือการ สึกหรอและสึกกร่อนตามปกติ 3. การบรรจุหีบห่อ หรือการจัดเตรียมที่ไม่ เพียงพอ หรือไม่เหมาะสมในวัตถุแห่งการ ประกันภัย 4. ข้อเสียในตัวเองหรือลักษณะตามธรรมชาติ ของวัตถุแห่งการประกันภัย ความคุ้มครองใน Institute Cargo Clauses
  • 27. ความคุ้มครองใน Institute Cargo Clauses ที่คุ้มครองก็ตาม 6. การล้มละลาย หรือการไม่สามารถใช้หนี้ สิน ไม่ว่าของเจ้าของเรือ, ผู้เช่าเหมาเรือ หรือ ผู้ดำาเนินการเดินเรือ หรือตัวแทนของบุคคล ใดบุคคลหนึ่ง ที่กล่าวมา 7. การใช้อาวุธสงครามที่อาศัยการแตกตัว หรือ การหลอมตัวของปรมาณู หรือ ผลกระ ทบจากกัมมันตภาพรังสี 8. เรือ หรือยาน ไม่พร้อมที่จะใช้เดินทะเล หรือ เรือ ยาน ยวดยาน ตู้ลำาเลียง หรือ ตู้ยก ที่จะใช้ในการบรรทุกสินค้า ไม่พร้อมสมบูรณ์ หรือปลอดภัยเพียงพอ โดยที่ผู้เอาประกันภัย หรือลูกจ้างของผู้เอาประกันภัยมีส่วนรู้เห็น เป็นใจด้วย
  • 28. ความคุ้มครองใน Institute Cargo Clauses . ข้อยกเว้นภัยสงคราม 9.1 สงคราม สงครามกลางเมือง การปฏิวัติ กบฏแข็งข้อ หรือ การต่อสู้ของประชาชนที่ เกิดจากการดังกล่าว หรือการกระทำาเป็น ปฏิปักษ์ ซึ่งกระทำาต่อ หรือถูกกระทำาโดยชาติ อำานาจที่เป็นศัตรู 9.2 การถูกจับกุม ถูกยึด ถูกกุม กักกัน หรือ หน่วงเหนี่ยว (ยกเว้น การกระทำาการเป็นโจร สลัด) และผลใดๆ ของการนั้นๆ หรือ ความ พยายามใดๆ ที่จะกระทำาการดังกล่าว 9.3 การถูกทิ้งทุ่นระเบิด ตอร์ปิโด ระเบิด หรือ อาวุธสงครามอื่นใด
  • 29. ความคุ้มครองใน Institute Cargo Clauses 0. ข้อยกเว้นภัยนัดหยุดงาน10.1 คนงานที่นัดหยุดงาน, คนงานที่ถูกปิด งาน, หรือ บุคคลที่มีส่วนร่วมในการก่อความ ไม่สงบทางแรงงาน 10.2 การจลาจล หรือการก่อความวุ่นวานโดย ฝูงชน อันเป็นผลจากการนัดหยุดงาน การปิด งาน ความไม่สงบทางแรงงาน 10.3 การก่อความวุ่นวายโดยฝูงชน อันเกิด จากการก่อการร้าย หรือการกระทำาไม่ว่าจะ ของบุคคลหนึ่งบุคคลใดในการเคลื่อนไหว ทางการเมือง
  • 30. ภัยที่คุ้มครองใน Institute Cargo Clauses (B) ให้ความคุ้มครองแตกต่างจาก Institute Cargo Clauses (A) คือ I.C.C (A) ระบุให้คุ้มครองการเสี่ยงภัยทุกชนิด ที่มีสาเหตุจากภายนอกพร้อมกับกำาหนด ยกเว้นภัยบางประเภทไว้เท่านั้น แต่ I.C.C (B) ระบุภัยที่คุ้มครอง และสิ่งที่ยกเว้น ความคุ้มครองไว้อย่างชัดเจน ความสูญเสีย หรือเสียหายอันเนื่องจาก หรือมีสาเหตุจาก ภัยที่ไม่ได้ระบุไว้จะไม่ได้รับความคุ้มครอง ยังได้แยกความคุ้มครองออกเป็น 3 ลักษณะ คือ
  • 31. 1. ผู้รับประกันภัยชดใช้ในความสูญเสียหรือ เสียหาย ซึ่งมีผลสืบเนื่องจากภัยที่ระบุไว้ไม่ จำาเป็นต้องคำานึงถึงสาเหตุที่เป็นตัวการที่ ทำาให้เกิดความเสียหายภัยที่คุ้มครอง ได้แก่ ภัยที่คุ้มครองใน Institute Cargo Clauses (B) 1.1 อัคคีภัย หรือ การระเบิด 1.2 เรือ หรือยวดยานประสบเหตุเกยตื้น เกยพื้น จม หรือพลิกควำ่า 1.3 การควำ่าหรือตกรางของยานพาหนะ ทางบก
  • 32. ภัยที่คุ้มครองใน Institute Cargo Clauses (B) 1.4 การชนหรือการโดยกันของเรือ ยวดยาน หรือ ยานพาหนะ กับวัตถุ ภายนอกใดๆ ก็ตาม นอกเหนือจากกับนำ้า 1.5 การขนถ่ายสินค้าลงที่ท่าใช้หลบภัย 1.6 แผ่นดินไหว การระเบิดของภูเขาไฟ หรือ ฟ้าผ่า
  • 33. 2. ความสูญเสียหรือเสียหาย จะต้องมีสาเหตุ โดยตรงจากภัยที่ระบุไว้ ได้แก่ 2.1 การถูกสละไปอันถือได้ว่าเป็นการสูญ เสียเพื่อส่วนรวม 2.2 การถูกทิ้งทะเล หรือ การถูกนำ้าซัดตก จากเรือไป 2.3 การที่นำ้าทะเล นำ้าทะเลสาบ หรือนำ้าใน แม่นำ้า เข้ามาในระวางเรือ หรือยวดยาน หรือ เข้ามาในตู้ลำาเลียง, ตู้ยก หรือสถานที่เก็บวาง สินค้า ภัยที่คุ้มครองใน Institute Cargo Clauses (B)
  • 34. 3. ความสูญเสียโดยสิ้นเชิงของหีบห่อใด ซึ่ง ตกจากเรือ หรือตกลงมาในขณะขนขึ้น หรือ ขนลงจากเรือ หรือยวดยาน นอกจากนี้ความสูญเสียหรือความเสียหาย หรือค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นเนื่องจากกรณี General Average และ/หรือ Boths to blame Collision ก็ได้รับความคุ้มครองด้วย ภัยที่คุ้มครองใน Institute Cargo Clauses (B)
  • 35. ภัยที่ยกเว้นความคุ้มครองใน Institute Cargo Clauses (B)แม้ว่าเงื่อนไขความคุ้มครองตาม Institute Cargo Clauses (B) จะระบุภัยที่ให้ความ คุ้มครองไว้อย่างชัดเจนแล้วก็ตาม แต่ก็ได้ กำาหนดและระบุ สาเหตุ หรือ ลักษณะความ เสียหายบางอย่างที่จะถูกยกเว้นไม่ให้ความ คุ้มครองไว้เป็นข้อกำาหนดอย่างชัดเจนภายใต้ General Exclusions Clause ดังนี้
  • 36. ภัยที่ยกเว้นความคุ้มครองใน Institute Cargo Clauses (B) 1. การกระทำามิชอบโดยจงใจของผู้เอาประกัน ภัย 2. การรั่วไหลไปตามปกติ, การขาดหายตาม ปกติของปริมาณ หรือนำ้าหนัก หรือการสึกหรอ และสึกกร่อนตามปกติ 3. การบรรจุหีบห่อ หรือการจัดเตรียมที่ไม่เพียง พอ หรือไม่เหมาะสมในวัตถุแห่งการประกันภัย 4. ข้อเสียในตัวเองหรือลักษณะตามธรรมชาติ ของวัตถุแห่งการประกันภัย ไม่ว่ากรณีใดก็ตามการประกันภัยนี้ไม่คุ้มครอง ความสูญเสีย เสียหาย หรือค่าใช้จ่าย อ้นเนื่องจาก/ที่เกิดจาก
  • 37. 5. การล่าช้า แม้ว่าการล่าช้านั้นจะเกิดจากภัย ที่คุ้มครองก็ตาม 6. การล้มละลาย หรือ การไม่สามารถใช้หนี้ สิน ไม่ว่าของเจ้าของเรือ, ผู้เช่าเหมาเรือ หรือ ผู้ดำาเนินการเดินเรือ หรือตัวแทนของบุคคลใด บุคคลหนึ่ง ที่กล่าวมา 7. การใช้อาวุธสงครามที่อาศัยการแตกตัว หรือ การหลอมตัวของปรมาณู หรือ ผลกระทบ จากกัมมันตภาพรังสี ภัยที่ยกเว้นความคุ้มครองใน Institute Cargo Clauses (B)
  • 38. ภัยที่ยกเว้นความคุ้มครองใน Institute Cargo Clauses (B) 8. เรือ หรือ ยาน ไม่พร้อมที่จะใช้เดินทะเล หรือ เรือ ยาน ยวดยาน ตู้ลำาเลียง หรือ ตู้ยก ที่จะใช้ ในการบรรทุกสินค้า ไม่พร้อมสมบูรณ์หรือ ปลอดภัยเพียงพอ โดยที่ผู้เอาประกันภัย หรือ ลูกจ้างของผู้เอาประกันภัยมีส่วนรู้เห็นเป็นใจ ด้วย 9. การทำาความเสียหายโดยเจตนา หรือการ ทำาลายโดยเจตนาต่อวัตถุแห่งการประกันภัย หรือส่วนหนึ่งส่วนใดในวัตถุแห่งการประกันภัย โดยการกระทำาที่ผิดกฎหมายไม่ว่าจะโดยบุคคล หนึ่งบุคคลใด หรือหลายบุคคลก็ตาม
  • 39. ภัยที่ยกเว้นความคุ้มครองใน Institute Cargo Clauses (B) 10. ข้อยกเว้นภัยสงคราม 10.1 สงคราม สงครามกลางเมือง การปฏิวัติ กบฏแข็งข้อ หรือ การต่อสู้ของประชาชนที่เกิด จากการดังกล่าว หรือการกระทำาเป็นปฏิปักษ์ ซึ่งกระทำาต่อ หรือถูกกระทำาโดยชาติอำานาจที่ เป็นศัตรู 10.2 การถูกจับกุม ถูกยึด ถูกกุม กักกัน หรือ หน่วงเหนี่ยว (ยกเว้น การกระทำาการเป็นโจร สลัด) และผลใดๆ ของการนั้นๆ หรือ ความ พยายามใดๆ ที่จะกระทำาการดังกล่าว 10.3 การถูกทิ้งทุ่นระเบิด ตอร์ปิโด ระเบิด หรือ อาวุธสงครามอื่นใด
  • 40. ภัยที่ยกเว้นความคุ้มครองใน Institute Cargo Clauses (B) 1. ข้อยกเว้นภัยนัดหยุดงาน11.1 คนงานที่นัดหยุดงาน, คนงานที่ถูกปิด งาน, หรือ บุคคลที่มีส่วนร่วมในการก่อความ ไม่สงบทางแรงงาน 11.2 การจลาจล หรือการก่อความวุ่นวายโดย ฝูงชน อันเป็นผลจากการนัดหยุดงาน การปิด งาน ความไม่สงบทางแรงงาน 11.3 การก่อความวุ่นวายโดยฝูงชน อันเกิด จากการก่อการร้าย หรือการกระทำาไม่ว่าจะ ของบุคคลหนึ่งบุคคลใดในการเคลื่อนไหว ทางการเมือง
  • 41. มครองใน Institute Cargo Clauses (C)Institute Cargo Clauses (C) ให้ความ คุ้มครองแตกต่างจาก I.C.C. (A) เช่นเดียวกับ I.C.C (B) คือ ระบุภัยที่คุ้มครอง และสิ่งที่ยกเว้นความ คุ้มครองไว้อย่างชัดเจน ความสูญเสียหรือเสีย หาย อันสืบเนื่องจากหรือมีสาเหตุจากภัย ที่ไม่ ได้ระบุไว้จะไม่ได้รับความคุ้มครอง แต่ I.C.C. (C) ให้ความคุ้มครองที่แคบกว่า I.C.C. (B) โดยแบ่งความคุ้มครองออกเป็น 2 ลักษณะ คือ
  • 42. มครองใน Institute Cargo Clauses (C) 1. เท่ากับว่า ผู้รับประกันภัยชดใช้ในความสูญ เสียหรือเสียหาย ซึ่งมีผลสืบเนื่องจากภัยที่ระบุ ไว้ไม่จำาเป็นต้องคำานึงถึงสาเหตุที่เป็นตัวการที่ ทำาให้เกิดความเสียหายภัยที่คุ้มครอง ได้แก่ 1.1 อัคคีภัย หรือ การระเบิด 1.2 เรือ หรือยวดยานประสบเหตุเกยตื้น เกย พื้น จม หรือพลิกควำ่า 1.3 การควำ่า หรือตกรางของยานพาหนะทาง บก 1.4 การชนหรือการโดนกันของเรือ ยวดยาน หรือยานพาหนะ กับวัตถุภายนอกใดๆ ก็ตาม นอกเหนือจากกับนำ้า 1.5 การขนถ่ายสินค้าลงที่ท่าใช้หลบลี้ภัย
  • 43. มครองใน Institute Cargo Clauses (C) 2. ความสูญเสียหรือเสียหายจะต้องมีสาเหตุ โดยตรงจากภัยที่ระบุไว้ ได้แก่ 2.1 การถูกสละไปอันถือได้ว่าเป็นการ สูญเสียเพื่อส่วนรวม 2.2 การถูกทิ้งทะเล
  • 44. นความคุ้มครองใน Institute Cargo Clause แม้ว่าเงื่อนไขความคุ้มครองตาม Institute Cargo Clauses (C) จะระบุภัย ที่ให้ความคุ้มครองไว้อย่างชัดเจนแล้ว ก็ตาม แต่ก็ได้กำาหนดและระบุ สาเหตุ หรือ ลักษณะความเสียหายบางอย่างที่จะ ถูกยกเว้นไม่ให้ความคุ้มครองไว้เป็นข้อ กำาหนดอย่างชัดเจนภายใต้ General Exclusions Clause ดังนี้
  • 45. นความคุ้มครองใน Institute Cargo Clause1. การกระทำามิชอบโดยจงใจของผู้เอา ประกันภัย 2. การรั่วไหลไปตามปกติ การขาดหายตาม ปกติของปริมาณ หรือนำ้าหนัก หรือการ สึกหรอและสึกกร่อนตามปกติ 3.การบรรจุหีบห่อ หรือการจัดเตรียมที่ไม่ เพียงพอ หรือไม่เหมาะสมในวัตถุแห่งการ ประกันภัย 4. ข้อเสียในตัวเองหรือลักษณะตามธรรมชาติ ของวัตถุแห่งการประกันภัย
  • 46. นความคุ้มครองใน Institute Cargo Clause 5. การล่าช้า แม้ว่าการล่าช้านั้นจะเกิดจาก ภัยที่คุ้มครองก็ตาม 6. การล้มละลาย หรือ การไม่สามารถใช้หนี้ สิน ไม่ว่าของเจ้าของเรือ, ผู้เช่าเหมาเรือ หรือผู้ดำาเนินการเดินเรือ หรือตัวแทนของ บุคคลใดบุคคลหนึ่งที่กล่าวมา 7. การใช้อาวุธสงครามที่อาศัยการแตกตัว หรือ การหลอมตัวของปรมาณู หรือผลกระ ทบจากกัมมันตภาพรังสี
  • 47. นความคุ้มครองใน Institute Cargo Clause 8. เรือ หรือ ยาน ไม่พร้อมที่จะใช้เดินทะเล หรือ เรือ ยาน ยวดยาน ตู้ลำาเลียง หรือ ตู้ยก ที่จะใช้ในการบรรทุกสินค้า ไม่พร้อม สมบูรณ์หรือปลอดภัยเพียงพอโดยที่ผู้เอา ประกันภัย หรือลูกจ้างของผู้เอาประกันภัยมี ส่วนรู้เห็นเป็นใจด้วย 9. การทำาความเสียหายโดยเจตนา หรือการ ทำาลายโดยเจตนาต่อวัตถุแห่งการประกันภัย หรือส่วนหนึ่งส่วนใดในวัตถุแห่งการประกัน ภัย โดยการกระทำาที่ผิดกฎหมายไม่ว่าจะ โดยบุคคลหนึ่งบุคคลใด หรือหายบุคคล ก็ตาม
  • 48. นความคุ้มครองใน Institute Cargo Clause 0. ข้อยกเว้นภัยสงคราม 10.1 สงคราม สงครามกลางเมือง การปฏิวัติ กบฏแข็งข้อ หรือ การต่อสู้ของประชาชนที่ เกิดจากการดังกล่าว หรือการกระทำาเป็น ปฏิปักษ์ ซึ่งกระทำาต่อ หรือถูกกระทำาโดยชาติ อำานาจที่เป็นศัตรู 10.2 การถูกจับกุม ถูกยึด ถูกกุม กักกัน หรือ หน่วงเหนี่ยว (ยกเว้นการกระทำาการเป็นโจร สลัด) และผลใดๆ ของการนั้นๆ หรือ ความ พยายามใดๆ ที่จะกระทำาการดังกล่าว 10.3 การถูกทิ้งทุ่นระเบิด ตอร์ปิโด ระเบิด หรืออาวุธสงครามอื่นใด
  • 49. นความคุ้มครองใน Institute Cargo Clause ข้อยกเว้นภัยนัดหยุดงาน11.1 คนงานที่นัดหยุดงาน, คนงานที่ถูกปิดงาน, หรือ บุคคลที่มีส่วนร่วมในการก่อความไม่สงบ ทางแรงงาน 11.2 การจลาจล หรือการก่อความวุ่นวายโดย ฝูงชน อันเป็นผลจากการนัดหยุดงาน การปิด งาน ความไม่สงบทางแรงงาน 11.3 การก่อความวุ่นวายโดยฝูงชน อันเกิด จากการก่อการร้าย หรือการกระทำาไม่ว่าจะ ของบุคคลหนึ่งบุคคลใดในการเคลื่อนไหว ทางการเมือง
  • 51. 1. ควรเลือกเงื่อนไขความคุ้มครองให้เหมาะ สมกับประเภทของสินค้า ซึ่งมีให้เลือก 3 เงื่อนไขด้วยกัน คือ ารขอเอาประกันภัย เงื่อนไข “A” สำาหรับการคุ้มครองที่กว้างที่สุด เงื่อนไข “B” สำาหรับการคุ้มครองอุบัติเหตุที่ร้าย แรง เช่นรถควำ่า เรือชนกัน เกยตื้น ไฟไหม้ และ รวมถึงความเสียหายจากการเปียกนำ้าด้วย เงื่อนไข “C” คุ้มครองเฉพาะอุบัติเหตุที่ร้ายแรง เท่านั้น
  • 52. ารขอเอาประกันภัย2. ควรระบุให้กรมธรรม์มีผลคุ้มครองตลอดเส้น ทางของการขนส่ง เช่น คลังสินค้าของผู้ซื้อ สินค้าสมมติว่าตั้งอยู่ในเชียงใหม่ สินค้านำาเข้า มาจากฮ่องกงซึ่งเรือสินค้าจะต้องเข้าเทียบ ท่าเรือกรุงเทพฯ ก่อนขนส่งต่อภายในประเทศ ไปยังจังหวัดเชียงใหม่ จึงควรระบุในกรมธรรม์ ให้ความคุ้มครอง เริ่มจากฮ่องกงผ่านกรุงเทพฯ ถึงเชียงใหม่ (From Hongkong via Bangkok to Chiengmai)
  • 53. ารขอเอาประกันภัย 3.ควรพิจารณาดูว่าสัญญาซื้อขายเป็นเงื่อนไข แบบใด ถ้าเป็นสัญญาซื้อขายแบบ C.I.F. ใน กรณีที่เป็นสินค้าส่งออกจะต้องตรวจดูเงื่อนไข ของ L/C ที่ผู้ซื้อสินค้าระบุมาว่าให้ใช้เงื่อนไข ความคุ้มครองแบบใด ถ้าผู้ซื้อระบุการ คุ้มครองที่กว้างกว่าประเพณีนิยมของการซื้อ ขายชนิดนั้น ผู้ซื้อมีหน้าที่รับภาระค่าเบี้ย ประกันภัยส่วนที่เพิ่มขึ้นจากปกติ
  • 54. ารขอเอาประกันภัย 4. ควรพิจารณาทำาประกันภัยกับบริษัทประกัน ภัยภายในประเทศ โดยเฉพาะกรณีที่เป็นสินค้า นำาเข้าเพราะนอกจากจะเป็นการสงวน เงิน ตราไว้ภายในประเทศ ได้ส่วนหนึ่งแล้วใน กรณีที่สินค้าได้รับความเสียหายหรือสูญหาย ขั้นตอนการเรียกร้องค่าสินไหมทดแทน จาก บริษัทประกันภัยในประเทศ จะสะดวกรวดเร็ว กว่าการเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนจากบริษัท ประกันภัยซึ่งตั้งอยู่ต่างประเทศ
  • 55. ารขอเอาประกันภัย 5. ควรมีข้อมูลและรายละเอียดสำาหรับทำา ประกันภัย ดังนี้ - ชื่อผู้เอาประกันภัย - ชื่อและประเภทของสินค้าที่เอาประกันภัย - จำานวนเงินเอาประกันภัย - เส้นทางการขนส่ง ควรระบุเมืองต้นทางและเมือง ปลายทางให้ชัดเจนในกรณีที่มีการถ่ายลำาจะต้องระบุ เมืองท่าที่มีการถ่ายลำาด้วย
  • 56. เงื่อนไขความคุ้มครองที่ต้องการ ภายหลัง จากที่สินค้าขึ้นเรือเรียบร้อย จะต้องแจ้ง ข้อมูลให้บริษัททราบเพื่อออกกรมธรรม์ ดังนี้ - ชื่อเรือหรือยานพาหนะที่ใช้บรรทุกสินค้า ชื่อเรือที่มีการถ่ายลำา (ถ้ามี) - วันที่เรือออกเดินทาง - ชื่อเมืองท่าต้นทางและปลายทาง - จำานวนหีบห่อและเครื่องหมายบนหีบห่อ
  • 58. A B C 1. ไฟไหม้ ระเบิด คุ้มคร อง คุ้มคร อง คุ้มคร อง 2. เรือจม เกยตื้น เรือล่ม การโดน กัน ชนกัน กับวัตถุอื่นนอกเหนือ จากนำ้า คุ้มคร อง คุ้มคร อง คุ้มคร อง 3. รถพลิกควำ่า ชนกัน รถไฟตก ราง คุ้มคร อง คุ้มคร อง คุ้มคร อง 4. การขนถ่ายสินค้า ณ ท่าเรือ หลบภัย คุ้มคร อง คุ้มคร อง คุ้มคร อง 5. General Average การเสีย คุ้มคร คุ้มคร คุ้มคร สรุปภัยที่คุ้มครองการประกันภัยตามเงื่อนไขต่างๆ ความเสียหายของวัตถุที่เอาประกันภัยที่เกิดจาก Institute
  • 59. A B C 8. สินค้าถูกคลื่นซัดตกทะเล คุ้มคร อง คุ้มคร อง ไม่ คุ้มครอ ง 9. สินค้าเสียหายสิ้นเชิงทั้งหีบห่อ ในขณะที่ขนขึ้นลงเรือ หรือระหว่าง ถ่ายลำาสับเปลี่ยนเรือ คุ้มคร อง คุ้มคร อง ไม่ คุ้มครอ ง 10. นำ้าทะเล นำ้าทะเลสาบ สถานที่ นำ้าในแม่นำ้า เข้าไปในเรือ ยาน ระวาง ตู้คอนเทนเนอร์ คุ้มคร อง คุ้มคร อง ไม่ คุ้มครอ ง 11. เปียกนำ้าฝน คุ้มคร อง ไม่ คุ้มครอ ง ไม่ คุ้มครอ ง สรุปภัยที่คุ้มครองการประกันภัยตามเงื่อนไขต่างๆ ความเสียหายของวัตถุที่เอาประกันภัยที่เกิดจาก Institute
  • 60. ประกันภัยการขนส่งสินค้าจะเริ่มต้นและสิ้นสุด สัญญาประกันภัยการขนส่งสินค้า จะเริ่มต้น เมื่อสินค้าเคลื่อนออกจากโกดังหรือ สถานที่ เก็บสินค้า ณ สถานที่ ที่ระบุเมื่อเริ่มเดินทาง ต่อเนื่องตลอดการขนส่งตามปกติ และสิ้นสุด เมื่อ1. ส่งถึงโกดังของผู้รับสินค้าหรือโกดังปลายทางอื่นหรือสถาน ที่เก็บสินค้า ณ ปลายทางที่ระบุไว้ 2. ส่งถึงโกดังหรือสถานที่เก็บสินค้าอื่นไม่ว่าจะก่อนถึง หรือ ณ ปลายทางที่ระบุไว้ซึ่งผู้เอาประกันภัยเลือกใช้เป็น 3. ที่เก็บสินค้านอกเหนือเส้นทางขนส่งตามปกติ หรือ 4. ที่จัดสรรหรือแจกจ่ายสินค้า 5. เมื่อครบ 60 วัน หลังลงเรือเดินทะเล ณ ปลายทาง แล้วแต่ ว่าเหตุการณ์ใดเกิดก่อน