SlideShare a Scribd company logo
Blog คืออะไร
Blog เป็นคารวมมาจากศัพท์คาว่า เว็บบล็อก (WeBlog) สามารถอ่านได้ว่า We Blog หรือ Web
Log ไม่ว่าจะอ่านได้อย่างไรทั้งสองคานี้ก็บ่งบอกถึงความหมายเดียวกัน ว่าคือบล็อก (Blog)
คาว่า "บล็อก" สามารถใช้เป็นคากริยาได้ซึ่งหมายถึง การเขียนบล็อก และนอกจากนี้ผู้ที่เขียนบล็อก
เป็นอาชีพก็จะถูกเรียกว่า "บล็อกเกอร์"
ความเป็นมาของบล็อก
“Weblog” ถูกใช้งานเป็นครั้งแรกโดย Jorn Barger ในเดือนธันวาคม ปี ค.ศ. 1997 เริ่มแรกคน
ที่เขียนบล็อกนั้นยังทากันในระบบ Manual คือเขียนเว็บเพจขึ้นเองทีละหน้า เขียนเป็นงานอดิเรกของกลุ่ม
สื่ออิสระต่างๆ หลายๆ แห่งกลายเป็นแหล่งข่าวสาคัญให้กับหนังสือพิมพ์หรือสานักข่าวชั้นนา แต่ใน
ปัจจุบันนี้ผู้คนหลายล้านคนจากทั่วทุกมุมโลก หันมาเขียนบล็อกกันอย่างแพร่หลาย ตั้งแต่นักเรียน
นักศึกษา อาจารย์ นักเขียน ตลอดจนผู้บริหารบริษัทยักษ์ใหญ่ อีกทั้งยังมีเครื่องมือหรือซอฟท์แวร์ให้เราใช้
ในการเขียนบล็อกได้มากมาย เช่น Drupal, WordPress, Movable Type เป็นต้น ต่อมามีฝรั่งที่ชอบ
เรียกสั้นๆ ชื่อนาย Peter Merholz จับมาเรียกย่อเหลือแต่ “Blog” แทนในเดือนเมษายน ปี ค.ศ. 1999
และคาคานี้เริ่มใช้เป็นครั้งแรกๆ ผ่านทางหน้าหนังสือพิมพ์และนิตยสาร จนมาถึงวันที่ 13 มีนาคม ค.ศ.
2003 ทาง Oxford English Dictionary จึงได้บรรจุคาว่า blog ในพจนานุกรม แสดงว่าได้รับการ
ยอมรับอย่างเป็นทางการ บล็อก (Blog) ขึ้นแท่นศัพท์ยอดฮิต อันดับหนึ่ง ซึ่งถูกเสาะแสวงหา ความหมาย
ทางพจนานุกรมออนไลน์ มากที่สุด ประจาปี 2004 และคนเขียนบล็อกก็ได้รับการยอมรับจากสื่อและสานัก
ข่าวต่างๆ ถึงความรวดเร็วในการให้ข้อมูลตั้งแต่เรื่องการเมืองไปจนกระทั่งเรื่องราวของการประชุม
ระดับชาติ และจากเหตุการณ์เหล่านี้ นับได้ว่าบล็อกเป็นสื่อชนิดหนึ่งที่ไม่ต่างจาก วีดีโอ, สิ่งพิมพ์, โทรทัศน์
หรือแม้กระทั่งวิทยุ เราสามารถเรียกได้ว่าบล็อกได้เข้ามาเป็นสื่อชนิดใหม่ที่สาคัญอย่างแท้จริง
สานักข่าวเอพีรายงานว่า “เว็บไซต์ ดิกชั่นนารีหรือ พจนานุกรมออนไลน์ “เมอร์เรียม-เว็บสเตอร์”
ได้ประกาศรายชื่อ คาศัพท์ซึ่งถูกคลิก เข้าไปค้นหา ความหมายผ่าน ระบบออนไลน์มากที่สุด 10 อันดับ
แรกประจาปีนี้ ซึ่งอันดับหนึ่งตกเป็นของคาว่า “บล็อก” (blog) ซึ่งเป็นคาย่อของ “เว็บ บล็อก” (web
log) โดยนายอาเธอร์ บิคเนล โฆษกสานักพิมพ์พจนานุกรมฉบับ
เมอร์เรียม-เว็บสเตอร์ กล่าวว่า สานักพิมพ์ได้เตรียมที่จะนาคาว่า “บล็อก” บรรจุลงใน
พจนานุกรมฉบับล่าสุดทั้งที่เป็นเล่มและ ฉบับออนไลน์แล้ว แต่จากความต้องการของผู้ใช้ที่หลั่งไหลเข้ามา
ทาให้เมอร์เรียม-เว็บสเตอร์ตัดสินใจบรรจุคาว่า “บล็อก” ลงในเว็บไซต์ในสังกัดบางแห่งไปก่อน โดยให้คา
จากัดความไว้ว่า “เว็บไซต์ที่บรรจุ เรื่องราวเกี่ยวกับบันทึกส่วนตัวประจาวัน ซึ่งสะท้อนถึงมุมมอง ความ
คิดเห็นของบุคคล โดยอาจรวมลิงค์เชื่อมต่อไปยังเว็บไซต์อื่นๆ ตามความประสงค์ของเจ้าของเว็บบล็อก
เองด้วย” โดยทั่วไปคาศัพท์ที่ถูกบรรจุลงในพจนานุกรมนั้นจะต้องผ่านการใช้งาน อย่างแพร่หลาย มาไม่
น้อยกว่า 20 ปี ซึ่งหมายความว่าคาคานั้นจะต้องถูกนามาใช้โดยทั่วไปในระยะเวลาหนึ่ง อย่างไรก็ตาม
ปัจจุบันคาศัพท์ ทางเทคโนโลยีรวมไปถึงโรคภัยไข้เจ็บใหม่ๆ อย่างเช่น โรคเอดส์ โรคไข้หวัดซาร์ส ถูก
บรรจุลงในพจนานุกรมภายในระยะเวลาอันสั้น
บล็อกมีบทบาทมากขึ้นในปัจจุบันในวงการสื่อมวลชนในหลายประเทศ เนื่องจากระบบแก้ไขที่
เรียบง่าย และสามารถตีพิมพ์เรื่องราวได้โดยไม่ต้องใช้ความรู้ในการเขียนเว็บไซต์ เป็นอีกช่องทางหนึ่งใน
การเผยแพร่ข้อมูล หรือแนวความคิด โดยการเขียนบล็อกสามารถเผยแพร่ข้อมูลสู่ประชาชนได้รวดเร็ว
และเสียค่าใช้จ่ายน้อยกว่าสื่อในด้านอื่นจากความนิยมที่มากขึ้น ทาให้หลายเว็บไซต์เปิดให้มีส่วนการใช้
งานบล็อกเพิ่มขึ้นมาในเว็บของตนเอง เพื่อเรียกให้มีการเข้าสู่เว็บไซต์มากขึ้นทั้งผู้เขียนและผู้อ่าน
ความหมายของคาว่า Blog
บล็อก คือรูปแบบหนึ่งของเว็บไซต์ เป็นการบันทึกบทความของตนเอง (Personal Journal) ลง
บนเว็บไซต์ โดยเนื้อหาของบล็อกนั้นสามารถครอบคลุมได้ทุกเรื่อง มีเนื้อหาได้หลากหลาย ไม่ว่าจะเป็น
เรื่องราวส่วนตัวที่สามารถเรียกได้ว่า ไดอารีออนไลน์ หรือเป็นบทความเฉพาะด้านต่างๆ สามารถใช้เป็น
เครื่องมือสื่อสาร การประกาศข่าวสาร การแสดงความคิดเห็น การเผยแพร่ผลงาน ในหลายด้าน เช่น
สิ่งแวดล้อม การเมือง เทคโนโลยี กีฬา ธุรกิจการค้า เป็นต้น อีกทั้งยังสามารถแตกแขนงไปในเนื้อหาใน
ประเภทต่างๆ อีกมากมาย ตามความถนัด ความสนใจของเจ้าของบล็อก เพราะสิ่งสาคัญที่ทาให้บล็อกเป็น
ที่นิยมก็คือ ผู้เขียนบล็อกนั่นเอง
บล็อกถูกเขียนขึ้นในลาดับที่เรียงตามเวลาในการเขียน ซึ่งจะแสดงข้อมูลที่เขียนล่าสุดไว้ที่ลาดับ
แรกสุด โดยปกติบล็อกจะประกอบด้วย ข้อความ ภาพ ลิงค์ และสื่อชนิดต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น เพลง วิดีโอ
หรือสื่ออื่นๆ ที่สามารถแสดงผลผ่านเว็บไซต์ได้
จุดเด่น และจุดแตกต่างของบล็อกกับเว็บไซต์โดยปกติคือ บล็อกเป็นเครื่องมือสื่อสารที่สามารถสื่อ
ถึงความเป็นกันเองระหว่างผู้เขียนบล็อก และผู้อ่านบล็อกที่เป็นกลุ่มเป้าหมายผ่านทางระบบการแสดง
ความคิดเห็น (Comment) ของตนเองใส่ลงไปในบทความนั้นๆ ซึ่งทาให้ผู้เขียนสามารถได้ผลตอบกลับ
โดยทันที บล็อกบางแห่งจะมีอิทธิพลในการโน้มน้าวจิตใจผู้อ่านสูงมาก แต่ในขณะเดียวกัน บางบล็อกก็จะ
เขียนขึ้นมาเพื่อให้อ่านกันในกลุ่มเฉพาะ เช่น กลุ่มเพื่อนๆ หรือครอบครัว
ส่วนประกอบของ Blog
บล็อกประกอบไปด้วยส่วนประกอบ 3 ส่วน คือ
1. หัวข้อ (Title)
2. เนื้อหา (Post หรือ Content)
3. วันเวลาที่เขียน (Date/Time)
การใช้งานบล็อก
ผู้ใช้งานบล็อกจะแก้ไขและบริหารบล็อกผ่านทางเว็บบราวเซอร์เหมือนการใช้งานและอ่านเว็บไซต์
ทั่วไป โดยจะมีรูปแบบบริหารบล็อกที่แตกต่างกัน เช่นบางระบบที่มีบรรณาธิการของบล็อก ผู้เขียนหลาย
คนจะส่งเรื่องเข้าทางบล็อก และจะต้องรอให้บรรณาธิการอนุมัติให้บล็อกเผยแพร่ก่อน บล็อกถึงจะ
แสดงผลในเว็บไซต์นั้นได้ ซึ่งจะแตกต่างจากบล็อกส่วนตัวที่จะให้แสดงผลได้ทันที
ผู้เขียนบล็อกในปัจจุบันจะใช้งานบล็อกในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่งไม่ว่า ติดตั้งซอฟต์แวร์ของ
ตัวเอง หรือใช้งานบล็อกผ่านทางเว็บไซต์ที่ให้บริการบล็อก ผู้เขียนบล็อกสามารถใช้งานได้ทันทีโดยไม่ต้อง
มีพื้นฐานความรู้ในด้าน HTML หรือการทาเว็บไซต์แต่อย่างใด ทาให้ผู้เขียนบล็อกสามารถใช้เวลาส่วน
ใหญ่ในการบริหารจัดการ เพิ่มเติม ข้อมูลและสารสนเทศแทนได้ นอกจากนี้ระบบการจัดการบล็อกจะ
สนับสนุน ระบบ WYSIWYG ซึ่งทาให้ง่ายต่อการเขียน และอาจเพิ่มเติมการมีเทมเพลตในหลายแบบให้
เลือกใช้
สาหรับผู้อ่านบล็อกจะใช้งานได้ในลักษณะเหมือนอ่านเว็บไซต์ทั่วไป และสามารถแสดงความเห็น
ได้ในส่วนท้ายของแต่ละบล็อกโดยอาจจะต้องผ่านการลงทะเบียนในบางบล็อก นอกจากนี้ผู้อ่านบล็อก
สามารถอ่านบล็อกได้ผ่านระบบฟีด (Feed) ซึ่งมีให้บริการในบล็อกทั่วไป ทาให้ผู้ใช้สามารถอ่านบล็อกได้
โดยตรงผ่านโปรแกรมตัวอื่นโดยไม่จาเป็นต้องเข้ามาสู่หน้าบล็อกนั้น
ประโยชน์ของบล็อก
ผลการศึกษาจากเว็บไซต์ GotoKnow.org ซึ่งเปิดให้บริการบล็อกเพื่อเขียนบันทึก และมี
วัตถุประสงค์เพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของกลุ่มคนทางาน
จากจานวนสมาชิกที่มากมายทาให้พบว่าบล็อกแห่งนี้ไม่เพียงแต่เป็นพื้นที่ซึ่งเปิดให้บริการเพื่อเขียนบล็อก
เท่านั้น แต่ยังเป็นคลังซึ่งใช้เก็บประโยชน์ต่างๆ มากมายอีกด้วย
คลังประโยชน์ของบล็อก
1. คลังความรู้ มีความรู้มากมายให้ค้นหา ให้อ่านตามความสนใจ
2. คลังมิตรภาพ เกิดการปฏิสัมพันธ์กันทั้งทางออนไลน์และออฟไลน์จนกลายเป็นมิตรภาพ
ดีๆ
3. คลังแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ แสดงความคิดเห็น และต่อยอดความรู้
ออกไป
4. คลังแห่งความสุข เป็นที่ระบายความเครียด ช่วยผ่อนคลาย และเพิ่มความสุขในชีวิต
5. คลังข้อมูล ใช้เก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับการทางานของสมาชิกที่สาคัญ ช่วยให้เจ้าของ
ข้อมูลสามารถดึงดูดข้อมูลออกมาใช้ได้อย่างสะดวก รวดเร็ว
6. คลังเพื่อการฝึกฝน เป็นแหล่งฝึกฝนระบบการคิด ทักษะการเขียน และความสามารถด้าน
ถ่ายทอดข้อมูลความรู้ต่างๆ และยังเป็นแหล่งฝึกทักษะการใช้คอมพิวเตอร์และอินเตอร์เน็ตได้อย่างดีอีก
ด้วย
7. คลัง KM ที่แห่งนี้เป็นสถานที่ที่มีผู้เชียวชาญด้านการจัดการความรู้ (KM) มากมาย อีกทั้ง
สามารถค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับการจัดการความรู้ (KM) ได้ง่ายเพียงแค่คลิก
8. คลังประชาสัมพันธ์และกิจกรรมงานบุญ เป็นแหล่งประชาสัมพันธ์กิจกรรมดีๆ เพื่อ
สร้างสรรค์สังคมมากมาย
9. คลังแห่งองค์กรต่างๆ บางองค์กรเลือกเว็บไซต์ GOtoKnow.org เป็นเครื่องมือเพื่อ
ติดต่อสื่อสารระหว่างกัน
10. คลังเพื่อนช่วยเพื่อน เมื่อมีการติดต่อสื่อสารกันทั้งทางออนไลน์ จนเกิดความไว้เนื้อเชื่อใจ
กัน พบว่าเกิดกระบวนการเพื่อนช่วยเพื่อน ทั้งทางออนไลน์และออฟไลน์ เช่น ช่วยสอนวิธีการใช้งาน
บล็อก
11. คลังความรู้ฝังลึก อย่างที่กล่าวไปแล้วว่า ที่มี่เป็นคลังความรู้ มีสารประโยชน์ต่างๆ
มากมายให้เลือกอ่าน และที่สาคัญความรู้ส่วนใหญ่นั้นเป็นความรู้สึกฝังลึกที่ซ่อนอยู่ ในตัวคนทุกคนนั่นเอง
ที่นี่จึงกลายเป๋นคลังความรู้ฝังลึกที่ใหญ่มาก และถ้าหากสามารถสกัดความรู้ฝังลึกเหล่านี้ให้กลายเป็น
ความรู้ชัดแจ้งได้ ที่มี่กลายเป็นคลังแก่นความรู้ได้ต่อไป
ทั้ง 11 ข้อ เป็นปะโยชน์ที่เกิดจากการสกัดข้อมูลออกมาจากบันทึกจานวนมาก และแน่นอนว่า
ประโยชน์ของบล็อกไม่ได้มีเพียงเท่านี้ ยังมีอีกมากมายหลากหลายข้อ ขึ้นอยู่กับผู้ใช้ว่าสามารถนาบล็อกไป
ใช้ให้เกิดประโยชน์ได้มากน้อยเพียงใดนั่นเอง
ที่มา : http://portal.in.th/blog-km/pages/13338/

More Related Content

What's hot

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรแบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรPongtep Bungkilo
 
Blog
BlogBlog
Blog
ImSP
 
เอกสารไม่มีชื่อ
เอกสารไม่มีชื่อเอกสารไม่มีชื่อ
เอกสารไม่มีชื่อRungroj Ssan
 
Comsoee
ComsoeeComsoee
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2pitthaya203
 
แบบเสนอโครงร่าง
แบบเสนอโครงร่างแบบเสนอโครงร่าง
แบบเสนอโครงร่างShe's Ning
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2commyzaza
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องChi Cha Pui Fai
 

What's hot (10)

02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรแบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
 
Blog
BlogBlog
Blog
 
เอกสารไม่มีชื่อ
เอกสารไม่มีชื่อเอกสารไม่มีชื่อ
เอกสารไม่มีชื่อ
 
Comsoee
ComsoeeComsoee
Comsoee
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
แบบเสนอโครงร่าง
แบบเสนอโครงร่างแบบเสนอโครงร่าง
แบบเสนอโครงร่าง
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 

Viewers also liked

โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
pimnarayrc
 
ใบงานที่ 1 แบบสำรวจและข้อมูลส่วนตัว
ใบงานที่ 1 แบบสำรวจและข้อมูลส่วนตัวใบงานที่ 1 แบบสำรวจและข้อมูลส่วนตัว
ใบงานที่ 1 แบบสำรวจและข้อมูลส่วนตัว
pimnarayrc
 
Penentuan kriteria ketuntasan minimal baru
Penentuan kriteria ketuntasan minimal baruPenentuan kriteria ketuntasan minimal baru
Penentuan kriteria ketuntasan minimal baru
Aryan Best Lucky
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
pimnarayrc
 
Catalogue dimmable g4 led g9 bulbs
Catalogue dimmable g4 led g9 bulbsCatalogue dimmable g4 led g9 bulbs
Catalogue dimmable g4 led g9 bulbs
sales enkonn
 
Catalog led corn bulbs - enkonn
Catalog   led corn bulbs - enkonnCatalog   led corn bulbs - enkonn
Catalog led corn bulbs - enkonn
sales enkonn
 
GU10 MR16 Spot Light LED
GU10 MR16 Spot Light LEDGU10 MR16 Spot Light LED
GU10 MR16 Spot Light LED
sales enkonn
 
โครงงานคอมฯ
โครงงานคอมฯโครงงานคอมฯ
โครงงานคอมฯ
pimnarayrc
 
Catalogue R7S enkonn
Catalogue R7S enkonnCatalogue R7S enkonn
Catalogue R7S enkonn
sales enkonn
 
Resume_of_Zeeshan crp
Resume_of_Zeeshan crpResume_of_Zeeshan crp
Resume_of_Zeeshan crp
Muhammad Zeeshan Sarwar
 
Laporan program cintai sungai kita
Laporan program cintai sungai kitaLaporan program cintai sungai kita
Laporan program cintai sungai kita
nurnisasabrina
 
โครงงานคอมฯ(งานคู่)
โครงงานคอมฯ(งานคู่)โครงงานคอมฯ(งานคู่)
โครงงานคอมฯ(งานคู่)
pimnarayrc
 
Digilogous 2016 - SQ Prelims
Digilogous 2016 - SQ PrelimsDigilogous 2016 - SQ Prelims
Digilogous 2016 - SQ Prelims
Udit Kalra
 
Digilogous 2016 - JQ Prelims
Digilogous 2016 - JQ PrelimsDigilogous 2016 - JQ Prelims
Digilogous 2016 - JQ Prelims
Udit Kalra
 

Viewers also liked (14)

โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่ 1 แบบสำรวจและข้อมูลส่วนตัว
ใบงานที่ 1 แบบสำรวจและข้อมูลส่วนตัวใบงานที่ 1 แบบสำรวจและข้อมูลส่วนตัว
ใบงานที่ 1 แบบสำรวจและข้อมูลส่วนตัว
 
Penentuan kriteria ketuntasan minimal baru
Penentuan kriteria ketuntasan minimal baruPenentuan kriteria ketuntasan minimal baru
Penentuan kriteria ketuntasan minimal baru
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Catalogue dimmable g4 led g9 bulbs
Catalogue dimmable g4 led g9 bulbsCatalogue dimmable g4 led g9 bulbs
Catalogue dimmable g4 led g9 bulbs
 
Catalog led corn bulbs - enkonn
Catalog   led corn bulbs - enkonnCatalog   led corn bulbs - enkonn
Catalog led corn bulbs - enkonn
 
GU10 MR16 Spot Light LED
GU10 MR16 Spot Light LEDGU10 MR16 Spot Light LED
GU10 MR16 Spot Light LED
 
โครงงานคอมฯ
โครงงานคอมฯโครงงานคอมฯ
โครงงานคอมฯ
 
Catalogue R7S enkonn
Catalogue R7S enkonnCatalogue R7S enkonn
Catalogue R7S enkonn
 
Resume_of_Zeeshan crp
Resume_of_Zeeshan crpResume_of_Zeeshan crp
Resume_of_Zeeshan crp
 
Laporan program cintai sungai kita
Laporan program cintai sungai kitaLaporan program cintai sungai kita
Laporan program cintai sungai kita
 
โครงงานคอมฯ(งานคู่)
โครงงานคอมฯ(งานคู่)โครงงานคอมฯ(งานคู่)
โครงงานคอมฯ(งานคู่)
 
Digilogous 2016 - SQ Prelims
Digilogous 2016 - SQ PrelimsDigilogous 2016 - SQ Prelims
Digilogous 2016 - SQ Prelims
 
Digilogous 2016 - JQ Prelims
Digilogous 2016 - JQ PrelimsDigilogous 2016 - JQ Prelims
Digilogous 2016 - JQ Prelims
 

Similar to ใบงานที่2 ความรู้เกี่ยวกับบล็อก

ความรู้เรื่อง Blog 33
ความรู้เรื่อง Blog 33ความรู้เรื่อง Blog 33
ความรู้เรื่อง Blog 33bernfaibaifern
 
แบบนำเสนอโครงงานเรื่องไมโครโพรเซสเซอร์5.4
แบบนำเสนอโครงงานเรื่องไมโครโพรเซสเซอร์5.4แบบนำเสนอโครงงานเรื่องไมโครโพรเซสเซอร์5.4
แบบนำเสนอโครงงานเรื่องไมโครโพรเซสเซอร์5.4shopper38
 
แบบนำเสนอโครงงานเรื่องไมโครโพรเซสเซอร์5.4
แบบนำเสนอโครงงานเรื่องไมโครโพรเซสเซอร์5.4แบบนำเสนอโครงงานเรื่องไมโครโพรเซสเซอร์5.4
แบบนำเสนอโครงงานเรื่องไมโครโพรเซสเซอร์5.4shopper38
 
แบบนำเสนอโครงงานเรื่องไมโครโพรเซสเซอร์5.4
แบบนำเสนอโครงงานเรื่องไมโครโพรเซสเซอร์5.4แบบนำเสนอโครงงานเรื่องไมโครโพรเซสเซอร์5.4
แบบนำเสนอโครงงานเรื่องไมโครโพรเซสเซอร์5.4shopper38
 
โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์Pitthaya Onsuk
 
โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์Pitthaya Onsuk
 
โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์Pitthaya Onsuk
 
ความรู้เรื่อง Blog
ความรู้เรื่อง Blogความรู้เรื่อง Blog
ความรู้เรื่อง Blog
KawinTheSinestron
 
Blog
BlogBlog
Blog
ImSP
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2pitthaya203
 
โครงงาน Hi5 ม.5.2
โครงงาน Hi5 ม.5.2โครงงาน Hi5 ม.5.2
โครงงาน Hi5 ม.5.2nongnamka
 
ความร เก__ยวก_บ บล_อกเกอร_
ความร  เก__ยวก_บ บล_อกเกอร_ความร  เก__ยวก_บ บล_อกเกอร_
ความร เก__ยวก_บ บล_อกเกอร_Momay Protaper
 
โครงงานNoteBook
โครงงานNoteBookโครงงานNoteBook
โครงงานNoteBooksirikandaTom
 
โครงงาน NoteBook
โครงงาน NoteBookโครงงาน NoteBook
โครงงาน NoteBooksirikandaTom
 
บล็อก (Blog)
บล็อก (Blog)บล็อก (Blog)
บล็อก (Blog)
KrooIndy Csaru
 
โครงงาน แอนดรอยด์
โครงงาน แอนดรอยด์โครงงาน แอนดรอยด์
โครงงาน แอนดรอยด์teerarat55
 
Blog
BlogBlog
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์teeraratWI
 
Work3 605 11
Work3 605 11Work3 605 11
Work3 605 11
PittakamonPetai
 
Pittakamon 605 11
Pittakamon 605 11Pittakamon 605 11
Pittakamon 605 11
PittakamonPetai
 

Similar to ใบงานที่2 ความรู้เกี่ยวกับบล็อก (20)

ความรู้เรื่อง Blog 33
ความรู้เรื่อง Blog 33ความรู้เรื่อง Blog 33
ความรู้เรื่อง Blog 33
 
แบบนำเสนอโครงงานเรื่องไมโครโพรเซสเซอร์5.4
แบบนำเสนอโครงงานเรื่องไมโครโพรเซสเซอร์5.4แบบนำเสนอโครงงานเรื่องไมโครโพรเซสเซอร์5.4
แบบนำเสนอโครงงานเรื่องไมโครโพรเซสเซอร์5.4
 
แบบนำเสนอโครงงานเรื่องไมโครโพรเซสเซอร์5.4
แบบนำเสนอโครงงานเรื่องไมโครโพรเซสเซอร์5.4แบบนำเสนอโครงงานเรื่องไมโครโพรเซสเซอร์5.4
แบบนำเสนอโครงงานเรื่องไมโครโพรเซสเซอร์5.4
 
แบบนำเสนอโครงงานเรื่องไมโครโพรเซสเซอร์5.4
แบบนำเสนอโครงงานเรื่องไมโครโพรเซสเซอร์5.4แบบนำเสนอโครงงานเรื่องไมโครโพรเซสเซอร์5.4
แบบนำเสนอโครงงานเรื่องไมโครโพรเซสเซอร์5.4
 
โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์
 
โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์
 
โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์
 
ความรู้เรื่อง Blog
ความรู้เรื่อง Blogความรู้เรื่อง Blog
ความรู้เรื่อง Blog
 
Blog
BlogBlog
Blog
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
โครงงาน Hi5 ม.5.2
โครงงาน Hi5 ม.5.2โครงงาน Hi5 ม.5.2
โครงงาน Hi5 ม.5.2
 
ความร เก__ยวก_บ บล_อกเกอร_
ความร  เก__ยวก_บ บล_อกเกอร_ความร  เก__ยวก_บ บล_อกเกอร_
ความร เก__ยวก_บ บล_อกเกอร_
 
โครงงานNoteBook
โครงงานNoteBookโครงงานNoteBook
โครงงานNoteBook
 
โครงงาน NoteBook
โครงงาน NoteBookโครงงาน NoteBook
โครงงาน NoteBook
 
บล็อก (Blog)
บล็อก (Blog)บล็อก (Blog)
บล็อก (Blog)
 
โครงงาน แอนดรอยด์
โครงงาน แอนดรอยด์โครงงาน แอนดรอยด์
โครงงาน แอนดรอยด์
 
Blog
BlogBlog
Blog
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Work3 605 11
Work3 605 11Work3 605 11
Work3 605 11
 
Pittakamon 605 11
Pittakamon 605 11Pittakamon 605 11
Pittakamon 605 11
 

ใบงานที่2 ความรู้เกี่ยวกับบล็อก

  • 1. Blog คืออะไร Blog เป็นคารวมมาจากศัพท์คาว่า เว็บบล็อก (WeBlog) สามารถอ่านได้ว่า We Blog หรือ Web Log ไม่ว่าจะอ่านได้อย่างไรทั้งสองคานี้ก็บ่งบอกถึงความหมายเดียวกัน ว่าคือบล็อก (Blog) คาว่า "บล็อก" สามารถใช้เป็นคากริยาได้ซึ่งหมายถึง การเขียนบล็อก และนอกจากนี้ผู้ที่เขียนบล็อก เป็นอาชีพก็จะถูกเรียกว่า "บล็อกเกอร์" ความเป็นมาของบล็อก “Weblog” ถูกใช้งานเป็นครั้งแรกโดย Jorn Barger ในเดือนธันวาคม ปี ค.ศ. 1997 เริ่มแรกคน ที่เขียนบล็อกนั้นยังทากันในระบบ Manual คือเขียนเว็บเพจขึ้นเองทีละหน้า เขียนเป็นงานอดิเรกของกลุ่ม สื่ออิสระต่างๆ หลายๆ แห่งกลายเป็นแหล่งข่าวสาคัญให้กับหนังสือพิมพ์หรือสานักข่าวชั้นนา แต่ใน ปัจจุบันนี้ผู้คนหลายล้านคนจากทั่วทุกมุมโลก หันมาเขียนบล็อกกันอย่างแพร่หลาย ตั้งแต่นักเรียน นักศึกษา อาจารย์ นักเขียน ตลอดจนผู้บริหารบริษัทยักษ์ใหญ่ อีกทั้งยังมีเครื่องมือหรือซอฟท์แวร์ให้เราใช้ ในการเขียนบล็อกได้มากมาย เช่น Drupal, WordPress, Movable Type เป็นต้น ต่อมามีฝรั่งที่ชอบ เรียกสั้นๆ ชื่อนาย Peter Merholz จับมาเรียกย่อเหลือแต่ “Blog” แทนในเดือนเมษายน ปี ค.ศ. 1999 และคาคานี้เริ่มใช้เป็นครั้งแรกๆ ผ่านทางหน้าหนังสือพิมพ์และนิตยสาร จนมาถึงวันที่ 13 มีนาคม ค.ศ. 2003 ทาง Oxford English Dictionary จึงได้บรรจุคาว่า blog ในพจนานุกรม แสดงว่าได้รับการ ยอมรับอย่างเป็นทางการ บล็อก (Blog) ขึ้นแท่นศัพท์ยอดฮิต อันดับหนึ่ง ซึ่งถูกเสาะแสวงหา ความหมาย ทางพจนานุกรมออนไลน์ มากที่สุด ประจาปี 2004 และคนเขียนบล็อกก็ได้รับการยอมรับจากสื่อและสานัก ข่าวต่างๆ ถึงความรวดเร็วในการให้ข้อมูลตั้งแต่เรื่องการเมืองไปจนกระทั่งเรื่องราวของการประชุม ระดับชาติ และจากเหตุการณ์เหล่านี้ นับได้ว่าบล็อกเป็นสื่อชนิดหนึ่งที่ไม่ต่างจาก วีดีโอ, สิ่งพิมพ์, โทรทัศน์ หรือแม้กระทั่งวิทยุ เราสามารถเรียกได้ว่าบล็อกได้เข้ามาเป็นสื่อชนิดใหม่ที่สาคัญอย่างแท้จริง สานักข่าวเอพีรายงานว่า “เว็บไซต์ ดิกชั่นนารีหรือ พจนานุกรมออนไลน์ “เมอร์เรียม-เว็บสเตอร์” ได้ประกาศรายชื่อ คาศัพท์ซึ่งถูกคลิก เข้าไปค้นหา ความหมายผ่าน ระบบออนไลน์มากที่สุด 10 อันดับ แรกประจาปีนี้ ซึ่งอันดับหนึ่งตกเป็นของคาว่า “บล็อก” (blog) ซึ่งเป็นคาย่อของ “เว็บ บล็อก” (web log) โดยนายอาเธอร์ บิคเนล โฆษกสานักพิมพ์พจนานุกรมฉบับ
  • 2. เมอร์เรียม-เว็บสเตอร์ กล่าวว่า สานักพิมพ์ได้เตรียมที่จะนาคาว่า “บล็อก” บรรจุลงใน พจนานุกรมฉบับล่าสุดทั้งที่เป็นเล่มและ ฉบับออนไลน์แล้ว แต่จากความต้องการของผู้ใช้ที่หลั่งไหลเข้ามา ทาให้เมอร์เรียม-เว็บสเตอร์ตัดสินใจบรรจุคาว่า “บล็อก” ลงในเว็บไซต์ในสังกัดบางแห่งไปก่อน โดยให้คา จากัดความไว้ว่า “เว็บไซต์ที่บรรจุ เรื่องราวเกี่ยวกับบันทึกส่วนตัวประจาวัน ซึ่งสะท้อนถึงมุมมอง ความ คิดเห็นของบุคคล โดยอาจรวมลิงค์เชื่อมต่อไปยังเว็บไซต์อื่นๆ ตามความประสงค์ของเจ้าของเว็บบล็อก เองด้วย” โดยทั่วไปคาศัพท์ที่ถูกบรรจุลงในพจนานุกรมนั้นจะต้องผ่านการใช้งาน อย่างแพร่หลาย มาไม่ น้อยกว่า 20 ปี ซึ่งหมายความว่าคาคานั้นจะต้องถูกนามาใช้โดยทั่วไปในระยะเวลาหนึ่ง อย่างไรก็ตาม ปัจจุบันคาศัพท์ ทางเทคโนโลยีรวมไปถึงโรคภัยไข้เจ็บใหม่ๆ อย่างเช่น โรคเอดส์ โรคไข้หวัดซาร์ส ถูก บรรจุลงในพจนานุกรมภายในระยะเวลาอันสั้น บล็อกมีบทบาทมากขึ้นในปัจจุบันในวงการสื่อมวลชนในหลายประเทศ เนื่องจากระบบแก้ไขที่ เรียบง่าย และสามารถตีพิมพ์เรื่องราวได้โดยไม่ต้องใช้ความรู้ในการเขียนเว็บไซต์ เป็นอีกช่องทางหนึ่งใน การเผยแพร่ข้อมูล หรือแนวความคิด โดยการเขียนบล็อกสามารถเผยแพร่ข้อมูลสู่ประชาชนได้รวดเร็ว และเสียค่าใช้จ่ายน้อยกว่าสื่อในด้านอื่นจากความนิยมที่มากขึ้น ทาให้หลายเว็บไซต์เปิดให้มีส่วนการใช้ งานบล็อกเพิ่มขึ้นมาในเว็บของตนเอง เพื่อเรียกให้มีการเข้าสู่เว็บไซต์มากขึ้นทั้งผู้เขียนและผู้อ่าน ความหมายของคาว่า Blog บล็อก คือรูปแบบหนึ่งของเว็บไซต์ เป็นการบันทึกบทความของตนเอง (Personal Journal) ลง บนเว็บไซต์ โดยเนื้อหาของบล็อกนั้นสามารถครอบคลุมได้ทุกเรื่อง มีเนื้อหาได้หลากหลาย ไม่ว่าจะเป็น เรื่องราวส่วนตัวที่สามารถเรียกได้ว่า ไดอารีออนไลน์ หรือเป็นบทความเฉพาะด้านต่างๆ สามารถใช้เป็น เครื่องมือสื่อสาร การประกาศข่าวสาร การแสดงความคิดเห็น การเผยแพร่ผลงาน ในหลายด้าน เช่น สิ่งแวดล้อม การเมือง เทคโนโลยี กีฬา ธุรกิจการค้า เป็นต้น อีกทั้งยังสามารถแตกแขนงไปในเนื้อหาใน ประเภทต่างๆ อีกมากมาย ตามความถนัด ความสนใจของเจ้าของบล็อก เพราะสิ่งสาคัญที่ทาให้บล็อกเป็น ที่นิยมก็คือ ผู้เขียนบล็อกนั่นเอง บล็อกถูกเขียนขึ้นในลาดับที่เรียงตามเวลาในการเขียน ซึ่งจะแสดงข้อมูลที่เขียนล่าสุดไว้ที่ลาดับ แรกสุด โดยปกติบล็อกจะประกอบด้วย ข้อความ ภาพ ลิงค์ และสื่อชนิดต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น เพลง วิดีโอ หรือสื่ออื่นๆ ที่สามารถแสดงผลผ่านเว็บไซต์ได้ จุดเด่น และจุดแตกต่างของบล็อกกับเว็บไซต์โดยปกติคือ บล็อกเป็นเครื่องมือสื่อสารที่สามารถสื่อ ถึงความเป็นกันเองระหว่างผู้เขียนบล็อก และผู้อ่านบล็อกที่เป็นกลุ่มเป้าหมายผ่านทางระบบการแสดง ความคิดเห็น (Comment) ของตนเองใส่ลงไปในบทความนั้นๆ ซึ่งทาให้ผู้เขียนสามารถได้ผลตอบกลับ โดยทันที บล็อกบางแห่งจะมีอิทธิพลในการโน้มน้าวจิตใจผู้อ่านสูงมาก แต่ในขณะเดียวกัน บางบล็อกก็จะ เขียนขึ้นมาเพื่อให้อ่านกันในกลุ่มเฉพาะ เช่น กลุ่มเพื่อนๆ หรือครอบครัว
  • 3. ส่วนประกอบของ Blog บล็อกประกอบไปด้วยส่วนประกอบ 3 ส่วน คือ 1. หัวข้อ (Title) 2. เนื้อหา (Post หรือ Content) 3. วันเวลาที่เขียน (Date/Time) การใช้งานบล็อก ผู้ใช้งานบล็อกจะแก้ไขและบริหารบล็อกผ่านทางเว็บบราวเซอร์เหมือนการใช้งานและอ่านเว็บไซต์ ทั่วไป โดยจะมีรูปแบบบริหารบล็อกที่แตกต่างกัน เช่นบางระบบที่มีบรรณาธิการของบล็อก ผู้เขียนหลาย คนจะส่งเรื่องเข้าทางบล็อก และจะต้องรอให้บรรณาธิการอนุมัติให้บล็อกเผยแพร่ก่อน บล็อกถึงจะ แสดงผลในเว็บไซต์นั้นได้ ซึ่งจะแตกต่างจากบล็อกส่วนตัวที่จะให้แสดงผลได้ทันที ผู้เขียนบล็อกในปัจจุบันจะใช้งานบล็อกในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่งไม่ว่า ติดตั้งซอฟต์แวร์ของ ตัวเอง หรือใช้งานบล็อกผ่านทางเว็บไซต์ที่ให้บริการบล็อก ผู้เขียนบล็อกสามารถใช้งานได้ทันทีโดยไม่ต้อง มีพื้นฐานความรู้ในด้าน HTML หรือการทาเว็บไซต์แต่อย่างใด ทาให้ผู้เขียนบล็อกสามารถใช้เวลาส่วน ใหญ่ในการบริหารจัดการ เพิ่มเติม ข้อมูลและสารสนเทศแทนได้ นอกจากนี้ระบบการจัดการบล็อกจะ สนับสนุน ระบบ WYSIWYG ซึ่งทาให้ง่ายต่อการเขียน และอาจเพิ่มเติมการมีเทมเพลตในหลายแบบให้ เลือกใช้ สาหรับผู้อ่านบล็อกจะใช้งานได้ในลักษณะเหมือนอ่านเว็บไซต์ทั่วไป และสามารถแสดงความเห็น ได้ในส่วนท้ายของแต่ละบล็อกโดยอาจจะต้องผ่านการลงทะเบียนในบางบล็อก นอกจากนี้ผู้อ่านบล็อก สามารถอ่านบล็อกได้ผ่านระบบฟีด (Feed) ซึ่งมีให้บริการในบล็อกทั่วไป ทาให้ผู้ใช้สามารถอ่านบล็อกได้ โดยตรงผ่านโปรแกรมตัวอื่นโดยไม่จาเป็นต้องเข้ามาสู่หน้าบล็อกนั้น ประโยชน์ของบล็อก ผลการศึกษาจากเว็บไซต์ GotoKnow.org ซึ่งเปิดให้บริการบล็อกเพื่อเขียนบันทึก และมี วัตถุประสงค์เพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของกลุ่มคนทางาน จากจานวนสมาชิกที่มากมายทาให้พบว่าบล็อกแห่งนี้ไม่เพียงแต่เป็นพื้นที่ซึ่งเปิดให้บริการเพื่อเขียนบล็อก เท่านั้น แต่ยังเป็นคลังซึ่งใช้เก็บประโยชน์ต่างๆ มากมายอีกด้วย
  • 4. คลังประโยชน์ของบล็อก 1. คลังความรู้ มีความรู้มากมายให้ค้นหา ให้อ่านตามความสนใจ 2. คลังมิตรภาพ เกิดการปฏิสัมพันธ์กันทั้งทางออนไลน์และออฟไลน์จนกลายเป็นมิตรภาพ ดีๆ 3. คลังแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ แสดงความคิดเห็น และต่อยอดความรู้ ออกไป 4. คลังแห่งความสุข เป็นที่ระบายความเครียด ช่วยผ่อนคลาย และเพิ่มความสุขในชีวิต 5. คลังข้อมูล ใช้เก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับการทางานของสมาชิกที่สาคัญ ช่วยให้เจ้าของ ข้อมูลสามารถดึงดูดข้อมูลออกมาใช้ได้อย่างสะดวก รวดเร็ว 6. คลังเพื่อการฝึกฝน เป็นแหล่งฝึกฝนระบบการคิด ทักษะการเขียน และความสามารถด้าน ถ่ายทอดข้อมูลความรู้ต่างๆ และยังเป็นแหล่งฝึกทักษะการใช้คอมพิวเตอร์และอินเตอร์เน็ตได้อย่างดีอีก ด้วย 7. คลัง KM ที่แห่งนี้เป็นสถานที่ที่มีผู้เชียวชาญด้านการจัดการความรู้ (KM) มากมาย อีกทั้ง สามารถค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับการจัดการความรู้ (KM) ได้ง่ายเพียงแค่คลิก 8. คลังประชาสัมพันธ์และกิจกรรมงานบุญ เป็นแหล่งประชาสัมพันธ์กิจกรรมดีๆ เพื่อ สร้างสรรค์สังคมมากมาย 9. คลังแห่งองค์กรต่างๆ บางองค์กรเลือกเว็บไซต์ GOtoKnow.org เป็นเครื่องมือเพื่อ ติดต่อสื่อสารระหว่างกัน 10. คลังเพื่อนช่วยเพื่อน เมื่อมีการติดต่อสื่อสารกันทั้งทางออนไลน์ จนเกิดความไว้เนื้อเชื่อใจ กัน พบว่าเกิดกระบวนการเพื่อนช่วยเพื่อน ทั้งทางออนไลน์และออฟไลน์ เช่น ช่วยสอนวิธีการใช้งาน บล็อก 11. คลังความรู้ฝังลึก อย่างที่กล่าวไปแล้วว่า ที่มี่เป็นคลังความรู้ มีสารประโยชน์ต่างๆ มากมายให้เลือกอ่าน และที่สาคัญความรู้ส่วนใหญ่นั้นเป็นความรู้สึกฝังลึกที่ซ่อนอยู่ ในตัวคนทุกคนนั่นเอง ที่นี่จึงกลายเป๋นคลังความรู้ฝังลึกที่ใหญ่มาก และถ้าหากสามารถสกัดความรู้ฝังลึกเหล่านี้ให้กลายเป็น ความรู้ชัดแจ้งได้ ที่มี่กลายเป็นคลังแก่นความรู้ได้ต่อไป ทั้ง 11 ข้อ เป็นปะโยชน์ที่เกิดจากการสกัดข้อมูลออกมาจากบันทึกจานวนมาก และแน่นอนว่า ประโยชน์ของบล็อกไม่ได้มีเพียงเท่านี้ ยังมีอีกมากมายหลากหลายข้อ ขึ้นอยู่กับผู้ใช้ว่าสามารถนาบล็อกไป ใช้ให้เกิดประโยชน์ได้มากน้อยเพียงใดนั่นเอง ที่มา : http://portal.in.th/blog-km/pages/13338/