SlideShare a Scribd company logo
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 
1. ความหมายของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 
2. ส่วนประกอบของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 
3. คุณสมบัติของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 
4. ลักษณะของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการที่ดี 
5. หน้าที่ของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 
6. วิวัฒนาการของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 
7. ข้อคิดในการสร้างระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 
8. ประโยชน์ของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 
9. ปัญหาในการสร้างระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 
10.แนวโน้มของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
1. ความหมายของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (MANAGEMENT INFORMATION SYSTEM : MIS) 
หมายถึง ระบบที่รวบรวมและจัดเก็บข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่างๆ ทั้งภายใน และ ภายนอกองค์กรอย่างมีหลักเกณฑ์เพื่อ 
นา มาประมวลผล และ จัดรูปแบบให้ได้สารสนเทศที่ช่วยสนับสนุนการทา งาน และการตัดสินใจเห็นว่า MIS จะประกอบไปด้วย 
ที่หลัก 2 ประการ คือ 
1. สามารถเก็บรวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอกองค์กรมาไว้ด้วยกันอย่างเป็นระบบ 
2. สามารถทา การประมวลผลข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพเพื่อให้ได้สารสนเทศที่ช่วยสนับสนุนการปฏิบัติงานและการ 
บริหารงานของผู้บริหาร
2. ส่วนประกอบของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 
ในอดีตสารสนเทศยังไม่ได้รับการยอมรับว่าเป็นทรัพยากรที่สา คัญทางธุรกิจเช่นปัจจุบันผู้จัดการไม่ 
จาเป็นต้องเข้าใจกระบวนการรวบรวม จัดเก็บประมวลผล และ การบริหารสารสนเทศขององค์กรหรือต้อง 
รู้จักเทคโนโลยีการจัดการสารสนเทศ ปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศมีบทบาทสาคัญต่อการดา เนินงานทั้ง 
ระดับ องค์กร และ อุตสาหกรรม ธุรกิจต้องการระบบสารสนเทศที่มีอยู่อย่างมีประสิทธิภาพเพื่อการดา รงอยู่ 
และ เจริญก้าวหน้าขององค์กร โดยที่เทคโนโลยีมีส่วนช่วยธุรกิจให้ประสบความสาเร็จในอนาคต และ 
สามารถแข่งขันกับธุรกิจอื่นในระดับสากล ดังนั้น MIS สามารถรวบรวม แ ละสรุปข้อมูลที่มี รายละเอียด 
ต่าง ๆ เพื่อสร้าง สารสนเทศ ให้กับผู้บริหารไม่ว่าจะเป็นการสรุปผล การวิเคราะห์การวางแผน เป็นต้น การที่ 
ระบบสารสนเทศจะมี ความสามารถดังกล่าว จะต้องมีองค์ประกอบ 3 ประการดังต่อไปนี้
2 ส่วนประกอบของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 
1. เครื่องมือในการสร้างระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ หมายถึงส่วนประกอบ หรือโครงสร้างพื้นบานที่รวมกันเข้าเป็น MIS 
และช่วยให้ระบบสารสนเทศสามารถดา เนินงาน ได้อย่างมีประสิทธิภาพโดยเรา จา แนกเครื่องมือออกเป็น 2 ส่วน ไดแก่ 
1.1 ฐานข้อมูล (DATABASE) คือ การเก็บรวบรวมข้อมูลที่จาเป็นไว้ ณ ศูนย์กลาง และ สามารถนามาใช้ในงานเมื่อมีความ 
ต้องการได้ ข้อมูลเป็นหัวใจสาคัญของ MIS 
1.2 เครื่องมือ (TOOL) เป็นเครื่องมือที่ใช้จัดเก็บ และ ประมวลข้อมูล ปกติระบบสารสนเทศจะใช้เครื่องคอมพิวเตอร์เป็น 
อุปกรณ์หลักในการจัดการข้อมูลซึ่งประกอบด้วยส่วนประกอบสา คัญคือ 
อุปกรณ์ ( HARDWARE) ตัวเครื่องหรือส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ รวมทั้งอุปกรณ์ระบบเครือข่าย 
คอมพิวเตอร์ที่ช่วยการประมวล และ จัดการข้อมูล มีความสะดวกรวดเร็วและถูกต้อง 
ชุดคา สั่ง(SOFTWARE) คือ ชุดคา สั่งที่ทา หน้ารวบรวมและจัดการเก็บข้อมูลเพื่อใช้ประกอบการตัดสินใจหรือ 
การบริหารงาน
2. ส่วนประกอบของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 
2. วิธีการหรือขั้นตอนการประมวลผลข้อมูล ปัจจุบันธุรกิจต้องสามรถสังเคราะห์สารสนเทศที่เหมาะสมกับการใช้งานโดย 
จัดลาดับ และ วิธีการประมลผลข้อมูลเพื่อให้ได้สารสนเทศที่ต้องการลาดับของประมวลข้อมูลภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อ 
สร้างสารสนเทศที่ต้องการ ลักษณะที่สา คัญของวิธีการหรือขั้นตอน การประมวลผล ข้อมูล คือ 
2.1 ทา การประมวลผลข้อมูลทั่วไป 
2.2 ใช้ข้อมูลที่มีรายละเอียดมาก 
2.3 ระยะเวลาในการใช้ข้อมูลเป็นระยะสั้นส่วนมากใช้กับการปฏิบัติงานประจา วัน 
2.4 ระบบการทา งานของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้มักเป็นระบบออนไลน์ (ON-LINE PROCESSING) 
ซึ่งเป็นวิธีการประมวลผลที่รับข้อมูลเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์แล้ว ทา การประมวลผลทันทีโดยไม่มีการเก็บรอ หรือ สะสมข้อมูล 
ไว้ก่อน
2 ส่วนประกอบของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 
3. การแสดงผลลัพธ์ ปกติผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลของระบบสารสนเทศจะอยู่ในรูปของรายงาน ต่าง ๆ ที่สามารถเรียกมา 
แสดงได้อย่างรวดเร็วและชัดเจนมักอยู่ในรูปของรายงานแบบต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นในรูปของ ตารางหรือการแสดงโดยใช้กราฟ 
เช่น กราฟเส้น กราฟแท่ง กราฟวงกลม เป็นต้น 
3.1 รายงานตามตารางเวลา (SCHEDULES REPORTS 
3.2 รายงานแสดงส่วนประกอบสาคัญ (KEY INDICATOR REPORTS) 
3.3 รายงานตามคา ขอ (DEMAND REPORTS) 
3.4 รายงานกรณียกเว้น (EXCEPTION REPORTS 
3.5 รายงานแบบเจาะลึกรายละเอียด (DRILL DOWN REPORT)
3. คุณสมบัติของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 
โดยการพัฒนาระบบสารสนเทศต้องคานึงคุณสมบัติของ MIS ดังต่อไปนี้ 
1. ความสามารถในการจัดการข้อมูล (DATA MANIPULATION) ระบบสารสนเทศที่ดีต้องสามารถ 
ปรับปรุงแก้ไขจัดการบานข้อมูลเพื่อให้เป็นสารสนเทศที่พร้อมสาหรับนาไปใช้งานอย่างมีประสิทธิภาพปกติข้อมูลต่าง ๆ ที่ 
เกี่ยวข้องกับการดาเนินธุรกิจจะมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ข้อมูลที่ถูกป้อนเข้าสู่ MIS ควรที่จะได้รับการปรับปรุง และ 
พัฒนาในรูปแบบเพื่อให้มีความทันสมัย และ เหมาะกับการใช้งานอยู่เสมอ 
2. ความปลอดภัยของข้อมูล (DATA SECURITY) สารสนเทศเป็นทรัพยากรที่สาคัญที่สุดปัจจัยหนึ่งของ 
องค์กร ถ้าสารสนเทศบางตัวรั่วไหลออกไปสู่สังคมภายนอก โยเฉพาะคู่แข่งขัน อาจทาให้เกิดการเสียโอกาส ทางการแข่งขัน 
หรือสร้างความเสียหายแก่ธุรกิจ นอกจากนีค้วามสูญเสียที่เกิดขึน้จากความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ หรือ การก่อการร้ายต่อระบบจะมี 
ผล โดยตรงต่อประสิทธิภาพความอยู่รอดขององค์กร ดังนัน้ผู้บริหารหรือเจ้าของระบบจะไม่ยอมให้ผู้ไม่เกี่ยวข้องหรือไม่มีหน้าที่ 
โดยตรงเกี่ยวกับการจัดการข้อมูลเข้าถึงฐานข้อมูลที่สาคัญของธุรกิจได้
3 คุณสมบัติของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 
3. ความยืดหยุ่น (FLEXIBILITY) สภาพแวดล้อมในการดาเนินธุรกิจ หรือสถานการณ์ที่แข่งขันทางการค้าที่เปลี่ยนแปลง 
อย่างรวดเร็ว ส่งผลให้ระบบสารสนเทศที่ดีต้องมีความสามารถในการปรับตัวเพื่อให้สอด คล้องกับการใช้งานหรือปัญหาที่ 
เกิดขึ้น โดยที่ระบบสารสนเทศที่ถูกสร้างหรือถูกพัฒนาขึ้นต้องสามารถตอบสนองความ ต้องการของผู้บริหาร ได้อยู่เสมอ โดยมี 
อายุใช้งาน การบา รุงรักษาและค่าใช้จ่ายที่เหมาะสม 
4. ความพอใจของผู้ใช้ (USER SATISFACTION) ปกติ MIS ถูกพัฒนาขึ้นโดยมีความมุ่งหวังให้ผู้ใช้สามารถนา มา 
ประยุกต์ในงานหรือเพิ่มประสิทธิภาพในการทา งาน ดังนั้นระบบสารสนเทศที่ดีจะต้องกระตุ้นหรือ โน้มน้าวผู้ใช้หันมาใช้ระบบ 
ให้มากขึ้นเนื่องจากการพัฒนาระบบจะต้องใช้เงินลงทุนสูงจึงต้องใช้งานให้คุ้มค่า ดังนั้นระบบธุรกิจสมควรที่จะพัฒนาระบบให้ 
ตรงกับความต้องการของผู้ใช้และทาให้ผู้ใช้เกิดความพอใจต่อระบบเพราะถ้าระบบไม่สามารถให้สิ่งที่ผู้ใช้ต้องการ โอกาสที่ 
ระบบจะถูกใช้งาน และ ได้รับความนิยมก็จะน้อยลงซึ่งส่งผลให้ระบบสารสนเทศไม่สามารถช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการ 
ดา เนินงานได้ตามคาดหวัง และเป็นผลให้เกิดการสูญเสียหรือไม่คุ้มค่าในการลงทุน
4. ลักษณะของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการที่ดี 
1. MIS ถูกนาไปใช้การตัดสินใจของผู้บริหารทุกระดับ ช่วยให้บริหารสามารถเรียกค้นข้อมูลได้รวดเร็ว 
2. MIS เป็นระบบงานซึ่งผสมผสานข้อมูลจากหลาย ๆ แหล่งหรือระบบย่อยหลาย ๆ ระบบที่มีความสัมพันธ์กัน 
3. การพัฒนาระบบสารสนเทศ จะเริ่มจากความต้องการ และ ความเห็นชอบของผู้บริหาร เพื่อจัดเตรียมสารสนเทศให้แก่ 
ผู้บริหาร ช่วยในการตัดสินใจ และ บรรลุจุดมุ่งหมายโดยรวมองค์กร 
4. MIS จะใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วย เนื่องจากข้อมูลในองค์กรหนึ่ง ๆ มีเป็นจานวนมาก และ มีความ 
5. สารสนเทศนัน้จะถือว่าเป็นทรัพยากรที่สาคัญอีกอย่างหนงึ่ จุดมุ่งหมายของ MIS คือ จัดทาสารสนเทศที่เป็นประโยชน์แก่ 
องค์กรเพื่อใช้ควบคุมการทางานและการจัดการขององค์กร 
6. ทาการจัดเก็บข้อมูล สร้างเป็นฐานข้อมูลเก็บไว้ซงึ่ฐานข้อมูลนีเ้ป็นการรวบรวม วัตถุประสงค์คือต้องการจะหลีกเลี่ยงความ 
ซับซ้อนของการเก็บข้อมูล 
7. การมีส่วนร่วมของผู้ใช้ MIS จะไม่ประสบความสาเร็จถ้าปราศจากความร่วมมือ และความพอใจ ของผู้ใช้งาน
5. หน้าที่ของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 
1. ผลิตรายงานในรูปแบบที่กาหนดและรูปแบบมาตรฐาน เช่น รายงานตามตารางเวลา สาหรับควบคุมสินค้าคงคลัง อาจจะประกอบด้วยสารสนเทศ 
ชนิดเดียวกัน อยู่ในตาแหน่งเดียวกันในรายงานเนื่องจากผู้จัดการคนละคน อาจใช้รายงงานเดียวกันเพื่อจุดประสงค์ที่แตกต่างกันได้ 
2.ผลิตรายงานในรูปแบบของเอกสาร หรืไฟล์อิเล็กทรอนิกส์ รายงานบางรายงานสามารถถูกพิมพ์ ลงบนกระดาษ เรียกว่าเป็นรายงานฉบับตัวจริง 
(HARD-COPY) ส่วนรายงานที่อยู่ในรูปเสมือนจริง (SOFT-COPY) มักจะแสดงผลผ่านทางหน้าจอคอมพิวเตอร์ โดยผู้จัดการสามารถ 
เรียกรายงานที่ต้องการขึน้มาแสดงบนหน้าจอ โดยตรงได้ แต่รายงานนัน้ยังคงปรากฎในแบบมาตรฐานเหมือนรายงานที่พิมพ์ออกมาจริง ๆ 
3. ใช้ข้อมูลภายในที่เก็บอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ รายงานในระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการใช้แหล่งข้อมูลภายในที่อยู่ในฐานข้อมูลคอมพิวเตอร์ และ 
บางระบบใช้แหล่งข้อมูลภายนอกเกี่ยวกับคู่แข่งโลกธุรกิจฯลฯแหล่งข้อมูลภายนอกที่นิยมใช้ได้แก่ แหล่งข้อมูลในอินเทอร์เน็ต 
4. ช่วยให้ผู้ใช้สามารถสร้างรายงานในรูปแบบที่ต้องการได้ ในขณะที่นักวเิคราะห์และนักเขียนโปรแกรม ทาการพัฒนา และ การใช้รายงานที่ซับซ้อนซึ่ง 
ต้องการใช้ข้อมูลจากหลาย ๆ แหล่ง ได้ผู้ใช้ทวั่ไปก็สามารถพัฒนาโปรแกรมอย่างง่ายในการค้นหาข้อมูลที่ต้องการ และ ผลิตออกมาเป็นรายงานได้ด้วย 
เองเช่นกัน 
5. ต้องการการร้องขออย่างเป็นทางการจากผู้ใช้ เมื่อฝ่ายสารสนเทศส่วนบุคคลต้องการพัฒนาและนารายงานไปใช้จริง จาเป็นจะต้องมีการร้องขออย่าง 
เป็นทางการ ไปยังแผนระบบสารสนเทศก่อนส่วนรายงานที่ผู้ใช้ทวั่ไปพัฒนาขึน้เอง ไมจ่าเป็นต้องมีการร้องขออย่างเป็นทางการ
6. วิวัฒนาการของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการในระยะเริ่มแรกนัน้ ได้มีการเสนอว่าน่าจะเป็นระบบรวมพียงระบบเดียว โดยการ 
รวมเอาการดาเนินงานตามหน้าที่ต่างๆ ภายในองค์กรเข้าไว้ด้วยกัน 
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ มีวิวัฒนาการต่อไปเรื่อยๆ นอกเหนือจากระบบสารสนเทศซึ่งมีความ เกี่ยวพันกับ 
การประมวลผลข้อมูล และยังเกี่ยวพันกับระบบสารสนเทศอื่นๆ อีก 2 ระบบ ที่จัดว่าเป็นส่วนเพิ่มเติม จากระบบสารสนเทศเพื่อ 
การจัดการ คือ ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (DECISION SUPPORT SYSTEM: DSS) และ การจัดการ 
ทรัพยากรสารสนเทศ (INFORMATION RESOURCES MANAGEMENT: IRM) นอกจากนัน้ยังมี 
แนวโน้มที่ต้องพัฒนาต่อไปอีกเป็นการประมวลผลโดยผู้ใช้ (END-USER COM-PUTTING) วิวัฒนาการของ 
ระบบสารสนเทศ เพื่อการจัดการประกอบด้วยระบบต่างๆ ที่มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องดังนี้
6. วิวัฒนาการของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 
1 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดกับการประมวลข้อมูล 
(MIS VERSUS DATA PROCESSING) ระบบการประมวลผลข้อมูลจะเป็นการประมวลผล 
รายการ (TRANSACTION) และ ออกผลรายงาน นอกจากนั้นแสดงถึงกระบวนการขั้นพื้นฐานเพื่อสนับสนุนการ 
ดา เนินงานการประมวลผลข้อมูลในยุคก่อนหน้าที่จะมีเครื่องคอมพิวเตอร์ใช้นั้นเป็นการกระทา ด้วยมือ หรือเครื่องประมวลผล 
แบบธรรมดา ส่วนระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการจะรวมเอางานปฏิบัติงานเข้าไว้ด้วยกัน เพื่อที่จะสนับสนุนหน้าที่ต่าง ๆ ของ 
องค์กรได้กว้างขาวงขึ้น และยังรวมอาการประมวลผลรายการเข้าเป็นหน้าหนึ่งของระบบด้วย 
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการที่แตกต่างจากการประมวลผลข้อมูลประจา ซึ่งอาจจะกล่าวได้ว่าเป็น ประเด็นสา คัญ 
ก็คือ ความสามารถในเรื่องการช่วยวิเคราะห์การวางแผน และ การสนับสนุนการตัดสินใจในระบบ สารสนเทศเพื่อการจัดการ 
นั้น ผู้ใช้สามารถดา เนินการได้โดยใช้ตัวแบบการตัดสินใจในระบบสารสนเทศเพื่อการนั้น ผู้ใช้สามารถดา เนินการได้โดยใช้ตัว 
แบบการตันสิน
6. วิวัฒนาการของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 
2. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการกับระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (MIS AND DECISION SUPPORT 
SYSTEM) ระบบช่วยการสนับสนุนการตัดสินใจ เป็นระบบสารสนเทศที่ช่วยในการตัดสินใจส่วนมาก มักจะเกี่ยวกับเรื่อง 
การวางแผนการวิเคราะห์ข้อเสนอ และ การหาคาตอบโดยวิธีการลองผิดในทางปฏิบัติโดยทั่วๆ ไป แล้วจะเป็นการโต้ตอบ 
ระหว่างผู้ใช้กับเครื่อง
6. วิวัฒนาการของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 
3. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการกับการจัดการทรัพยากรสารสนเทศ (MIS AND INFORMATION 
RESOURCE MANAGEMENT) การจัดการทรัพยากรสารสนเทศ (INFORMATION 
RESOURCE MANAGEMENT: IRM) เป็นวิธีการการจัดจัดการที่อาศัยแนวคิดที่ว่า สารสนเทศนั้นคือ 
ทรัพยากรขององค์การหรืออาจกล่าวได้ว่า IRM เป็นงานของนักบริหารระบบสารสนเทศ การจัดการทรัพยากรนั้นหมายถึง 
การรวมถึงการสื่อสารข้อมูล (DATA COMMUNICATION) การประมวลผลคา (WORD 
PROCESSING) และคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (PERSONAL COMMUNICATION) IRM มีแนวโน้ม 
ที่จะเน้นประสิทธิภาพของทรัพยากรสารสนเทศในระบบขององค์กรมากกว่าด้านประสิทธิภาพของฮาร์ดแวร์ หรือซอฟต์แวร์ 
IRM พยายามที่จะประยุกต์วิธีการจัดการทั่ว ๆ ไปกับสารสนเทศ
6. วิวัฒนาการของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 
4. การประมวลผลโดยผู้ใช้ (END-USER COMPUTING) 
จากการพัฒนาการประมวลผลของผู้ใช้ครั้งใหญ่ที่ผ่านมามีผลกระทบต่อโครงสร้างและออกแบบ MIS คือ ผู้ใช้มี 
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ซอฟต์แวร์ที่มีประสิทธิภาพในการประมวลผลคา ตัวแบบที่มีการพัฒนา และ การประมวลผล 
สารสนเทศโดยตรง 
การประมวลผลโดยผู้ใช้ แบ่งเป็น 2 ชนิด คือ 
1. เกี่ยวกับระบบการปฏิบัติงานในองค์กรโดยใช้ซอฟต์แวร์ทั่วไปและกระดาษทา การอิเล็กทรอนิกส์() 
2. เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจ() ที่ต้องใช้ข้อมูลจากระบบปฏิบัติงาน อาจจะมีผู้ใช้บางคนพยายาม สร้างDSS ขึ้นมาเอง เช่น 
ผู้บริหารอาจจะสร้าง DSS โดยใช้โปรแกรม EXCEL
7. ข้อคิดในการสร้างระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 
1. การนาข้อมูลเข้าสู่ระบบจะต้องมีการจัดเก็บข้อมูลที่ดี แหล่งที่มาของข้อมูลต้องเชื่อถือได้ 
2. ความถูกต้องของข้อมูล จะต้องมีการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลเพื่อนาของข้อมูลที่ตรวจสอบแล้ว มาสร้างเป็นระบบ 
ฐานข้อมูลที่เชื่อถือได้ฐานข้อมูลเปรียบเสมือนหัวใจสาคัญของ MIS 
3. การสร้างระบบการเรียกค้นข้อมูลที่ดีในการเรียกค้นข้อมูลจะต้องสะดวกรวดเร็วเรียกค้นง่าย 
4. ระบบความปลอดภัยของข้อมูล จะต้องมีระบบความปลอดภัยในการจัดการเก็บข้อมูล ข้อมูลบางอย่าง ผู้บริหารอาจไม่ต้อง 
กรเปิดเผย 
5. ข้อมูลที่นาเข้าสู่ระบบ จะต้องเป็นข้อมูลที่ได้รับการปรับปรุงให้ทันสมัยอยู่เสมอ
8. ประโยชน์ของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 
ปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศได้รับความสนใจนามาใช้ในหลาย MIS สร้างประโยชน์ต่อการดา เนินงานขององค์กรได้ดังนี้ 
1. ช่วยให้ผู้ใช้สามารถเข้าถึงสารสนเทศที่ต้องการ ได้อย่างรวดเร็วและทันต่อเหตุการณ์เนื่องจากข้อมูลที่ จัดเก็บ และ 
บริหารอย่างเป็นระบบทา ให้ผู้บริหารสามารถจะเข้าถึงข้อมูลได้อย่างรวดเร็วในรูปแบบ ที่เหมาะสม และ สามารถนา ข้อมูลมาใช้ 
ประโยชน์ตามความต้องการ 
2. ช่วยผู้ใช้ในการกาหนดเป้าหมายกลยุทธ์ และ การวางแผนปฏิบัติการ โดยผู้บริหารจะสามารถนาข้อมูลที่ได้จาก 
ระบบสารสนเทศมาช่วยในการวางแผน และกาหนดเป้าหมายในการดาเนินงานเนื่องจากสารสนเทศถูกเก็บรวบรวมอย่างเป็น 
ระบบ ทา ให้ประวัติของข้อมูลอย่างต่อเนื่อง 
3. ช่วยผู้ใช้ในการตรวจสอบผลการดา เนินงาน เมื่อแผนงานถูกนา ไปปฏิบัติในช่วงระยะเวลาหนึ่ง ผู้ควบคุม จะต้อง 
ตรวจสอบผลการดาเนินงาน โดยนาข้อมูลบางส่วนมาประมวลผลเพื่อประกอบการประเมิน สารสนเทศ ที่ได้จะแสดงผลการ 
ดา เนินงานว่าสอดคล้องกับเป้าหมายที่ต้องการเพียงไร
8. ประโยชน์ของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 
4. ช่วยผู้ใช้ในการศึกษาและสาเหตุของปัญหา ผู้บริหารสามารถใช้ระบบสารสนเทศ ประกอบการศึกษา และ การค้นหาสาเหตุ 
หรือข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นในการดา เนินงานถ้าการดา เนินงานไม่เป็นไปตามแผนที่วางเอาไว้โดยอาจจะเรียกข้อมูลเพิ่มเติมออกมา 
จากระบบ เพื่อให้ทราบความผิดพลาดในการปฏิบัติงาน เกิดขึ้นจากสาเหตุใด หรือจัดรูปแบบในการวิเคราะห์ปัญหาใหม่ 
5. ช่วยให้ผู้ใช้สามารถวิเคราะห์ปัญหาหรืออุปสรรคที่เกิดขึ้นเพื่อหาวิธีการควบคุม ปรับปรุงและแก้ไขปัญหา สารสนเทศที่ได้ 
จากการประมวลผลจะช่วยให้ผู้บริหารวิเคราะห์การดา เนินการในแต่ละทางเลือกจะช่วยแก้ไขหรือควบคุมปัญหาที่เกิดขึ้นได้ 
อย่างไร ธุรกิจต้องทา อย่างไรเพื่อปรับเปลี่ยนหรือพัฒนาให้การดา เนินงาน เป็นไปตามแผนงานหรือเป้าหมาย 
6. ช่วยลดค่าใช้จ่าย ระบบสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพช่วยให้ธุรกิจประหยัดแรงงาน และค่าใช้จ่ายในการทา งาน เนื่องจากระบบ 
สารสนเทศสามารถรับภาระงาน ที่ต้องใช้แรงงานจา นวนมากตลอดจนลดขั้นตอน ในการทา งาน ส่งผลให้ธุรกิจสามารถลด 
จา นวนคนและระยะเวลาในการประสานงานให้น้อยลงโดยผลงานที่ออกมาเท่าเดิมหรือดีว่าเดิม ซึ่งจะเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพ 
และศักยภาพในการแข่งขันทางธุรกิจ
9. ปัญหาในการสร้างระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 
ในการสร้างระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ ส่วนที่มักจะทา ให้การดา เนินงานไม่ประสบผลสา เร็จคือ 
1. MIS ต้องอาศัยความร่วมมือจากระบบงานย่อย () หลาย ๆระบบในการประมวลผลข้อมูล เพื่อให้ได้สารสนเทศที่ต้องการถ้า 
ไม่ได้รับความร่วมมือ จะทา ให้ได้รับสารสนเทศที่อาจไม่มีประโยชน์เท่าที่ควร 
2. MIS ควรมีฐานข้อมูลร่วมกันแต่ในทางปฏิบัติหน่วยงานส่วนใหญ่ยังไม่ได้รับบานข้อมูลร่วมกัน 
3. ผู้บริหารขาดความรู้ในเรื่องระบบสารสนเทศ ทา ให้ไม่สามารถบอกได้ว่าต้องการสารสนเทศแบบใด 
4. การสร้าง MIS เป็นระบบใหญ่และมีโครงสร้างซับซ้อน ต้องอาศัยผู้สร้างระบบที่มีทักษะและความชา นาญ ดังนั้นการสร้าง 
MIS ให้เป็นระบบที่สมบูรณ์และปราศจากความบกพร่องนั้นสร้างค่อนข้างยาก
10. แนวโน้มของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 
1. ผู้ใช้MIS มีความรู้มากขึ้น ในแต่ละปีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบสารสนเทศของผู้ใช้เพิ่มขึ้นมาก ปัจจุบันในระบบ 
อุดมศึกษาผลิตคนมีความรู้ด้านระบบสารสนเทศมากมาย และสาขานี้ ก็มีความสนใจเรียนมากขึ้น อย่างไม่เคยปรากฏมาก่อน 
2. ประสิทธิภาพในการประมวลผลมีมากขึ้นซึ่งเป็นประโยชน์แก่ผู้ใช้ ในปัจจุบันนวัตกรรมทางด้านเทคโนโลยีมีความสามารถ 
มากขึ้น ผู้ใช้สามารถเข้าถึงข้อมูล โดยตรง และ ทา การควบคุม ได้ด้วยตนเองปัจจุบัน 
3. มีแนวโน้มในการใช้ระบบคอมพิวเตอร์มาเชื่อมต่ออุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ต่าง ๆ ซอฟต์แวร์และฐานข้อมูลมีการพัฒนาทางด้าน 
ธุรกิจ เราสามารถใช้ ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ และฐานข้อมูลในการออกแบบผลิตภัณฑ์ในอนาคต เพื่อว่าผู้ใช้จะสามารถทา การ 
ติดต่อจาก คอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งไปยังอีกเครื่องหนึ่งได้โดยง่าย 
4. MIS กลายเป็นวิธีหนึ่งที่ใช้ในการเพิ่มผลผลิต ในด้านธุรกิจ เช่น ความต้องการปรับปรังผลผลิตผู้บริหาร อาจถามว่า เราจะ 
ใช้คอมพิวเตอร์ในการปรับปรุงผลผลิตได้อย่างไร หรือคา ถามที่มักถูกถามจากระบบต่าง ๆ เช่น วิศวกร นักบัญชี และบุคคลอื่นๆ 
มักจะถามว่า คอมพิวเตอร์สามารถทา อะไรเพื่อช่วยสร้างความยิ่งใหญ่ให้องค์กร ของฉัน
10. แนวโน้มของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 
5. องค์กรหลายๆ องค์กรได้ใช้ MIS ในยุทธวิธีที่ใช้ในการแข่งขัน องค์กรต่างๆ ที่ประสบความสาเร็จจะใช้MIS สร้าง 
ประโยชน์ในการแข่งขัน 
6. MIS กลายเป็นส่วนสาคัญในกระบวนการตัดสินใจ ในอดีตที่ผ่านมาจนถึงปัจจุบันคอมพิวเตอร์ถูกใช้เป็นเครื่องมือพื้นฐาน 
สาหรับผู้บริหาร ในการประมวลผลรายการ แต่แนวโน้ม ในปัจจุบันได้ใช้ความสามารถของ คอมพิวเตอร์ในการจัดเตรียม 
สารสนเทศเพื่อสนับสนุนกระบวนการตัดสินใจ 
7. ผู้ใช้ได้เริ่มโน้มกิจกรรมของ MIS ในยุคของการทรัพยากรสารสนเทศ ผู้ใช้และผู้ให้บริการ สารสนเทศ ได้กลายเป็นผู้ที่มี 
ส่วนในการค้นหา สารสนเทศที่มีคุณภาพมากขึ้น แนวโน้มในการสนับสนุนหลักฐาน ที่ว่าอนาคต MIS อยู่ในมือของผู้ใช้ 
ผู้บริหารระดับสูงจะสนับสนุนผู้ใช้ให้มีส่วนเกี่ยวข้องในการพัฒนาระบบสารสนเทศ เป็นทีม ในปัจจุบันมีการนาเอาเครื่อง 
คอมพิวเตอร์มาต่อพ่วงกับอุปการนา ระบบมัลติมีเดียเข้ามาช่วยนี้ กล่าวได้ว่าเป็น เครื่องมือสา คัญของ MIS

More Related Content

What's hot

ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
Manas Panjai
 
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่ายระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
Sassygirl Sassyboy
 
ระบบจัดทำรายงานเพื่อการจัดการ Mrs
ระบบจัดทำรายงานเพื่อการจัดการ Mrs ระบบจัดทำรายงานเพื่อการจัดการ Mrs
ระบบจัดทำรายงานเพื่อการจัดการ Mrs
Min Kannita
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศsiriyapa
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศnprave
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศTheerapat Nilchot
 
ระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MIS
ระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MISระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MIS
ระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MIS
siriporn pongvinyoo
 
Dss pp
Dss ppDss pp
หน่วยที่1
หน่วยที่1หน่วยที่1
หน่วยที่1
Sangduan12345
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศyanika12
 
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศบทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศPrakaywan Tumsangwan
 
38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศTippathai Infinity
 

What's hot (14)

ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่ายระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
 
ระบบจัดทำรายงานเพื่อการจัดการ Mrs
ระบบจัดทำรายงานเพื่อการจัดการ Mrs ระบบจัดทำรายงานเพื่อการจัดการ Mrs
ระบบจัดทำรายงานเพื่อการจัดการ Mrs
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
ระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MIS
ระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MISระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MIS
ระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MIS
 
Dss pp
Dss ppDss pp
Dss pp
 
หน่วยที่1
หน่วยที่1หน่วยที่1
หน่วยที่1
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศบทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
 
หน่วยที่2
หน่วยที่2หน่วยที่2
หน่วยที่2
 
38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ
 
Mis 1
Mis 1Mis 1
Mis 1
 

Viewers also liked

Mind mapping
Mind mappingMind mapping
Mind mapping
Weerachai Jansook
 
Slide ProceedingNccit 2014-69
Slide ProceedingNccit 2014-69Slide ProceedingNccit 2014-69
Slide ProceedingNccit 2014-69
D2U2020
 
ระบบ (System)
ระบบ (System)ระบบ (System)
ระบบ (System)
tumetr
 

Viewers also liked (6)

Mind mapping
Mind mappingMind mapping
Mind mapping
 
Slide ProceedingNccit 2014-69
Slide ProceedingNccit 2014-69Slide ProceedingNccit 2014-69
Slide ProceedingNccit 2014-69
 
ระบบ (System)
ระบบ (System)ระบบ (System)
ระบบ (System)
 
Data Mining
Data MiningData Mining
Data Mining
 
Moodle
MoodleMoodle
Moodle
 
Weka dataprepocessing
Weka dataprepocessingWeka dataprepocessing
Weka dataprepocessing
 

Similar to บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ

บทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศ
Wanphen Wirojcharoenwong
 
Chapter 2 information in the organization
Chapter 2 information in the organizationChapter 2 information in the organization
Chapter 2 information in the organizationPa'rig Prig
 
Chapter 2 information in the organization
Chapter 2 information in the organizationChapter 2 information in the organization
Chapter 2 information in the organizationPa'rig Prig
 
Chapter 2 information in the organization
Chapter 2 information in the organizationChapter 2 information in the organization
Chapter 2 information in the organizationPa'rig Prig
 
Mi sch5
Mi sch5Mi sch5
Chapter3 typeof informationsystem
Chapter3 typeof informationsystemChapter3 typeof informationsystem
Chapter3 typeof informationsystemthanapat yeekhaday
 
อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25
อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25
อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25อรนุช พรฤทธา
 
อรณี มารดาวงค์
อรณี  มารดาวงค์ อรณี  มารดาวงค์
อรณี มารดาวงค์ orathai
 
บทที่ 2 การจัดการข้อมูล
บทที่ 2 การจัดการข้อมูลบทที่ 2 การจัดการข้อมูล
บทที่ 2 การจัดการข้อมูล
Wanphen Wirojcharoenwong
 
Mi sch4
Mi sch4Mi sch4
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศTheerapat Nilchot
 
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่ายระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
Sassygirl Sassyboy
 
บทที่ 1 สารสนเทศเบื้องต้น เทคโนโลยีสารสนเทศประเภทต่าง ๆ
บทที่ 1 สารสนเทศเบื้องต้น เทคโนโลยีสารสนเทศประเภทต่าง ๆบทที่ 1 สารสนเทศเบื้องต้น เทคโนโลยีสารสนเทศประเภทต่าง ๆ
บทที่ 1 สารสนเทศเบื้องต้น เทคโนโลยีสารสนเทศประเภทต่าง ๆ
pattanan sabumoung
 
38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศTippathai Infinity
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
Petch Boonyakorn
 
Chapter 01
Chapter 01Chapter 01
Chapter 01
Komsun See
 
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
Thanaporn Pengsri
 

Similar to บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (20)

บทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Chapter 2 information in the organization
Chapter 2 information in the organizationChapter 2 information in the organization
Chapter 2 information in the organization
 
Chapter 2 information in the organization
Chapter 2 information in the organizationChapter 2 information in the organization
Chapter 2 information in the organization
 
Chapter 2 information in the organization
Chapter 2 information in the organizationChapter 2 information in the organization
Chapter 2 information in the organization
 
Mi sch5
Mi sch5Mi sch5
Mi sch5
 
Chapter3 typeof informationsystem
Chapter3 typeof informationsystemChapter3 typeof informationsystem
Chapter3 typeof informationsystem
 
56456456
5645645656456456
56456456
 
อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25
อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25
อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25
 
ณัฐชา ม.201 เลขที่20
ณัฐชา ม.201 เลขที่20ณัฐชา ม.201 เลขที่20
ณัฐชา ม.201 เลขที่20
 
วรกานต์ ต๋าตุ๋น
วรกานต์ ต๋าตุ๋น วรกานต์ ต๋าตุ๋น
วรกานต์ ต๋าตุ๋น
 
อรณี มารดาวงค์
อรณี  มารดาวงค์ อรณี  มารดาวงค์
อรณี มารดาวงค์
 
บทที่ 2 การจัดการข้อมูล
บทที่ 2 การจัดการข้อมูลบทที่ 2 การจัดการข้อมูล
บทที่ 2 การจัดการข้อมูล
 
Mi sch4
Mi sch4Mi sch4
Mi sch4
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่ายระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
 
บทที่ 1 สารสนเทศเบื้องต้น เทคโนโลยีสารสนเทศประเภทต่าง ๆ
บทที่ 1 สารสนเทศเบื้องต้น เทคโนโลยีสารสนเทศประเภทต่าง ๆบทที่ 1 สารสนเทศเบื้องต้น เทคโนโลยีสารสนเทศประเภทต่าง ๆ
บทที่ 1 สารสนเทศเบื้องต้น เทคโนโลยีสารสนเทศประเภทต่าง ๆ
 
38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
Chapter 01
Chapter 01Chapter 01
Chapter 01
 
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
 

บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ

  • 2. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 1. ความหมายของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 2. ส่วนประกอบของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 3. คุณสมบัติของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 4. ลักษณะของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการที่ดี 5. หน้าที่ของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 6. วิวัฒนาการของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 7. ข้อคิดในการสร้างระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 8. ประโยชน์ของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 9. ปัญหาในการสร้างระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 10.แนวโน้มของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
  • 3. 1. ความหมายของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (MANAGEMENT INFORMATION SYSTEM : MIS) หมายถึง ระบบที่รวบรวมและจัดเก็บข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่างๆ ทั้งภายใน และ ภายนอกองค์กรอย่างมีหลักเกณฑ์เพื่อ นา มาประมวลผล และ จัดรูปแบบให้ได้สารสนเทศที่ช่วยสนับสนุนการทา งาน และการตัดสินใจเห็นว่า MIS จะประกอบไปด้วย ที่หลัก 2 ประการ คือ 1. สามารถเก็บรวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอกองค์กรมาไว้ด้วยกันอย่างเป็นระบบ 2. สามารถทา การประมวลผลข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพเพื่อให้ได้สารสนเทศที่ช่วยสนับสนุนการปฏิบัติงานและการ บริหารงานของผู้บริหาร
  • 4. 2. ส่วนประกอบของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ ในอดีตสารสนเทศยังไม่ได้รับการยอมรับว่าเป็นทรัพยากรที่สา คัญทางธุรกิจเช่นปัจจุบันผู้จัดการไม่ จาเป็นต้องเข้าใจกระบวนการรวบรวม จัดเก็บประมวลผล และ การบริหารสารสนเทศขององค์กรหรือต้อง รู้จักเทคโนโลยีการจัดการสารสนเทศ ปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศมีบทบาทสาคัญต่อการดา เนินงานทั้ง ระดับ องค์กร และ อุตสาหกรรม ธุรกิจต้องการระบบสารสนเทศที่มีอยู่อย่างมีประสิทธิภาพเพื่อการดา รงอยู่ และ เจริญก้าวหน้าขององค์กร โดยที่เทคโนโลยีมีส่วนช่วยธุรกิจให้ประสบความสาเร็จในอนาคต และ สามารถแข่งขันกับธุรกิจอื่นในระดับสากล ดังนั้น MIS สามารถรวบรวม แ ละสรุปข้อมูลที่มี รายละเอียด ต่าง ๆ เพื่อสร้าง สารสนเทศ ให้กับผู้บริหารไม่ว่าจะเป็นการสรุปผล การวิเคราะห์การวางแผน เป็นต้น การที่ ระบบสารสนเทศจะมี ความสามารถดังกล่าว จะต้องมีองค์ประกอบ 3 ประการดังต่อไปนี้
  • 5. 2 ส่วนประกอบของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 1. เครื่องมือในการสร้างระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ หมายถึงส่วนประกอบ หรือโครงสร้างพื้นบานที่รวมกันเข้าเป็น MIS และช่วยให้ระบบสารสนเทศสามารถดา เนินงาน ได้อย่างมีประสิทธิภาพโดยเรา จา แนกเครื่องมือออกเป็น 2 ส่วน ไดแก่ 1.1 ฐานข้อมูล (DATABASE) คือ การเก็บรวบรวมข้อมูลที่จาเป็นไว้ ณ ศูนย์กลาง และ สามารถนามาใช้ในงานเมื่อมีความ ต้องการได้ ข้อมูลเป็นหัวใจสาคัญของ MIS 1.2 เครื่องมือ (TOOL) เป็นเครื่องมือที่ใช้จัดเก็บ และ ประมวลข้อมูล ปกติระบบสารสนเทศจะใช้เครื่องคอมพิวเตอร์เป็น อุปกรณ์หลักในการจัดการข้อมูลซึ่งประกอบด้วยส่วนประกอบสา คัญคือ อุปกรณ์ ( HARDWARE) ตัวเครื่องหรือส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ รวมทั้งอุปกรณ์ระบบเครือข่าย คอมพิวเตอร์ที่ช่วยการประมวล และ จัดการข้อมูล มีความสะดวกรวดเร็วและถูกต้อง ชุดคา สั่ง(SOFTWARE) คือ ชุดคา สั่งที่ทา หน้ารวบรวมและจัดการเก็บข้อมูลเพื่อใช้ประกอบการตัดสินใจหรือ การบริหารงาน
  • 6. 2. ส่วนประกอบของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 2. วิธีการหรือขั้นตอนการประมวลผลข้อมูล ปัจจุบันธุรกิจต้องสามรถสังเคราะห์สารสนเทศที่เหมาะสมกับการใช้งานโดย จัดลาดับ และ วิธีการประมลผลข้อมูลเพื่อให้ได้สารสนเทศที่ต้องการลาดับของประมวลข้อมูลภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อ สร้างสารสนเทศที่ต้องการ ลักษณะที่สา คัญของวิธีการหรือขั้นตอน การประมวลผล ข้อมูล คือ 2.1 ทา การประมวลผลข้อมูลทั่วไป 2.2 ใช้ข้อมูลที่มีรายละเอียดมาก 2.3 ระยะเวลาในการใช้ข้อมูลเป็นระยะสั้นส่วนมากใช้กับการปฏิบัติงานประจา วัน 2.4 ระบบการทา งานของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้มักเป็นระบบออนไลน์ (ON-LINE PROCESSING) ซึ่งเป็นวิธีการประมวลผลที่รับข้อมูลเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์แล้ว ทา การประมวลผลทันทีโดยไม่มีการเก็บรอ หรือ สะสมข้อมูล ไว้ก่อน
  • 7. 2 ส่วนประกอบของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 3. การแสดงผลลัพธ์ ปกติผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลของระบบสารสนเทศจะอยู่ในรูปของรายงาน ต่าง ๆ ที่สามารถเรียกมา แสดงได้อย่างรวดเร็วและชัดเจนมักอยู่ในรูปของรายงานแบบต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นในรูปของ ตารางหรือการแสดงโดยใช้กราฟ เช่น กราฟเส้น กราฟแท่ง กราฟวงกลม เป็นต้น 3.1 รายงานตามตารางเวลา (SCHEDULES REPORTS 3.2 รายงานแสดงส่วนประกอบสาคัญ (KEY INDICATOR REPORTS) 3.3 รายงานตามคา ขอ (DEMAND REPORTS) 3.4 รายงานกรณียกเว้น (EXCEPTION REPORTS 3.5 รายงานแบบเจาะลึกรายละเอียด (DRILL DOWN REPORT)
  • 8. 3. คุณสมบัติของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ โดยการพัฒนาระบบสารสนเทศต้องคานึงคุณสมบัติของ MIS ดังต่อไปนี้ 1. ความสามารถในการจัดการข้อมูล (DATA MANIPULATION) ระบบสารสนเทศที่ดีต้องสามารถ ปรับปรุงแก้ไขจัดการบานข้อมูลเพื่อให้เป็นสารสนเทศที่พร้อมสาหรับนาไปใช้งานอย่างมีประสิทธิภาพปกติข้อมูลต่าง ๆ ที่ เกี่ยวข้องกับการดาเนินธุรกิจจะมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ข้อมูลที่ถูกป้อนเข้าสู่ MIS ควรที่จะได้รับการปรับปรุง และ พัฒนาในรูปแบบเพื่อให้มีความทันสมัย และ เหมาะกับการใช้งานอยู่เสมอ 2. ความปลอดภัยของข้อมูล (DATA SECURITY) สารสนเทศเป็นทรัพยากรที่สาคัญที่สุดปัจจัยหนึ่งของ องค์กร ถ้าสารสนเทศบางตัวรั่วไหลออกไปสู่สังคมภายนอก โยเฉพาะคู่แข่งขัน อาจทาให้เกิดการเสียโอกาส ทางการแข่งขัน หรือสร้างความเสียหายแก่ธุรกิจ นอกจากนีค้วามสูญเสียที่เกิดขึน้จากความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ หรือ การก่อการร้ายต่อระบบจะมี ผล โดยตรงต่อประสิทธิภาพความอยู่รอดขององค์กร ดังนัน้ผู้บริหารหรือเจ้าของระบบจะไม่ยอมให้ผู้ไม่เกี่ยวข้องหรือไม่มีหน้าที่ โดยตรงเกี่ยวกับการจัดการข้อมูลเข้าถึงฐานข้อมูลที่สาคัญของธุรกิจได้
  • 9. 3 คุณสมบัติของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 3. ความยืดหยุ่น (FLEXIBILITY) สภาพแวดล้อมในการดาเนินธุรกิจ หรือสถานการณ์ที่แข่งขันทางการค้าที่เปลี่ยนแปลง อย่างรวดเร็ว ส่งผลให้ระบบสารสนเทศที่ดีต้องมีความสามารถในการปรับตัวเพื่อให้สอด คล้องกับการใช้งานหรือปัญหาที่ เกิดขึ้น โดยที่ระบบสารสนเทศที่ถูกสร้างหรือถูกพัฒนาขึ้นต้องสามารถตอบสนองความ ต้องการของผู้บริหาร ได้อยู่เสมอ โดยมี อายุใช้งาน การบา รุงรักษาและค่าใช้จ่ายที่เหมาะสม 4. ความพอใจของผู้ใช้ (USER SATISFACTION) ปกติ MIS ถูกพัฒนาขึ้นโดยมีความมุ่งหวังให้ผู้ใช้สามารถนา มา ประยุกต์ในงานหรือเพิ่มประสิทธิภาพในการทา งาน ดังนั้นระบบสารสนเทศที่ดีจะต้องกระตุ้นหรือ โน้มน้าวผู้ใช้หันมาใช้ระบบ ให้มากขึ้นเนื่องจากการพัฒนาระบบจะต้องใช้เงินลงทุนสูงจึงต้องใช้งานให้คุ้มค่า ดังนั้นระบบธุรกิจสมควรที่จะพัฒนาระบบให้ ตรงกับความต้องการของผู้ใช้และทาให้ผู้ใช้เกิดความพอใจต่อระบบเพราะถ้าระบบไม่สามารถให้สิ่งที่ผู้ใช้ต้องการ โอกาสที่ ระบบจะถูกใช้งาน และ ได้รับความนิยมก็จะน้อยลงซึ่งส่งผลให้ระบบสารสนเทศไม่สามารถช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการ ดา เนินงานได้ตามคาดหวัง และเป็นผลให้เกิดการสูญเสียหรือไม่คุ้มค่าในการลงทุน
  • 10. 4. ลักษณะของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการที่ดี 1. MIS ถูกนาไปใช้การตัดสินใจของผู้บริหารทุกระดับ ช่วยให้บริหารสามารถเรียกค้นข้อมูลได้รวดเร็ว 2. MIS เป็นระบบงานซึ่งผสมผสานข้อมูลจากหลาย ๆ แหล่งหรือระบบย่อยหลาย ๆ ระบบที่มีความสัมพันธ์กัน 3. การพัฒนาระบบสารสนเทศ จะเริ่มจากความต้องการ และ ความเห็นชอบของผู้บริหาร เพื่อจัดเตรียมสารสนเทศให้แก่ ผู้บริหาร ช่วยในการตัดสินใจ และ บรรลุจุดมุ่งหมายโดยรวมองค์กร 4. MIS จะใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วย เนื่องจากข้อมูลในองค์กรหนึ่ง ๆ มีเป็นจานวนมาก และ มีความ 5. สารสนเทศนัน้จะถือว่าเป็นทรัพยากรที่สาคัญอีกอย่างหนงึ่ จุดมุ่งหมายของ MIS คือ จัดทาสารสนเทศที่เป็นประโยชน์แก่ องค์กรเพื่อใช้ควบคุมการทางานและการจัดการขององค์กร 6. ทาการจัดเก็บข้อมูล สร้างเป็นฐานข้อมูลเก็บไว้ซงึ่ฐานข้อมูลนีเ้ป็นการรวบรวม วัตถุประสงค์คือต้องการจะหลีกเลี่ยงความ ซับซ้อนของการเก็บข้อมูล 7. การมีส่วนร่วมของผู้ใช้ MIS จะไม่ประสบความสาเร็จถ้าปราศจากความร่วมมือ และความพอใจ ของผู้ใช้งาน
  • 11. 5. หน้าที่ของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 1. ผลิตรายงานในรูปแบบที่กาหนดและรูปแบบมาตรฐาน เช่น รายงานตามตารางเวลา สาหรับควบคุมสินค้าคงคลัง อาจจะประกอบด้วยสารสนเทศ ชนิดเดียวกัน อยู่ในตาแหน่งเดียวกันในรายงานเนื่องจากผู้จัดการคนละคน อาจใช้รายงงานเดียวกันเพื่อจุดประสงค์ที่แตกต่างกันได้ 2.ผลิตรายงานในรูปแบบของเอกสาร หรืไฟล์อิเล็กทรอนิกส์ รายงานบางรายงานสามารถถูกพิมพ์ ลงบนกระดาษ เรียกว่าเป็นรายงานฉบับตัวจริง (HARD-COPY) ส่วนรายงานที่อยู่ในรูปเสมือนจริง (SOFT-COPY) มักจะแสดงผลผ่านทางหน้าจอคอมพิวเตอร์ โดยผู้จัดการสามารถ เรียกรายงานที่ต้องการขึน้มาแสดงบนหน้าจอ โดยตรงได้ แต่รายงานนัน้ยังคงปรากฎในแบบมาตรฐานเหมือนรายงานที่พิมพ์ออกมาจริง ๆ 3. ใช้ข้อมูลภายในที่เก็บอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ รายงานในระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการใช้แหล่งข้อมูลภายในที่อยู่ในฐานข้อมูลคอมพิวเตอร์ และ บางระบบใช้แหล่งข้อมูลภายนอกเกี่ยวกับคู่แข่งโลกธุรกิจฯลฯแหล่งข้อมูลภายนอกที่นิยมใช้ได้แก่ แหล่งข้อมูลในอินเทอร์เน็ต 4. ช่วยให้ผู้ใช้สามารถสร้างรายงานในรูปแบบที่ต้องการได้ ในขณะที่นักวเิคราะห์และนักเขียนโปรแกรม ทาการพัฒนา และ การใช้รายงานที่ซับซ้อนซึ่ง ต้องการใช้ข้อมูลจากหลาย ๆ แหล่ง ได้ผู้ใช้ทวั่ไปก็สามารถพัฒนาโปรแกรมอย่างง่ายในการค้นหาข้อมูลที่ต้องการ และ ผลิตออกมาเป็นรายงานได้ด้วย เองเช่นกัน 5. ต้องการการร้องขออย่างเป็นทางการจากผู้ใช้ เมื่อฝ่ายสารสนเทศส่วนบุคคลต้องการพัฒนาและนารายงานไปใช้จริง จาเป็นจะต้องมีการร้องขออย่าง เป็นทางการ ไปยังแผนระบบสารสนเทศก่อนส่วนรายงานที่ผู้ใช้ทวั่ไปพัฒนาขึน้เอง ไมจ่าเป็นต้องมีการร้องขออย่างเป็นทางการ
  • 12. 6. วิวัฒนาการของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการในระยะเริ่มแรกนัน้ ได้มีการเสนอว่าน่าจะเป็นระบบรวมพียงระบบเดียว โดยการ รวมเอาการดาเนินงานตามหน้าที่ต่างๆ ภายในองค์กรเข้าไว้ด้วยกัน ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ มีวิวัฒนาการต่อไปเรื่อยๆ นอกเหนือจากระบบสารสนเทศซึ่งมีความ เกี่ยวพันกับ การประมวลผลข้อมูล และยังเกี่ยวพันกับระบบสารสนเทศอื่นๆ อีก 2 ระบบ ที่จัดว่าเป็นส่วนเพิ่มเติม จากระบบสารสนเทศเพื่อ การจัดการ คือ ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (DECISION SUPPORT SYSTEM: DSS) และ การจัดการ ทรัพยากรสารสนเทศ (INFORMATION RESOURCES MANAGEMENT: IRM) นอกจากนัน้ยังมี แนวโน้มที่ต้องพัฒนาต่อไปอีกเป็นการประมวลผลโดยผู้ใช้ (END-USER COM-PUTTING) วิวัฒนาการของ ระบบสารสนเทศ เพื่อการจัดการประกอบด้วยระบบต่างๆ ที่มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องดังนี้
  • 13. 6. วิวัฒนาการของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 1 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดกับการประมวลข้อมูล (MIS VERSUS DATA PROCESSING) ระบบการประมวลผลข้อมูลจะเป็นการประมวลผล รายการ (TRANSACTION) และ ออกผลรายงาน นอกจากนั้นแสดงถึงกระบวนการขั้นพื้นฐานเพื่อสนับสนุนการ ดา เนินงานการประมวลผลข้อมูลในยุคก่อนหน้าที่จะมีเครื่องคอมพิวเตอร์ใช้นั้นเป็นการกระทา ด้วยมือ หรือเครื่องประมวลผล แบบธรรมดา ส่วนระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการจะรวมเอางานปฏิบัติงานเข้าไว้ด้วยกัน เพื่อที่จะสนับสนุนหน้าที่ต่าง ๆ ของ องค์กรได้กว้างขาวงขึ้น และยังรวมอาการประมวลผลรายการเข้าเป็นหน้าหนึ่งของระบบด้วย ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการที่แตกต่างจากการประมวลผลข้อมูลประจา ซึ่งอาจจะกล่าวได้ว่าเป็น ประเด็นสา คัญ ก็คือ ความสามารถในเรื่องการช่วยวิเคราะห์การวางแผน และ การสนับสนุนการตัดสินใจในระบบ สารสนเทศเพื่อการจัดการ นั้น ผู้ใช้สามารถดา เนินการได้โดยใช้ตัวแบบการตัดสินใจในระบบสารสนเทศเพื่อการนั้น ผู้ใช้สามารถดา เนินการได้โดยใช้ตัว แบบการตันสิน
  • 14. 6. วิวัฒนาการของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 2. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการกับระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (MIS AND DECISION SUPPORT SYSTEM) ระบบช่วยการสนับสนุนการตัดสินใจ เป็นระบบสารสนเทศที่ช่วยในการตัดสินใจส่วนมาก มักจะเกี่ยวกับเรื่อง การวางแผนการวิเคราะห์ข้อเสนอ และ การหาคาตอบโดยวิธีการลองผิดในทางปฏิบัติโดยทั่วๆ ไป แล้วจะเป็นการโต้ตอบ ระหว่างผู้ใช้กับเครื่อง
  • 15. 6. วิวัฒนาการของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 3. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการกับการจัดการทรัพยากรสารสนเทศ (MIS AND INFORMATION RESOURCE MANAGEMENT) การจัดการทรัพยากรสารสนเทศ (INFORMATION RESOURCE MANAGEMENT: IRM) เป็นวิธีการการจัดจัดการที่อาศัยแนวคิดที่ว่า สารสนเทศนั้นคือ ทรัพยากรขององค์การหรืออาจกล่าวได้ว่า IRM เป็นงานของนักบริหารระบบสารสนเทศ การจัดการทรัพยากรนั้นหมายถึง การรวมถึงการสื่อสารข้อมูล (DATA COMMUNICATION) การประมวลผลคา (WORD PROCESSING) และคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (PERSONAL COMMUNICATION) IRM มีแนวโน้ม ที่จะเน้นประสิทธิภาพของทรัพยากรสารสนเทศในระบบขององค์กรมากกว่าด้านประสิทธิภาพของฮาร์ดแวร์ หรือซอฟต์แวร์ IRM พยายามที่จะประยุกต์วิธีการจัดการทั่ว ๆ ไปกับสารสนเทศ
  • 16. 6. วิวัฒนาการของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 4. การประมวลผลโดยผู้ใช้ (END-USER COMPUTING) จากการพัฒนาการประมวลผลของผู้ใช้ครั้งใหญ่ที่ผ่านมามีผลกระทบต่อโครงสร้างและออกแบบ MIS คือ ผู้ใช้มี อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ซอฟต์แวร์ที่มีประสิทธิภาพในการประมวลผลคา ตัวแบบที่มีการพัฒนา และ การประมวลผล สารสนเทศโดยตรง การประมวลผลโดยผู้ใช้ แบ่งเป็น 2 ชนิด คือ 1. เกี่ยวกับระบบการปฏิบัติงานในองค์กรโดยใช้ซอฟต์แวร์ทั่วไปและกระดาษทา การอิเล็กทรอนิกส์() 2. เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจ() ที่ต้องใช้ข้อมูลจากระบบปฏิบัติงาน อาจจะมีผู้ใช้บางคนพยายาม สร้างDSS ขึ้นมาเอง เช่น ผู้บริหารอาจจะสร้าง DSS โดยใช้โปรแกรม EXCEL
  • 17. 7. ข้อคิดในการสร้างระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 1. การนาข้อมูลเข้าสู่ระบบจะต้องมีการจัดเก็บข้อมูลที่ดี แหล่งที่มาของข้อมูลต้องเชื่อถือได้ 2. ความถูกต้องของข้อมูล จะต้องมีการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลเพื่อนาของข้อมูลที่ตรวจสอบแล้ว มาสร้างเป็นระบบ ฐานข้อมูลที่เชื่อถือได้ฐานข้อมูลเปรียบเสมือนหัวใจสาคัญของ MIS 3. การสร้างระบบการเรียกค้นข้อมูลที่ดีในการเรียกค้นข้อมูลจะต้องสะดวกรวดเร็วเรียกค้นง่าย 4. ระบบความปลอดภัยของข้อมูล จะต้องมีระบบความปลอดภัยในการจัดการเก็บข้อมูล ข้อมูลบางอย่าง ผู้บริหารอาจไม่ต้อง กรเปิดเผย 5. ข้อมูลที่นาเข้าสู่ระบบ จะต้องเป็นข้อมูลที่ได้รับการปรับปรุงให้ทันสมัยอยู่เสมอ
  • 18. 8. ประโยชน์ของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ ปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศได้รับความสนใจนามาใช้ในหลาย MIS สร้างประโยชน์ต่อการดา เนินงานขององค์กรได้ดังนี้ 1. ช่วยให้ผู้ใช้สามารถเข้าถึงสารสนเทศที่ต้องการ ได้อย่างรวดเร็วและทันต่อเหตุการณ์เนื่องจากข้อมูลที่ จัดเก็บ และ บริหารอย่างเป็นระบบทา ให้ผู้บริหารสามารถจะเข้าถึงข้อมูลได้อย่างรวดเร็วในรูปแบบ ที่เหมาะสม และ สามารถนา ข้อมูลมาใช้ ประโยชน์ตามความต้องการ 2. ช่วยผู้ใช้ในการกาหนดเป้าหมายกลยุทธ์ และ การวางแผนปฏิบัติการ โดยผู้บริหารจะสามารถนาข้อมูลที่ได้จาก ระบบสารสนเทศมาช่วยในการวางแผน และกาหนดเป้าหมายในการดาเนินงานเนื่องจากสารสนเทศถูกเก็บรวบรวมอย่างเป็น ระบบ ทา ให้ประวัติของข้อมูลอย่างต่อเนื่อง 3. ช่วยผู้ใช้ในการตรวจสอบผลการดา เนินงาน เมื่อแผนงานถูกนา ไปปฏิบัติในช่วงระยะเวลาหนึ่ง ผู้ควบคุม จะต้อง ตรวจสอบผลการดาเนินงาน โดยนาข้อมูลบางส่วนมาประมวลผลเพื่อประกอบการประเมิน สารสนเทศ ที่ได้จะแสดงผลการ ดา เนินงานว่าสอดคล้องกับเป้าหมายที่ต้องการเพียงไร
  • 19. 8. ประโยชน์ของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 4. ช่วยผู้ใช้ในการศึกษาและสาเหตุของปัญหา ผู้บริหารสามารถใช้ระบบสารสนเทศ ประกอบการศึกษา และ การค้นหาสาเหตุ หรือข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นในการดา เนินงานถ้าการดา เนินงานไม่เป็นไปตามแผนที่วางเอาไว้โดยอาจจะเรียกข้อมูลเพิ่มเติมออกมา จากระบบ เพื่อให้ทราบความผิดพลาดในการปฏิบัติงาน เกิดขึ้นจากสาเหตุใด หรือจัดรูปแบบในการวิเคราะห์ปัญหาใหม่ 5. ช่วยให้ผู้ใช้สามารถวิเคราะห์ปัญหาหรืออุปสรรคที่เกิดขึ้นเพื่อหาวิธีการควบคุม ปรับปรุงและแก้ไขปัญหา สารสนเทศที่ได้ จากการประมวลผลจะช่วยให้ผู้บริหารวิเคราะห์การดา เนินการในแต่ละทางเลือกจะช่วยแก้ไขหรือควบคุมปัญหาที่เกิดขึ้นได้ อย่างไร ธุรกิจต้องทา อย่างไรเพื่อปรับเปลี่ยนหรือพัฒนาให้การดา เนินงาน เป็นไปตามแผนงานหรือเป้าหมาย 6. ช่วยลดค่าใช้จ่าย ระบบสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพช่วยให้ธุรกิจประหยัดแรงงาน และค่าใช้จ่ายในการทา งาน เนื่องจากระบบ สารสนเทศสามารถรับภาระงาน ที่ต้องใช้แรงงานจา นวนมากตลอดจนลดขั้นตอน ในการทา งาน ส่งผลให้ธุรกิจสามารถลด จา นวนคนและระยะเวลาในการประสานงานให้น้อยลงโดยผลงานที่ออกมาเท่าเดิมหรือดีว่าเดิม ซึ่งจะเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพ และศักยภาพในการแข่งขันทางธุรกิจ
  • 20. 9. ปัญหาในการสร้างระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ ในการสร้างระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ ส่วนที่มักจะทา ให้การดา เนินงานไม่ประสบผลสา เร็จคือ 1. MIS ต้องอาศัยความร่วมมือจากระบบงานย่อย () หลาย ๆระบบในการประมวลผลข้อมูล เพื่อให้ได้สารสนเทศที่ต้องการถ้า ไม่ได้รับความร่วมมือ จะทา ให้ได้รับสารสนเทศที่อาจไม่มีประโยชน์เท่าที่ควร 2. MIS ควรมีฐานข้อมูลร่วมกันแต่ในทางปฏิบัติหน่วยงานส่วนใหญ่ยังไม่ได้รับบานข้อมูลร่วมกัน 3. ผู้บริหารขาดความรู้ในเรื่องระบบสารสนเทศ ทา ให้ไม่สามารถบอกได้ว่าต้องการสารสนเทศแบบใด 4. การสร้าง MIS เป็นระบบใหญ่และมีโครงสร้างซับซ้อน ต้องอาศัยผู้สร้างระบบที่มีทักษะและความชา นาญ ดังนั้นการสร้าง MIS ให้เป็นระบบที่สมบูรณ์และปราศจากความบกพร่องนั้นสร้างค่อนข้างยาก
  • 21. 10. แนวโน้มของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 1. ผู้ใช้MIS มีความรู้มากขึ้น ในแต่ละปีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบสารสนเทศของผู้ใช้เพิ่มขึ้นมาก ปัจจุบันในระบบ อุดมศึกษาผลิตคนมีความรู้ด้านระบบสารสนเทศมากมาย และสาขานี้ ก็มีความสนใจเรียนมากขึ้น อย่างไม่เคยปรากฏมาก่อน 2. ประสิทธิภาพในการประมวลผลมีมากขึ้นซึ่งเป็นประโยชน์แก่ผู้ใช้ ในปัจจุบันนวัตกรรมทางด้านเทคโนโลยีมีความสามารถ มากขึ้น ผู้ใช้สามารถเข้าถึงข้อมูล โดยตรง และ ทา การควบคุม ได้ด้วยตนเองปัจจุบัน 3. มีแนวโน้มในการใช้ระบบคอมพิวเตอร์มาเชื่อมต่ออุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ต่าง ๆ ซอฟต์แวร์และฐานข้อมูลมีการพัฒนาทางด้าน ธุรกิจ เราสามารถใช้ ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ และฐานข้อมูลในการออกแบบผลิตภัณฑ์ในอนาคต เพื่อว่าผู้ใช้จะสามารถทา การ ติดต่อจาก คอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งไปยังอีกเครื่องหนึ่งได้โดยง่าย 4. MIS กลายเป็นวิธีหนึ่งที่ใช้ในการเพิ่มผลผลิต ในด้านธุรกิจ เช่น ความต้องการปรับปรังผลผลิตผู้บริหาร อาจถามว่า เราจะ ใช้คอมพิวเตอร์ในการปรับปรุงผลผลิตได้อย่างไร หรือคา ถามที่มักถูกถามจากระบบต่าง ๆ เช่น วิศวกร นักบัญชี และบุคคลอื่นๆ มักจะถามว่า คอมพิวเตอร์สามารถทา อะไรเพื่อช่วยสร้างความยิ่งใหญ่ให้องค์กร ของฉัน
  • 22. 10. แนวโน้มของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 5. องค์กรหลายๆ องค์กรได้ใช้ MIS ในยุทธวิธีที่ใช้ในการแข่งขัน องค์กรต่างๆ ที่ประสบความสาเร็จจะใช้MIS สร้าง ประโยชน์ในการแข่งขัน 6. MIS กลายเป็นส่วนสาคัญในกระบวนการตัดสินใจ ในอดีตที่ผ่านมาจนถึงปัจจุบันคอมพิวเตอร์ถูกใช้เป็นเครื่องมือพื้นฐาน สาหรับผู้บริหาร ในการประมวลผลรายการ แต่แนวโน้ม ในปัจจุบันได้ใช้ความสามารถของ คอมพิวเตอร์ในการจัดเตรียม สารสนเทศเพื่อสนับสนุนกระบวนการตัดสินใจ 7. ผู้ใช้ได้เริ่มโน้มกิจกรรมของ MIS ในยุคของการทรัพยากรสารสนเทศ ผู้ใช้และผู้ให้บริการ สารสนเทศ ได้กลายเป็นผู้ที่มี ส่วนในการค้นหา สารสนเทศที่มีคุณภาพมากขึ้น แนวโน้มในการสนับสนุนหลักฐาน ที่ว่าอนาคต MIS อยู่ในมือของผู้ใช้ ผู้บริหารระดับสูงจะสนับสนุนผู้ใช้ให้มีส่วนเกี่ยวข้องในการพัฒนาระบบสารสนเทศ เป็นทีม ในปัจจุบันมีการนาเอาเครื่อง คอมพิวเตอร์มาต่อพ่วงกับอุปการนา ระบบมัลติมีเดียเข้ามาช่วยนี้ กล่าวได้ว่าเป็น เครื่องมือสา คัญของ MIS