SlideShare a Scribd company logo
1 of 2
Download to read offline
บัญญัติการถ่ายทา ๑๐ ประการ
      ปัจจัยสาคัญ ๑๐ ประการ สาหรับปฏิบัติการถ่ายทาภาพยนตร์ที่ต้องคานึงมีดังนี้ (รัก
ศานต์ วิวัฒน์สินอุดม, ๒๕๔๕; ๒๔๓)

      ๑. ตาแหน่งกล้อง ฉากนัน ๆ ควรเป็นมุมมองของใคร กาลังมองใคร สามารถกลับไป
                            ้
กลับมาได้ในแต่ละฉาก เป็นมุมมองแทนสายตาระยะภาพใกล้หรือมุมมองเฝ้าสังเกตการณ์ระยะ
ภาพไกล ในฉากที่ต้องการความเร้าใจมักใช้ ๒ มุมตัดสลับกันไปมา

        ๒. องค์ประกอบภาพ ภาพในกรอบภาพของภาพยนตร์มี ๒ มิติ คือ ด้านกว้างและยาว
ผู้กากับจึงควรสร้างภาพให้มีความลึก มีพื้นหน้าพืนหลัง หรืออาจให้คนดูสามารถจินตนาการ
                                               ้
ภาพให้กว้างกว่าที่มองเห็นในเฟรมได้ เช่น คนดูได้ยินเสียงม้าควบอยู่นอกเฟรม และค่อย ๆ ดัง
ขึ้นจนเห็นม้าเข้ามาในเฟรม เป็นต้น

      ๓. ขนาดภาพ มีใช้กันอยู่ ๓ ลักษณะกว้าง ๆ คือ ภาพใกล้ ภาพปานกลาง ภาพไกล

        ๔. การจัดแสง เป็นปัจจัยที่ช่วยส่งเสริมการจัดองค์ประกอบภาพ แสงและเงาช่วยให้คน
ดูเกิดความรู้สกทางด้านอารมณ์ เช่น แสงทึบในฉากบ่งบอกถึงความลึกลับซับซ้อน แสงที่สว่าง
               ึ
ในภาพยนตร์ตลกเบาสมอง อาจแต่งเติมหรือใช้แบบธรรมชาติก็ได้แต่ต้องรักษารูปแบบการจัด
แสงให้มีความสม่าเสมอตลอดเรื่อง
        ลักษณะของแสงส่วนใหญ่ที่ใช้ในการถ่ายทามี ๒ ลักษณะ คือ แสงเข้ม หมายถึง แสง
ที่มาจากแหล่งแสงกระทบกับ Subject โดยตรง เกิดแสงเงาตัดกันรุนแรงภาพมีความแข็ง
กระด้าง และแสงนุ่ม หมายถึง แสงที่ผ่านการกรองด้วยผ้าหรือกระดาษกรองแสง แสงจะไม่
กระทบ Subject โดยตรง แต่ผ่านการสะท้อนแสง ทาให้ภาพมีแสงและเงาตัดกันอย่างแผ่วเบา
ภาพที่ได้จะนุมนวลขึน
             ่     ้

     ๕. การเคลื่อนกล้อง ขึ้นอยู่กับแนวของภาพยนตร์ แต่ส่วนใหญ่จะใช้การเคลื่อนไหว
ปานกลางที่สามารถรักษาการเล่าเรื่องให้ดาเนินต่อไป ไม่หวือหวามากเพราะอาจทาให้เบี่ยงเบน
ความสนใจคนดูไปที่การเคลื่อนไหวมากกว่าเนื้อเรื่องได้
๖. การตัดต่อ ต้องคิดเตรียมล่วงหน้าไว้แล้วตั้งแต่การถ่ายทาว่าต้องตัดต่ออย่างไรในแต่
ละช็อต มีข้อพิจารณาอยู่ ๒ ประเด็น คือ ตัดตรงไหน และต่อกับภาพอะไร ต้องพิจารณาถึง
การเชื่อต่อด้วยวิธีการอะไร เช่น ตัดชนธรรมดา ใช้ภาพจางซ้อน จางเข้า/จางออก หรือ
กวาดภาพ เป็นต้น

       ๗. การถ่ายคลุม ในฉากหนึ่งที่มีความยาว ๑ นาที อาจใช้ตั้งแต่ ๑ – ๒๐ ช็อต โดย
วางมุมกล้องและมีมุมมองหลายมุมเพื่อจะได้ครอบคลุมในฉากนั้น ๆ เช่น อาจเป็นมาสเตอร์
ช็อต คือภาพของช็อตมุมกว้างที่ถ่ายยาวจนจบในฉากนั้น แล้วใช้ภาพปานกลาง ใกล้ ภาพสอง
คน และอื่น ๆ เป็นภาพแทรกสลับไปมาเพื่อให้ได้จงหวะในการเล่าเรื่อง
                                            ั

         ๘. ความต่อเนื่อง วิธีที่ดที่สุดคือการถ่ายทวนซ้าแอ็คชั่น หมายถึง แสดงซ้าแอ็คชั่นใน
                                  ี
ท้ายของช็อต ที่จะตัดต่อเข้าหากัน ต่อจากนั้นผู้ลาดับภาพจึงจะนาไปตัดต่อเพื่อให้ภาพมีความ
ต่อเนื่องกันอย่างราบรื่น และยังต้องรักษากฎ ๑๘๐ องศา ควบคุมทิศทางการเคลื่อนที่ของผู้
แสดงป้องกันการกลับซ้ายขวาของ Subject ในเฟรมที่ช็อตต่อเนื่องกัน

       ๙. มุมมอง คล้ายกับการวางตาแหน่งกล้องที่สามารถวางได้หลายมุมในช็อตหนึ่ง ๆ
สามารถใช้ความได้เปรียบของกล้องนาคนดูเข้าสู่เหตุการณ์หรือเข้าร่วมเหตุการณ์ได้ด้วยการใช้
ถือถ่าย เช่น ผ่านเข้าไปในป่า ประตู เป็นต้น

      ๑๐. การถ่ายช็อตพิเศษ เช่น การใช้สปีด การถ่ายกลางวันให้กลายเป็นฉากกลางคืน
การซ้อนภาพกัน การถ่ายใต้น้า การถ่ายบลูสกรีน เป็นต้น

More Related Content

Viewers also liked

ใบความรู้ Spreadsheets googledocs
ใบความรู้ Spreadsheets googledocsใบความรู้ Spreadsheets googledocs
ใบความรู้ Spreadsheets googledocsAiice Pimsupuk
 
ใบความรู้ เรื่อง รูปแบบของผังงาน
ใบความรู้ เรื่อง รูปแบบของผังงานใบความรู้ เรื่อง รูปแบบของผังงาน
ใบความรู้ เรื่อง รูปแบบของผังงานAiice Pimsupuk
 
ประมวลรายวิชา ง30206 การตัดต่อภาพยนตร์
ประมวลรายวิชา ง30206 การตัดต่อภาพยนตร์ประมวลรายวิชา ง30206 การตัดต่อภาพยนตร์
ประมวลรายวิชา ง30206 การตัดต่อภาพยนตร์Aiice Pimsupuk
 
แผนการสอน ผลิตสื่อวีดีทัศน์ ม.6
แผนการสอน ผลิตสื่อวีดีทัศน์ ม.6แผนการสอน ผลิตสื่อวีดีทัศน์ ม.6
แผนการสอน ผลิตสื่อวีดีทัศน์ ม.6พงศธร ภักดี
 
วิธีใช้โปรแกรม VideoSpin
วิธีใช้โปรแกรม VideoSpinวิธีใช้โปรแกรม VideoSpin
วิธีใช้โปรแกรม VideoSpinTeemtaro Chaiwongkhot
 
๐๔ การเขียนผังงาน
๐๔ การเขียนผังงาน๐๔ การเขียนผังงาน
๐๔ การเขียนผังงานAiice Pimsupuk
 
สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนผังงาน
สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนผังงานสัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนผังงาน
สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนผังงานAiice Pimsupuk
 
แบบกรอก Url Social Media
แบบกรอก Url Social Mediaแบบกรอก Url Social Media
แบบกรอก Url Social MediaTeemtaro Chaiwongkhot
 
การนำ spreadsheet ไปบันทึกคะแนนและเผยแพร่ใน wordpress
การนำ spreadsheet ไปบันทึกคะแนนและเผยแพร่ใน wordpressการนำ spreadsheet ไปบันทึกคะแนนและเผยแพร่ใน wordpress
การนำ spreadsheet ไปบันทึกคะแนนและเผยแพร่ใน wordpressTeemtaro Chaiwongkhot
 
สร้างงานนำเสนออย่างง่ายดาย
สร้างงานนำเสนออย่างง่ายดายสร้างงานนำเสนออย่างง่ายดาย
สร้างงานนำเสนออย่างง่ายดายTeemtaro Chaiwongkhot
 
มาทำความรู้จักกับ Youtube
มาทำความรู้จักกับ Youtubeมาทำความรู้จักกับ Youtube
มาทำความรู้จักกับ YoutubeTeemtaro Chaiwongkhot
 
มาร่วมกันเพิ่มวีดีโอในเพลย์ลิสต์ของ Sm edu channel
มาร่วมกันเพิ่มวีดีโอในเพลย์ลิสต์ของ Sm edu channelมาร่วมกันเพิ่มวีดีโอในเพลย์ลิสต์ของ Sm edu channel
มาร่วมกันเพิ่มวีดีโอในเพลย์ลิสต์ของ Sm edu channelTeemtaro Chaiwongkhot
 
มาสร้าง Blog กันดีกว่า
มาสร้าง Blog กันดีกว่ามาสร้าง Blog กันดีกว่า
มาสร้าง Blog กันดีกว่าTeemtaro Chaiwongkhot
 
Chapter2 หน้าต่างการทำงานของ premiere pro 2
Chapter2 หน้าต่างการทำงานของ premiere pro 2Chapter2 หน้าต่างการทำงานของ premiere pro 2
Chapter2 หน้าต่างการทำงานของ premiere pro 2Nalin K
 
Chapter 1 Premiere Pro
Chapter 1 Premiere ProChapter 1 Premiere Pro
Chapter 1 Premiere ProNalin K
 
กำหนดการสอน ม5 คอมพิวเตอร์พื้นฐาน 53
กำหนดการสอน ม5 คอมพิวเตอร์พื้นฐาน 53กำหนดการสอน ม5 คอมพิวเตอร์พื้นฐาน 53
กำหนดการสอน ม5 คอมพิวเตอร์พื้นฐาน 53Teemtaro Chaiwongkhot
 
เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการ Social Media
เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการ Social Mediaเอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการ Social Media
เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการ Social MediaTeemtaro Chaiwongkhot
 
กำหนดการสอน ม4 เทคโนโลยีสารสนเทศ 53
กำหนดการสอน ม4 เทคโนโลยีสารสนเทศ 53กำหนดการสอน ม4 เทคโนโลยีสารสนเทศ 53
กำหนดการสอน ม4 เทคโนโลยีสารสนเทศ 53Teemtaro Chaiwongkhot
 

Viewers also liked (20)

ใบความรู้ Spreadsheets googledocs
ใบความรู้ Spreadsheets googledocsใบความรู้ Spreadsheets googledocs
ใบความรู้ Spreadsheets googledocs
 
ใบความรู้ เรื่อง รูปแบบของผังงาน
ใบความรู้ เรื่อง รูปแบบของผังงานใบความรู้ เรื่อง รูปแบบของผังงาน
ใบความรู้ เรื่อง รูปแบบของผังงาน
 
ประมวลรายวิชา ง30206 การตัดต่อภาพยนตร์
ประมวลรายวิชา ง30206 การตัดต่อภาพยนตร์ประมวลรายวิชา ง30206 การตัดต่อภาพยนตร์
ประมวลรายวิชา ง30206 การตัดต่อภาพยนตร์
 
แผนการสอน ผลิตสื่อวีดีทัศน์ ม.6
แผนการสอน ผลิตสื่อวีดีทัศน์ ม.6แผนการสอน ผลิตสื่อวีดีทัศน์ ม.6
แผนการสอน ผลิตสื่อวีดีทัศน์ ม.6
 
วิธีใช้โปรแกรม VideoSpin
วิธีใช้โปรแกรม VideoSpinวิธีใช้โปรแกรม VideoSpin
วิธีใช้โปรแกรม VideoSpin
 
๐๔ การเขียนผังงาน
๐๔ การเขียนผังงาน๐๔ การเขียนผังงาน
๐๔ การเขียนผังงาน
 
สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนผังงาน
สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนผังงานสัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนผังงาน
สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนผังงาน
 
แบบกรอก Url Social Media
แบบกรอก Url Social Mediaแบบกรอก Url Social Media
แบบกรอก Url Social Media
 
การนำ spreadsheet ไปบันทึกคะแนนและเผยแพร่ใน wordpress
การนำ spreadsheet ไปบันทึกคะแนนและเผยแพร่ใน wordpressการนำ spreadsheet ไปบันทึกคะแนนและเผยแพร่ใน wordpress
การนำ spreadsheet ไปบันทึกคะแนนและเผยแพร่ใน wordpress
 
สร้างงานนำเสนออย่างง่ายดาย
สร้างงานนำเสนออย่างง่ายดายสร้างงานนำเสนออย่างง่ายดาย
สร้างงานนำเสนออย่างง่ายดาย
 
มาทำความรู้จักกับ Youtube
มาทำความรู้จักกับ Youtubeมาทำความรู้จักกับ Youtube
มาทำความรู้จักกับ Youtube
 
มาร่วมกันเพิ่มวีดีโอในเพลย์ลิสต์ของ Sm edu channel
มาร่วมกันเพิ่มวีดีโอในเพลย์ลิสต์ของ Sm edu channelมาร่วมกันเพิ่มวีดีโอในเพลย์ลิสต์ของ Sm edu channel
มาร่วมกันเพิ่มวีดีโอในเพลย์ลิสต์ของ Sm edu channel
 
มาสร้าง Blog กันดีกว่า
มาสร้าง Blog กันดีกว่ามาสร้าง Blog กันดีกว่า
มาสร้าง Blog กันดีกว่า
 
ใบงาน Wordpress
ใบงาน Wordpressใบงาน Wordpress
ใบงาน Wordpress
 
Chapter2 หน้าต่างการทำงานของ premiere pro 2
Chapter2 หน้าต่างการทำงานของ premiere pro 2Chapter2 หน้าต่างการทำงานของ premiere pro 2
Chapter2 หน้าต่างการทำงานของ premiere pro 2
 
Chapter 1 Premiere Pro
Chapter 1 Premiere ProChapter 1 Premiere Pro
Chapter 1 Premiere Pro
 
กำหนดการสอน ม5 คอมพิวเตอร์พื้นฐาน 53
กำหนดการสอน ม5 คอมพิวเตอร์พื้นฐาน 53กำหนดการสอน ม5 คอมพิวเตอร์พื้นฐาน 53
กำหนดการสอน ม5 คอมพิวเตอร์พื้นฐาน 53
 
เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการ Social Media
เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการ Social Mediaเอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการ Social Media
เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการ Social Media
 
กำหนดการสอน ม4 เทคโนโลยีสารสนเทศ 53
กำหนดการสอน ม4 เทคโนโลยีสารสนเทศ 53กำหนดการสอน ม4 เทคโนโลยีสารสนเทศ 53
กำหนดการสอน ม4 เทคโนโลยีสารสนเทศ 53
 
videospin
videospinvideospin
videospin
 

Similar to ใบความรู้บัญญัติการถ่ายทำ ๑๐ ประการ

Similar to ใบความรู้บัญญัติการถ่ายทำ ๑๐ ประการ (7)

10วิธีแก้ปัญหาในการใช้กล้องดิจิตอล
10วิธีแก้ปัญหาในการใช้กล้องดิจิตอล10วิธีแก้ปัญหาในการใช้กล้องดิจิตอล
10วิธีแก้ปัญหาในการใช้กล้องดิจิตอล
 
5Technical photographs
5Technical photographs5Technical photographs
5Technical photographs
 
การถ่ายภาพเบื้องต้น
การถ่ายภาพเบื้องต้นการถ่ายภาพเบื้องต้น
การถ่ายภาพเบื้องต้น
 
การกำกับภาพ
การกำกับภาพการกำกับภาพ
การกำกับภาพ
 
Macro phography
Macro phographyMacro phography
Macro phography
 
Part 2.2 ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพ
Part 2.2 ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพPart 2.2 ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพ
Part 2.2 ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพ
 
กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์
 

ใบความรู้บัญญัติการถ่ายทำ ๑๐ ประการ

  • 1. บัญญัติการถ่ายทา ๑๐ ประการ ปัจจัยสาคัญ ๑๐ ประการ สาหรับปฏิบัติการถ่ายทาภาพยนตร์ที่ต้องคานึงมีดังนี้ (รัก ศานต์ วิวัฒน์สินอุดม, ๒๕๔๕; ๒๔๓) ๑. ตาแหน่งกล้อง ฉากนัน ๆ ควรเป็นมุมมองของใคร กาลังมองใคร สามารถกลับไป ้ กลับมาได้ในแต่ละฉาก เป็นมุมมองแทนสายตาระยะภาพใกล้หรือมุมมองเฝ้าสังเกตการณ์ระยะ ภาพไกล ในฉากที่ต้องการความเร้าใจมักใช้ ๒ มุมตัดสลับกันไปมา ๒. องค์ประกอบภาพ ภาพในกรอบภาพของภาพยนตร์มี ๒ มิติ คือ ด้านกว้างและยาว ผู้กากับจึงควรสร้างภาพให้มีความลึก มีพื้นหน้าพืนหลัง หรืออาจให้คนดูสามารถจินตนาการ ้ ภาพให้กว้างกว่าที่มองเห็นในเฟรมได้ เช่น คนดูได้ยินเสียงม้าควบอยู่นอกเฟรม และค่อย ๆ ดัง ขึ้นจนเห็นม้าเข้ามาในเฟรม เป็นต้น ๓. ขนาดภาพ มีใช้กันอยู่ ๓ ลักษณะกว้าง ๆ คือ ภาพใกล้ ภาพปานกลาง ภาพไกล ๔. การจัดแสง เป็นปัจจัยที่ช่วยส่งเสริมการจัดองค์ประกอบภาพ แสงและเงาช่วยให้คน ดูเกิดความรู้สกทางด้านอารมณ์ เช่น แสงทึบในฉากบ่งบอกถึงความลึกลับซับซ้อน แสงที่สว่าง ึ ในภาพยนตร์ตลกเบาสมอง อาจแต่งเติมหรือใช้แบบธรรมชาติก็ได้แต่ต้องรักษารูปแบบการจัด แสงให้มีความสม่าเสมอตลอดเรื่อง ลักษณะของแสงส่วนใหญ่ที่ใช้ในการถ่ายทามี ๒ ลักษณะ คือ แสงเข้ม หมายถึง แสง ที่มาจากแหล่งแสงกระทบกับ Subject โดยตรง เกิดแสงเงาตัดกันรุนแรงภาพมีความแข็ง กระด้าง และแสงนุ่ม หมายถึง แสงที่ผ่านการกรองด้วยผ้าหรือกระดาษกรองแสง แสงจะไม่ กระทบ Subject โดยตรง แต่ผ่านการสะท้อนแสง ทาให้ภาพมีแสงและเงาตัดกันอย่างแผ่วเบา ภาพที่ได้จะนุมนวลขึน ่ ้ ๕. การเคลื่อนกล้อง ขึ้นอยู่กับแนวของภาพยนตร์ แต่ส่วนใหญ่จะใช้การเคลื่อนไหว ปานกลางที่สามารถรักษาการเล่าเรื่องให้ดาเนินต่อไป ไม่หวือหวามากเพราะอาจทาให้เบี่ยงเบน ความสนใจคนดูไปที่การเคลื่อนไหวมากกว่าเนื้อเรื่องได้
  • 2. ๖. การตัดต่อ ต้องคิดเตรียมล่วงหน้าไว้แล้วตั้งแต่การถ่ายทาว่าต้องตัดต่ออย่างไรในแต่ ละช็อต มีข้อพิจารณาอยู่ ๒ ประเด็น คือ ตัดตรงไหน และต่อกับภาพอะไร ต้องพิจารณาถึง การเชื่อต่อด้วยวิธีการอะไร เช่น ตัดชนธรรมดา ใช้ภาพจางซ้อน จางเข้า/จางออก หรือ กวาดภาพ เป็นต้น ๗. การถ่ายคลุม ในฉากหนึ่งที่มีความยาว ๑ นาที อาจใช้ตั้งแต่ ๑ – ๒๐ ช็อต โดย วางมุมกล้องและมีมุมมองหลายมุมเพื่อจะได้ครอบคลุมในฉากนั้น ๆ เช่น อาจเป็นมาสเตอร์ ช็อต คือภาพของช็อตมุมกว้างที่ถ่ายยาวจนจบในฉากนั้น แล้วใช้ภาพปานกลาง ใกล้ ภาพสอง คน และอื่น ๆ เป็นภาพแทรกสลับไปมาเพื่อให้ได้จงหวะในการเล่าเรื่อง ั ๘. ความต่อเนื่อง วิธีที่ดที่สุดคือการถ่ายทวนซ้าแอ็คชั่น หมายถึง แสดงซ้าแอ็คชั่นใน ี ท้ายของช็อต ที่จะตัดต่อเข้าหากัน ต่อจากนั้นผู้ลาดับภาพจึงจะนาไปตัดต่อเพื่อให้ภาพมีความ ต่อเนื่องกันอย่างราบรื่น และยังต้องรักษากฎ ๑๘๐ องศา ควบคุมทิศทางการเคลื่อนที่ของผู้ แสดงป้องกันการกลับซ้ายขวาของ Subject ในเฟรมที่ช็อตต่อเนื่องกัน ๙. มุมมอง คล้ายกับการวางตาแหน่งกล้องที่สามารถวางได้หลายมุมในช็อตหนึ่ง ๆ สามารถใช้ความได้เปรียบของกล้องนาคนดูเข้าสู่เหตุการณ์หรือเข้าร่วมเหตุการณ์ได้ด้วยการใช้ ถือถ่าย เช่น ผ่านเข้าไปในป่า ประตู เป็นต้น ๑๐. การถ่ายช็อตพิเศษ เช่น การใช้สปีด การถ่ายกลางวันให้กลายเป็นฉากกลางคืน การซ้อนภาพกัน การถ่ายใต้น้า การถ่ายบลูสกรีน เป็นต้น