SlideShare a Scribd company logo
ใบความรู้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
พื้นฐานการสร้างเว็บไซต์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
อินเตอร์เน็ต (Internet) เป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่ใหญ่ที่สุดในโลกซึ่งรวมเอาเครือข่ายย่อยเป็น
จานวนมากต่อเชื่อมภายใต้มาตรฐานเดียวกันจนเป็น เครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ ทาให้ทั่วโลกเชื่อมโยง
กัน เป็นเครือข่ายเดียวกันได้ในแพลตฟอร์มของ เวิลด์ ไวด์ เว็บ (World Wide Web)
ลักษณะของเวิล์ด ไวด์ เว็บ (World Wide Web)
เวิล์ด ไวด์ เว็บ (World Wide Web – www) หรือเรียกย่อ ๆ ว่า เว็บ (web) เป็นอินเตอร์เน็ตชนิ
หนึ่ง ที่อยู่ในรูปแบบของกราฟิกและมัลติมีเดีย ซึ่งประกอบด้วยข้อความ (Text) ภาพ (Graphic) เสีย
(Sound) และ ภาพเคลื่อนไหว (Movie) เป็นต้นผู้ใช้ทั่วไปสามารถเข้าไปในเว็บได้ง่าย และจะได้รับข้อมูล
ครบถ้วนปัจจุบัน ถ้าพูดถึงอินเตอร์เน็ต คนทั่วไปจะเข้าใจว่าหมายถึงเว็บ ทั้งที่จริงแล้วเว็บเป็นส่วนหนึ่งของ
อินเตอร์เน็ตเท่า นั้น
เว็บไซต์ (Website) และเว็บเพจ (Webpage)
เอกสารหรือส่วนที่ติดต่อกับผู้ใช้ในเว็บ เรียกว่า เว็บเพจ (Webpage) หมายถึงเอกสารหนึ่งหน้า การ
ใช้เว็บก็คือการเปิดอ่านหรือเปิดใช้เว็บแต่ละหน้านั่นเอง เว็บเพจอาจสร้างขึ้นด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ เช่น
HTML, ASP, PHP, JAVA ฯลฯ
เมื่อนาเว็บเพจหลาย ๆ หน้ามารวมกัน และระบุอยู่ในอินเตอร์เน็ต หรือ ยูอาร์แอล (Uniform
Resource Locator – URL) ให้กับเว็บเพจกลุ่มนั้นจะเรียกว่า เว็บไซต์ (Web Site)
เมื่อเปิดเว็บไซต์ขึ้นมาจะพบกับหน้าแรกของเว็บไซต์ ซึ่งเรียกว่าโฮมเพจ (Homepage) ซึ่งเป็น
หน้าที่ สาคัญที่สุดและเป็นหน้าที่จะเชื่อมโยงไปยังเว็บเพจและเว็บไซต์อื่น ๆ
เว็บเบราเซอร์ (Web Browser)
เเว็บเบราเซอร์ (Web Browser) คือโปรแกรมที่ใช้สาหรับเปิดเว็บเพจหรือ รับส่งข้อมูลตามที่
เครื่องลูกข่ายร้องขอเมื่อเราเปิดเข้าสู่อินเตอร์เน็ต เว็บเบราเซอร์ที่ได้รับความนิยมปัจจุบันมีหลายโปรแกรม
เช่น Microsoft Internet Explorer (IE), Mozilla Firefox, Opera, และ Google Chrome
สรุปเว็บเพจ เว็บไซต์ และโฮมเพจ
ภาษา HTML
ภาษา HTML ย่อมาจากคาว่า Hypertext Markup Language เป็นภาษาที่ใช้สาหรับสร้างเว็บเพจ
โดยจะได้รับการแปลหรือการแสดงผลโดยเว็บ เบราเซอร์ซึ่งสามารถแสดงได้ทั้งข้อความ ภาพ และเสียง
โครงสร้างหลักของภาษา HTML
ในไฟล์เอกสาร HTML ประกอบด้วย สองส่วนใหญ่ๆ คือ ส่วนหัว HEAD และ ส่วนตัว BODY
1) Tag <HTML> และ </HTML> จะอยู่บรรทัดแรก และ บรรทัดสุดท้าย ในไฟล์ HTML เสมอ เป็น
Tag ที่บอกให้รู้ว่า ข้อความ หรือ Tag ที่อยู่ระหว่าง 2 Tag นี้ เป็นแบบ HTML
2) Tag <HEAD> และ </HEAD> ส่วนนี้จะไว้ใส่ รายละเอียดต่าง ๆ เช่น
Tag<TITLE>TodayLoad.com</TITLE> ไว้ใส่ข้อความที่ต้องการให้ปรากฎอยู่บน ไตเติ้ลบาร์ เป็นต้น
3) <BODY ....... > ข้อความที่ปรากฎอยู่ตรงช่วงจุดไข่ปลา
4) Tag <BODY> และ </BODY> ข้อความ หรือ Tag ที่อยู่ระหว่าง 2 Tag นี้ เป็นส่วนของเนื้อหา
โดเมนเนม (Domain Name)
โดเมนเนม (Domain Name) หรือที่เข้าใจกันทั่วไป คือ ชื่อเรียกเว็บไซต์นั่นเอง การจดทะเบียน
โดเมนเนมจึงเป็นการลงทะเบียนชื่อให้กับเว็บไซต์ของเราในโลกอินเตอร์เน็ต โดเมนเนมที่ขอจดทะเบียน
จะต้องไม่ซ้ากับคนอื่น และควรตั้งให้เกี่ยวข้องกับเนื้อหาภายในเว็บไซต์ หรือเกี่ยวข้องกับสินค้าและบริการ
ตลอดจนใช้คาง่าย ๆ ให้จาได้ เช่น sanook.com และ yahoo.com เป็นต้น
ความหมายของซับโดเมน
หลักการออกแบบเว็บไซต์
หลักการออกแบบเว็บไซต์สามารถแบ่งออกเป็นขั้นตอนต่าง ๆ เพื่อให้เหมาะสมกับผู้เริ่มต้นใช้เป็น
แนวทาง ในการสร้างและพัฒนาเว็บไซต์
- การวางแผน
การวางแผนนับว่ามีความสาคัญมากในการสร้างเว็บไซต์ เพื่อให้การทางานในขั้นตอนต่าง ๆ มีแนว ทางที่
ชัดเจนและสามารถปฏิบัติได้ตามที่ตั้งเป้าไว้ ซึ่งประกอบด้วย
- การกาหนดเนื้อหาและจุดประสงค์ของเว็บไซต์
การกาหนดเนื้อหาและจุดประสงค์ของเว็บไซต์ที่จะสร้าง นับเป็นสิ่งสาคัญอย่างมากในการเริ่มต้นสร้างเว็บไซต์
เลยทีเดียว เพื่อให้เห็นภาพว่าเราต้องการนาเสนอข้อมูลแบบใด เช่น เว็บไซต์เพื่อให้ข้อมูลข่าวสาร การบริการ
ด้านต่าง ๆ หรือขายสินค้า เป็นต้น เมื่อสามารถกาหนดจุดประสงค์ของเว็บไซต์ได้แล้ว เงื่อนไขเหล่านี้จะเป็น
ตัวกาหนดโครง สร้างรูปแบบรวมถึงหน้าตา และสีเว็บไซต์ของเราด้วย
- การกาหนดกลุ่มเป้าหมาย
เพื่อให้การสร้างและออกแบบเว็บไวต์ได้รับความนิยม การกาหนดกลุ่มเป้าหมายในการเข้าชมเว็บไซต์ก็นับว่ามี
ส่วนสาคัญไม่น้อย เช่น เว็บไซต์สาหรับเยาวชน นักเรียน นักศึกษาในการค้นหาข้อมูล หรือเว็บไซต์สาหรับ
บุคคลทั่วไปที่เข้าไปใช้บริการต่าง ๆ เป็นต้น
- การเตรียมข้อมูล
เนื้อหาหรือข้อมูลจัดว่าเป็นสิ่งที่เชิญชวนให้ผู้อื่นเข้ามาเยี่ยมชมเว็บไซต์ และต้องทราบว่าข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ
สามารถนามาจากแหล่งใดบ้าง เช่น การคิดนาเสนอข้อมูลด้วยตัวเอง หรือนาข้อมูลที่น่าสนใจมาจากสื่ออื่น เช่น
หนังสือพิมพ์ แมกกาซีน เว็บไซต์ และที่สาคัญ ขออนุญาตเจ้าของบทความก่อนเพื่อป้องกันเรื่องลิขสิทธิ์ด้วย
- การเตรียมสิ่งต่าง ๆ ที่จาเป็น
ในการออกแบบเว็บไซต์ต้องอาศัยความสามารถต่าง ๆ เช่น โปรแกรมสาหรัสร้าง เว็บไซต์ ภาพเคลื่อนไหว
มัลติมีเดีย การจดโดเมนเนม การหาผู้ให้บริการรับฝากเว็บไซต์ (Web Hosting) เป็นต้น
- การจัดโครงสร้างข้อมูล
เมื่อได้ข้อมูลต่าง ๆ เช่น กาหนดเนื้อหาและจุดประสงค์ของเว็บไซต์ การกาหนดกลุ่มเป้าหมาย การเตรียม
ข้อมูล การเตรียมสิ่งต่าง ๆ ที่จาเป็นจากขั้นแรกเรียบร้อยแล้ว ในขั้นตอนนี้ เราจะจัดระบบเพื่อใช้เป็นกรอบ
สาหรับการออกแบบและดาเนินการในขั้นตอนต่อไป ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้
• โครงสร้างและสารบัญของเว็บไซต์
• การใช้ระบบนาผู้เข้าชมไปยังส่วนต่าง ๆ ภายในเว็บไซต์หรือที่เราเรียกว่าระบบนาทาง
(Navigation)
• องค์ประกอบที่ต้องนามาใช้ เช่น สื่อมัลติมีเดีย ภาพกราฟิก แบบฟอร์มต่าง ๆ
• การกาหนดรูปแบบและลักษณะของเว็บเพจ
• การกาหนดฐานข้อมูล ภาษาสคริปต์หรือแอปพลิเคชันที่นามาใช้ในเว็บไซต์
• การบริการเสริมต่าง ๆ
• การออกแบบเว็บไซต์
นับเป็นขั้นตอนในการออกแบบรูปร่าง โครงสร้างและลักษณะทางด้านกราฟิกของหน้าเว็บเพจโดย
โปรแกรมที่เหมาะสมในการออกแบบคือ Photoshop หรือ Fireworks ซึ่งจะช่วยในการสร้างเค้าโครงของหน้า
เว็บและองค์ประกอบต่าง ๆ เช่น ชื่อเว็บไซต์ โลโก้ รูปไอคอน ปุ่มไอคอน ภาพเคลื่อนไหว แบนเนอร์โฆษณา
เป็นต้น
ในการออกแบบเว็บไซต์นั้นยังต้องคานึงถึงสีสันและรูปแบบของส่วนประกอบต่าง ๆ ที่ไม่ใช่
ภาพกราฟิก เช่น ขนาดของตัวอักษร สีของข้อความ สีพื้น ลวดลายของเส้นกรอบเพื่อความสวยงามและดึงดูด
ผู้เยี่ยมชมด้วย
ส่วนประกอบของหน้าเว็บเพจ
เราสามารถจาแนกส่วนประกอบของหน้าเว็บเพจ เป็น 3 ส่วน ดังนี้
1. ส่วนหัว (Page Header) จะอยู่บริเวณบนสุดของหน้าเว็บเพจ เป็นส่วนที่แสดงชื่อ เว็บไซต์ โลโก้
แบนเนอร์โฆษณาลิงก์สาหรับข้ามไปยังหน้าเว็บอื่น
2. ส่วนเนื้อหา (Page Body) อยู่บริเวณตอนกลางของหน้าเว็บเพจ ซึ่งเป็นส่วนที่แสดงเนื้อหาภายใน
หน้าเว็บเพจนั้น โดยประกอบด้วยข้อความ ข้อมูล ภาพเคลื่อนไหว เป็นต้น
3. ส่วนท้าย (Page Footer) อยู่บริเวณด้านล่างสุดของหน้าเว็บเพจ ส่วนมากใช้สาหรับลิงก์ข้อความ
สั้นๆ เข้าใจง่าย หรือจะมีชื่อเจ้าของเว็บไซต์ อีเมลแอดเดรสของผู้ดูแลเว็บไซต์สาหรับติดต่อกับทางเว็บไซต์
สรุปส่วนประกอบของหน้าเว็บเพจ
แนวคิดในการออกแบบ
- ดูจากเว็บไซต์อื่นเพื่อเป็นตัวอย่าง การดูจากเว็บไซต์อื่นบนอินเตอร์เน็ตเพื่อศึกษาเป็นตัวอย่างนั้น
นับเป็นวิธีการที่ง่ายที่สุด แต่ก็ควรนาไปประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับเนื้อหาและกลุ่มเป้าหมายของเราด้วย
- ศึกษาจากสื่อสิ่งพิมพ์ในรูปแบบต่างๆ สื่อสิ่งพิมพ์ในที่นี้ ได้แก่ แมกกาซีน โปสเตอร์โฆษณา โบรชัวร์
หรือหนังสือบางเล่มที่มีรูปแบบและจุดดึงดูดความสนใจ สามารถนามาประยุกต์ใช้ในเว็บไซต์ของเราได้เช่นกัน

More Related Content

What's hot

คู่มือ Thunkable
คู่มือ Thunkableคู่มือ Thunkable
คู่มือ Thunkable
Khunakon Thanatee
 
การเขียนบทประกอบภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Script Writing for Motion Graphic)
การเขียนบทประกอบภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Script Writing for Motion Graphic)การเขียนบทประกอบภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Script Writing for Motion Graphic)
การเขียนบทประกอบภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Script Writing for Motion Graphic)
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
แผนการสอน ผลิตสื่อวีดีทัศน์ ม.6
แผนการสอน ผลิตสื่อวีดีทัศน์ ม.6แผนการสอน ผลิตสื่อวีดีทัศน์ ม.6
แผนการสอน ผลิตสื่อวีดีทัศน์ ม.6
พงศธร ภักดี
 
ใบงานที่ 1 เรื่องความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตัดต่อวิดีโอ
ใบงานที่ 1 เรื่องความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตัดต่อวิดีโอใบงานที่ 1 เรื่องความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตัดต่อวิดีโอ
ใบงานที่ 1 เรื่องความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตัดต่อวิดีโอ
Jaturapad Pratoom
 
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
หลักการจัดองค์ประกอบของงานภาพเคลื่อนไหว (Compositing)
หลักการจัดองค์ประกอบของงานภาพเคลื่อนไหว (Compositing)หลักการจัดองค์ประกอบของงานภาพเคลื่อนไหว (Compositing)
หลักการจัดองค์ประกอบของงานภาพเคลื่อนไหว (Compositing)
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Motion Graphic)
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว  (Motion Graphic)การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว  (Motion Graphic)
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Motion Graphic)
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)
สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)
สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การใช้งานระบบปฏิสัมพันธ์ทางคอมพิวเตอร์ (Using Computer Interaction Systems)
การใช้งานระบบปฏิสัมพันธ์ทางคอมพิวเตอร์ (Using Computer Interaction Systems)การใช้งานระบบปฏิสัมพันธ์ทางคอมพิวเตอร์ (Using Computer Interaction Systems)
การใช้งานระบบปฏิสัมพันธ์ทางคอมพิวเตอร์ (Using Computer Interaction Systems)
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขายการเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
แผนการจัดการเรียนรู้ Active Learning เรื่อง กราฟิกเพื่อการสื่อสาร
แผนการจัดการเรียนรู้ Active Learning เรื่อง  กราฟิกเพื่อการสื่อสารแผนการจัดการเรียนรู้ Active Learning เรื่อง  กราฟิกเพื่อการสื่อสาร
แผนการจัดการเรียนรู้ Active Learning เรื่อง กราฟิกเพื่อการสื่อสาร
วัชรพล เที่ยงปา
 
โครงงานตัดต่อวีดีโอ
โครงงานตัดต่อวีดีโอโครงงานตัดต่อวีดีโอ
โครงงานตัดต่อวีดีโอ
Manussawee Rattana
 
การสร้างสระบบนำชมด้วยเทคโนโลยีเสมือนจริง 3D Vista
การสร้างสระบบนำชมด้วยเทคโนโลยีเสมือนจริง 3D Vistaการสร้างสระบบนำชมด้วยเทคโนโลยีเสมือนจริง 3D Vista
การสร้างสระบบนำชมด้วยเทคโนโลยีเสมือนจริง 3D Vista
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบ
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบอินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบ
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบ
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เทคนิคการเล่าเรื่องดิจิทัล (Digital Storytelling Technique)
เทคนิคการเล่าเรื่องดิจิทัล (Digital Storytelling Technique)เทคนิคการเล่าเรื่องดิจิทัล (Digital Storytelling Technique)
เทคนิคการเล่าเรื่องดิจิทัล (Digital Storytelling Technique)
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverse
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverseการสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverse
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverse
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
วิดีโอสำหรับมัลติมีเดีย (Video for Multimedia)
วิดีโอสำหรับมัลติมีเดีย (Video for Multimedia)วิดีโอสำหรับมัลติมีเดีย (Video for Multimedia)
วิดีโอสำหรับมัลติมีเดีย (Video for Multimedia)
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ใบความรู้ที่่ 3.2 บทสคริปต์-storybord
ใบความรู้ที่่ 3.2 บทสคริปต์-storybordใบความรู้ที่่ 3.2 บทสคริปต์-storybord
ใบความรู้ที่่ 3.2 บทสคริปต์-storybordSamorn Tara
 
ข้อมูลและสารสนเทศ ppt
ข้อมูลและสารสนเทศ pptข้อมูลและสารสนเทศ ppt
ข้อมูลและสารสนเทศ ppt
Latae Chutipas
 

What's hot (20)

คู่มือ Thunkable
คู่มือ Thunkableคู่มือ Thunkable
คู่มือ Thunkable
 
การเขียนบทประกอบภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Script Writing for Motion Graphic)
การเขียนบทประกอบภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Script Writing for Motion Graphic)การเขียนบทประกอบภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Script Writing for Motion Graphic)
การเขียนบทประกอบภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Script Writing for Motion Graphic)
 
แผนการสอน ผลิตสื่อวีดีทัศน์ ม.6
แผนการสอน ผลิตสื่อวีดีทัศน์ ม.6แผนการสอน ผลิตสื่อวีดีทัศน์ ม.6
แผนการสอน ผลิตสื่อวีดีทัศน์ ม.6
 
ใบงานที่ 1 เรื่องความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตัดต่อวิดีโอ
ใบงานที่ 1 เรื่องความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตัดต่อวิดีโอใบงานที่ 1 เรื่องความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตัดต่อวิดีโอ
ใบงานที่ 1 เรื่องความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตัดต่อวิดีโอ
 
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
 
หลักการจัดองค์ประกอบของงานภาพเคลื่อนไหว (Compositing)
หลักการจัดองค์ประกอบของงานภาพเคลื่อนไหว (Compositing)หลักการจัดองค์ประกอบของงานภาพเคลื่อนไหว (Compositing)
หลักการจัดองค์ประกอบของงานภาพเคลื่อนไหว (Compositing)
 
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Motion Graphic)
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว  (Motion Graphic)การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว  (Motion Graphic)
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Motion Graphic)
 
สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)
สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)
สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)
 
การใช้งานระบบปฏิสัมพันธ์ทางคอมพิวเตอร์ (Using Computer Interaction Systems)
การใช้งานระบบปฏิสัมพันธ์ทางคอมพิวเตอร์ (Using Computer Interaction Systems)การใช้งานระบบปฏิสัมพันธ์ทางคอมพิวเตอร์ (Using Computer Interaction Systems)
การใช้งานระบบปฏิสัมพันธ์ทางคอมพิวเตอร์ (Using Computer Interaction Systems)
 
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขายการเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
 
แผนการจัดการเรียนรู้ Active Learning เรื่อง กราฟิกเพื่อการสื่อสาร
แผนการจัดการเรียนรู้ Active Learning เรื่อง  กราฟิกเพื่อการสื่อสารแผนการจัดการเรียนรู้ Active Learning เรื่อง  กราฟิกเพื่อการสื่อสาร
แผนการจัดการเรียนรู้ Active Learning เรื่อง กราฟิกเพื่อการสื่อสาร
 
โครงงานตัดต่อวีดีโอ
โครงงานตัดต่อวีดีโอโครงงานตัดต่อวีดีโอ
โครงงานตัดต่อวีดีโอ
 
การสร้างสระบบนำชมด้วยเทคโนโลยีเสมือนจริง 3D Vista
การสร้างสระบบนำชมด้วยเทคโนโลยีเสมือนจริง 3D Vistaการสร้างสระบบนำชมด้วยเทคโนโลยีเสมือนจริง 3D Vista
การสร้างสระบบนำชมด้วยเทคโนโลยีเสมือนจริง 3D Vista
 
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบ
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบอินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบ
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบ
 
เทคนิคการเล่าเรื่องดิจิทัล (Digital Storytelling Technique)
เทคนิคการเล่าเรื่องดิจิทัล (Digital Storytelling Technique)เทคนิคการเล่าเรื่องดิจิทัล (Digital Storytelling Technique)
เทคนิคการเล่าเรื่องดิจิทัล (Digital Storytelling Technique)
 
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverse
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverseการสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverse
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverse
 
วิดีโอสำหรับมัลติมีเดีย (Video for Multimedia)
วิดีโอสำหรับมัลติมีเดีย (Video for Multimedia)วิดีโอสำหรับมัลติมีเดีย (Video for Multimedia)
วิดีโอสำหรับมัลติมีเดีย (Video for Multimedia)
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
ใบความรู้ที่่ 3.2 บทสคริปต์-storybord
ใบความรู้ที่่ 3.2 บทสคริปต์-storybordใบความรู้ที่่ 3.2 บทสคริปต์-storybord
ใบความรู้ที่่ 3.2 บทสคริปต์-storybord
 
ข้อมูลและสารสนเทศ ppt
ข้อมูลและสารสนเทศ pptข้อมูลและสารสนเทศ ppt
ข้อมูลและสารสนเทศ ppt
 

Viewers also liked

บทที่4
บทที่4บทที่4
การสร้างเว็บไซต์
การสร้างเว็บไซต์การสร้างเว็บไซต์
การสร้างเว็บไซต์
vjvovjvoxx
 
Competency Assessment System
Competency Assessment SystemCompetency Assessment System
Competency Assessment System
Prachyanun Nilsook
 
ใบความรู้ที่ 1 ประวัติความเป็นมาphotoshop
ใบความรู้ที่ 1 ประวัติความเป็นมาphotoshopใบความรู้ที่ 1 ประวัติความเป็นมาphotoshop
ใบความรู้ที่ 1 ประวัติความเป็นมาphotoshopNoofang DarkAnegl
 
สารสนเทศเพื่อการบริหารทางการศึกษา01
สารสนเทศเพื่อการบริหารทางการศึกษา01สารสนเทศเพื่อการบริหารทางการศึกษา01
สารสนเทศเพื่อการบริหารทางการศึกษา01
Prachyanun Nilsook
 
คู่มือโปรแกรม Articulate storyline อย่างง่าย
คู่มือโปรแกรม Articulate storyline อย่างง่ายคู่มือโปรแกรม Articulate storyline อย่างง่าย
คู่มือโปรแกรม Articulate storyline อย่างง่ายNorasit Plengrudsamee
 
ส มมมนาแก ไข หล_งนำเสนอ
ส มมมนาแก ไข หล_งนำเสนอส มมมนาแก ไข หล_งนำเสนอ
ส มมมนาแก ไข หล_งนำเสนอ
Chicharito Iamjang
 
2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare
2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare
2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare
SlideShare
 
What to Upload to SlideShare
What to Upload to SlideShareWhat to Upload to SlideShare
What to Upload to SlideShare
SlideShare
 
Getting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShareGetting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShare
SlideShare
 

Viewers also liked (10)

บทที่4
บทที่4บทที่4
บทที่4
 
การสร้างเว็บไซต์
การสร้างเว็บไซต์การสร้างเว็บไซต์
การสร้างเว็บไซต์
 
Competency Assessment System
Competency Assessment SystemCompetency Assessment System
Competency Assessment System
 
ใบความรู้ที่ 1 ประวัติความเป็นมาphotoshop
ใบความรู้ที่ 1 ประวัติความเป็นมาphotoshopใบความรู้ที่ 1 ประวัติความเป็นมาphotoshop
ใบความรู้ที่ 1 ประวัติความเป็นมาphotoshop
 
สารสนเทศเพื่อการบริหารทางการศึกษา01
สารสนเทศเพื่อการบริหารทางการศึกษา01สารสนเทศเพื่อการบริหารทางการศึกษา01
สารสนเทศเพื่อการบริหารทางการศึกษา01
 
คู่มือโปรแกรม Articulate storyline อย่างง่าย
คู่มือโปรแกรม Articulate storyline อย่างง่ายคู่มือโปรแกรม Articulate storyline อย่างง่าย
คู่มือโปรแกรม Articulate storyline อย่างง่าย
 
ส มมมนาแก ไข หล_งนำเสนอ
ส มมมนาแก ไข หล_งนำเสนอส มมมนาแก ไข หล_งนำเสนอ
ส มมมนาแก ไข หล_งนำเสนอ
 
2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare
2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare
2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare
 
What to Upload to SlideShare
What to Upload to SlideShareWhat to Upload to SlideShare
What to Upload to SlideShare
 
Getting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShareGetting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShare
 

Similar to หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 พื้นฐานการสร้างเว็บไซต์

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรแบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรChalita Vitamilkz
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงานแบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงานPop Cholthicha
 
นุ๊ก
นุ๊กนุ๊ก
นุ๊กsirinet
 
หวิว
หวิวหวิว
หวิวViewMik
 
รออกแบบเว็บไซต์
รออกแบบเว็บไซต์รออกแบบเว็บไซต์
รออกแบบเว็บไซต์sirinet
 
หมวย
หมวยหมวย
หมวยsirinet
 
ดรีม
ดรีมดรีม
ดรีมsirinet
 
หมวย
หมวยหมวย
หมวยsirinet
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงานแบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงานShe's Mammai
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Sirintip Kongchanta
 
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ตเขมิกา กุลาศรี
 
อินทุอร
อินทุอรอินทุอร
อินทุอรMiw Inthuorn
 
อินทุอร
อินทุอรอินทุอร
อินทุอรMiw Inthuorn
 

Similar to หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 พื้นฐานการสร้างเว็บไซต์ (20)

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรแบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงานแบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
 
นุ๊ก
นุ๊กนุ๊ก
นุ๊ก
 
หวิว
หวิวหวิว
หวิว
 
รออกแบบเว็บไซต์
รออกแบบเว็บไซต์รออกแบบเว็บไซต์
รออกแบบเว็บไซต์
 
โบ
โบโบ
โบ
 
Best
BestBest
Best
 
หมวย
หมวยหมวย
หมวย
 
ดรีม
ดรีมดรีม
ดรีม
 
หมวย
หมวยหมวย
หมวย
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงานแบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Twcag2010
Twcag2010Twcag2010
Twcag2010
 
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
 
อินทุอร
อินทุอรอินทุอร
อินทุอร
 
อินทุอร
อินทุอรอินทุอร
อินทุอร
 
Yuu
YuuYuu
Yuu
 
New
NewNew
New
 
Ten
TenTen
Ten
 
Unit1new (1)
Unit1new (1)Unit1new (1)
Unit1new (1)
 

Recently uploaded

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 

Recently uploaded (10)

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 พื้นฐานการสร้างเว็บไซต์

  • 2. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต อินเตอร์เน็ต (Internet) เป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่ใหญ่ที่สุดในโลกซึ่งรวมเอาเครือข่ายย่อยเป็น จานวนมากต่อเชื่อมภายใต้มาตรฐานเดียวกันจนเป็น เครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ ทาให้ทั่วโลกเชื่อมโยง กัน เป็นเครือข่ายเดียวกันได้ในแพลตฟอร์มของ เวิลด์ ไวด์ เว็บ (World Wide Web) ลักษณะของเวิล์ด ไวด์ เว็บ (World Wide Web) เวิล์ด ไวด์ เว็บ (World Wide Web – www) หรือเรียกย่อ ๆ ว่า เว็บ (web) เป็นอินเตอร์เน็ตชนิ หนึ่ง ที่อยู่ในรูปแบบของกราฟิกและมัลติมีเดีย ซึ่งประกอบด้วยข้อความ (Text) ภาพ (Graphic) เสีย (Sound) และ ภาพเคลื่อนไหว (Movie) เป็นต้นผู้ใช้ทั่วไปสามารถเข้าไปในเว็บได้ง่าย และจะได้รับข้อมูล ครบถ้วนปัจจุบัน ถ้าพูดถึงอินเตอร์เน็ต คนทั่วไปจะเข้าใจว่าหมายถึงเว็บ ทั้งที่จริงแล้วเว็บเป็นส่วนหนึ่งของ อินเตอร์เน็ตเท่า นั้น เว็บไซต์ (Website) และเว็บเพจ (Webpage) เอกสารหรือส่วนที่ติดต่อกับผู้ใช้ในเว็บ เรียกว่า เว็บเพจ (Webpage) หมายถึงเอกสารหนึ่งหน้า การ ใช้เว็บก็คือการเปิดอ่านหรือเปิดใช้เว็บแต่ละหน้านั่นเอง เว็บเพจอาจสร้างขึ้นด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ เช่น HTML, ASP, PHP, JAVA ฯลฯ เมื่อนาเว็บเพจหลาย ๆ หน้ามารวมกัน และระบุอยู่ในอินเตอร์เน็ต หรือ ยูอาร์แอล (Uniform Resource Locator – URL) ให้กับเว็บเพจกลุ่มนั้นจะเรียกว่า เว็บไซต์ (Web Site) เมื่อเปิดเว็บไซต์ขึ้นมาจะพบกับหน้าแรกของเว็บไซต์ ซึ่งเรียกว่าโฮมเพจ (Homepage) ซึ่งเป็น หน้าที่ สาคัญที่สุดและเป็นหน้าที่จะเชื่อมโยงไปยังเว็บเพจและเว็บไซต์อื่น ๆ เว็บเบราเซอร์ (Web Browser) เเว็บเบราเซอร์ (Web Browser) คือโปรแกรมที่ใช้สาหรับเปิดเว็บเพจหรือ รับส่งข้อมูลตามที่ เครื่องลูกข่ายร้องขอเมื่อเราเปิดเข้าสู่อินเตอร์เน็ต เว็บเบราเซอร์ที่ได้รับความนิยมปัจจุบันมีหลายโปรแกรม เช่น Microsoft Internet Explorer (IE), Mozilla Firefox, Opera, และ Google Chrome
  • 4. ภาษา HTML ภาษา HTML ย่อมาจากคาว่า Hypertext Markup Language เป็นภาษาที่ใช้สาหรับสร้างเว็บเพจ โดยจะได้รับการแปลหรือการแสดงผลโดยเว็บ เบราเซอร์ซึ่งสามารถแสดงได้ทั้งข้อความ ภาพ และเสียง โครงสร้างหลักของภาษา HTML ในไฟล์เอกสาร HTML ประกอบด้วย สองส่วนใหญ่ๆ คือ ส่วนหัว HEAD และ ส่วนตัว BODY 1) Tag <HTML> และ </HTML> จะอยู่บรรทัดแรก และ บรรทัดสุดท้าย ในไฟล์ HTML เสมอ เป็น Tag ที่บอกให้รู้ว่า ข้อความ หรือ Tag ที่อยู่ระหว่าง 2 Tag นี้ เป็นแบบ HTML 2) Tag <HEAD> และ </HEAD> ส่วนนี้จะไว้ใส่ รายละเอียดต่าง ๆ เช่น Tag<TITLE>TodayLoad.com</TITLE> ไว้ใส่ข้อความที่ต้องการให้ปรากฎอยู่บน ไตเติ้ลบาร์ เป็นต้น 3) <BODY ....... > ข้อความที่ปรากฎอยู่ตรงช่วงจุดไข่ปลา 4) Tag <BODY> และ </BODY> ข้อความ หรือ Tag ที่อยู่ระหว่าง 2 Tag นี้ เป็นส่วนของเนื้อหา โดเมนเนม (Domain Name) โดเมนเนม (Domain Name) หรือที่เข้าใจกันทั่วไป คือ ชื่อเรียกเว็บไซต์นั่นเอง การจดทะเบียน โดเมนเนมจึงเป็นการลงทะเบียนชื่อให้กับเว็บไซต์ของเราในโลกอินเตอร์เน็ต โดเมนเนมที่ขอจดทะเบียน จะต้องไม่ซ้ากับคนอื่น และควรตั้งให้เกี่ยวข้องกับเนื้อหาภายในเว็บไซต์ หรือเกี่ยวข้องกับสินค้าและบริการ ตลอดจนใช้คาง่าย ๆ ให้จาได้ เช่น sanook.com และ yahoo.com เป็นต้น
  • 6. หลักการออกแบบเว็บไซต์ หลักการออกแบบเว็บไซต์สามารถแบ่งออกเป็นขั้นตอนต่าง ๆ เพื่อให้เหมาะสมกับผู้เริ่มต้นใช้เป็น แนวทาง ในการสร้างและพัฒนาเว็บไซต์ - การวางแผน การวางแผนนับว่ามีความสาคัญมากในการสร้างเว็บไซต์ เพื่อให้การทางานในขั้นตอนต่าง ๆ มีแนว ทางที่ ชัดเจนและสามารถปฏิบัติได้ตามที่ตั้งเป้าไว้ ซึ่งประกอบด้วย - การกาหนดเนื้อหาและจุดประสงค์ของเว็บไซต์ การกาหนดเนื้อหาและจุดประสงค์ของเว็บไซต์ที่จะสร้าง นับเป็นสิ่งสาคัญอย่างมากในการเริ่มต้นสร้างเว็บไซต์ เลยทีเดียว เพื่อให้เห็นภาพว่าเราต้องการนาเสนอข้อมูลแบบใด เช่น เว็บไซต์เพื่อให้ข้อมูลข่าวสาร การบริการ ด้านต่าง ๆ หรือขายสินค้า เป็นต้น เมื่อสามารถกาหนดจุดประสงค์ของเว็บไซต์ได้แล้ว เงื่อนไขเหล่านี้จะเป็น ตัวกาหนดโครง สร้างรูปแบบรวมถึงหน้าตา และสีเว็บไซต์ของเราด้วย - การกาหนดกลุ่มเป้าหมาย เพื่อให้การสร้างและออกแบบเว็บไวต์ได้รับความนิยม การกาหนดกลุ่มเป้าหมายในการเข้าชมเว็บไซต์ก็นับว่ามี ส่วนสาคัญไม่น้อย เช่น เว็บไซต์สาหรับเยาวชน นักเรียน นักศึกษาในการค้นหาข้อมูล หรือเว็บไซต์สาหรับ บุคคลทั่วไปที่เข้าไปใช้บริการต่าง ๆ เป็นต้น - การเตรียมข้อมูล เนื้อหาหรือข้อมูลจัดว่าเป็นสิ่งที่เชิญชวนให้ผู้อื่นเข้ามาเยี่ยมชมเว็บไซต์ และต้องทราบว่าข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ สามารถนามาจากแหล่งใดบ้าง เช่น การคิดนาเสนอข้อมูลด้วยตัวเอง หรือนาข้อมูลที่น่าสนใจมาจากสื่ออื่น เช่น หนังสือพิมพ์ แมกกาซีน เว็บไซต์ และที่สาคัญ ขออนุญาตเจ้าของบทความก่อนเพื่อป้องกันเรื่องลิขสิทธิ์ด้วย - การเตรียมสิ่งต่าง ๆ ที่จาเป็น ในการออกแบบเว็บไซต์ต้องอาศัยความสามารถต่าง ๆ เช่น โปรแกรมสาหรัสร้าง เว็บไซต์ ภาพเคลื่อนไหว มัลติมีเดีย การจดโดเมนเนม การหาผู้ให้บริการรับฝากเว็บไซต์ (Web Hosting) เป็นต้น - การจัดโครงสร้างข้อมูล เมื่อได้ข้อมูลต่าง ๆ เช่น กาหนดเนื้อหาและจุดประสงค์ของเว็บไซต์ การกาหนดกลุ่มเป้าหมาย การเตรียม ข้อมูล การเตรียมสิ่งต่าง ๆ ที่จาเป็นจากขั้นแรกเรียบร้อยแล้ว ในขั้นตอนนี้ เราจะจัดระบบเพื่อใช้เป็นกรอบ สาหรับการออกแบบและดาเนินการในขั้นตอนต่อไป ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้ • โครงสร้างและสารบัญของเว็บไซต์ • การใช้ระบบนาผู้เข้าชมไปยังส่วนต่าง ๆ ภายในเว็บไซต์หรือที่เราเรียกว่าระบบนาทาง (Navigation) • องค์ประกอบที่ต้องนามาใช้ เช่น สื่อมัลติมีเดีย ภาพกราฟิก แบบฟอร์มต่าง ๆ • การกาหนดรูปแบบและลักษณะของเว็บเพจ • การกาหนดฐานข้อมูล ภาษาสคริปต์หรือแอปพลิเคชันที่นามาใช้ในเว็บไซต์ • การบริการเสริมต่าง ๆ • การออกแบบเว็บไซต์
  • 7. นับเป็นขั้นตอนในการออกแบบรูปร่าง โครงสร้างและลักษณะทางด้านกราฟิกของหน้าเว็บเพจโดย โปรแกรมที่เหมาะสมในการออกแบบคือ Photoshop หรือ Fireworks ซึ่งจะช่วยในการสร้างเค้าโครงของหน้า เว็บและองค์ประกอบต่าง ๆ เช่น ชื่อเว็บไซต์ โลโก้ รูปไอคอน ปุ่มไอคอน ภาพเคลื่อนไหว แบนเนอร์โฆษณา เป็นต้น ในการออกแบบเว็บไซต์นั้นยังต้องคานึงถึงสีสันและรูปแบบของส่วนประกอบต่าง ๆ ที่ไม่ใช่ ภาพกราฟิก เช่น ขนาดของตัวอักษร สีของข้อความ สีพื้น ลวดลายของเส้นกรอบเพื่อความสวยงามและดึงดูด ผู้เยี่ยมชมด้วย
  • 8. ส่วนประกอบของหน้าเว็บเพจ เราสามารถจาแนกส่วนประกอบของหน้าเว็บเพจ เป็น 3 ส่วน ดังนี้ 1. ส่วนหัว (Page Header) จะอยู่บริเวณบนสุดของหน้าเว็บเพจ เป็นส่วนที่แสดงชื่อ เว็บไซต์ โลโก้ แบนเนอร์โฆษณาลิงก์สาหรับข้ามไปยังหน้าเว็บอื่น 2. ส่วนเนื้อหา (Page Body) อยู่บริเวณตอนกลางของหน้าเว็บเพจ ซึ่งเป็นส่วนที่แสดงเนื้อหาภายใน หน้าเว็บเพจนั้น โดยประกอบด้วยข้อความ ข้อมูล ภาพเคลื่อนไหว เป็นต้น
  • 9. 3. ส่วนท้าย (Page Footer) อยู่บริเวณด้านล่างสุดของหน้าเว็บเพจ ส่วนมากใช้สาหรับลิงก์ข้อความ สั้นๆ เข้าใจง่าย หรือจะมีชื่อเจ้าของเว็บไซต์ อีเมลแอดเดรสของผู้ดูแลเว็บไซต์สาหรับติดต่อกับทางเว็บไซต์ สรุปส่วนประกอบของหน้าเว็บเพจ
  • 10. แนวคิดในการออกแบบ - ดูจากเว็บไซต์อื่นเพื่อเป็นตัวอย่าง การดูจากเว็บไซต์อื่นบนอินเตอร์เน็ตเพื่อศึกษาเป็นตัวอย่างนั้น นับเป็นวิธีการที่ง่ายที่สุด แต่ก็ควรนาไปประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับเนื้อหาและกลุ่มเป้าหมายของเราด้วย - ศึกษาจากสื่อสิ่งพิมพ์ในรูปแบบต่างๆ สื่อสิ่งพิมพ์ในที่นี้ ได้แก่ แมกกาซีน โปสเตอร์โฆษณา โบรชัวร์ หรือหนังสือบางเล่มที่มีรูปแบบและจุดดึงดูดความสนใจ สามารถนามาประยุกต์ใช้ในเว็บไซต์ของเราได้เช่นกัน