SlideShare a Scribd company logo
1 of 27
 Information and Communication Technology แปลว่า เทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสาร หมายถึง
เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับข่าวสาร ข้อมูลและการสื่อสาร นับตั้งแต่การสร้าง การนามา
วิเคราะห์หรือประมวลผล การรับและส่งข้อมูล การจัดเก็บและการนาไปใช้งานใหม่
เทคโนโลยีเหล่านี้มักจะหมายถึง คอมพิวเตอร์ ซึ่งประกอบด้วยส่วนอุปกรณ์
(hardware) ส่วนคาสั่ง (software) และส่วนข้อมูล (data) และ ระบบการ
สื่อสารต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นโทรศัพท์ ระบบสื่อสารข้อมูล ดาวเทียมหรือเครื่องมือสื่อสารใด
ๆ ทั้งมีสายและไร้สาย (ความ หมายตามที่ให้ไว้ในแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการ
สื่อสารของประเทศไทย พ.ศ. 2545-2549) เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมีความ
จาเป็น ต่อชีวิตประจาวันทุกวันนี้อย่างยิ่ง จึงตั้งหน่วยงานขึ้นรองรับและบริการ เกิดเป็น
กระทรวงใหม่ชื่อ “กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อ สาร-Ministry of
Information and Communication Technology” หรือกระทรวงไอซี
ที-ICT
ระบบสารสนเทศคอมพิวเตอร์ ประกอบด้วยส่วนประกอบหลัก 6
ส่วน คือ
(1) ฮาร์ดแวร์ (Hardware) หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์
และอุปกรณ์ต่อพ่วง เช่นแป้ นพิมพ์ เมาส์ หน่วยประมวลผลกลาง
จอภาพ เครื่องพิมพ์ และอุปกรณ์อื่น ๆ ฮาร์ดแวร์จะทางานตาม
โปรแกรมหรือซอฟต์แวร์ที่เขียนขึ้น
(2) ซอฟต์แวร์ (Software) บางครั้งเรียกว่าโปรแกรม หรือ
ชุดคาสั่งวัตถุประสงค์หลักของซอฟต์แวร์ที่สั่งให้ฮาร์ดแวร์ทางาน
คือการประมวลผลข้อมูล (Data) ให้เป็นสารสนเทศ
(Information)
(3) ข้อมูลหรือข้อสารสนเทศ (Dataหรือ Information)ใน
การประมวลผลข้อมูล คอมพิวเตอร์จะประมวลผลตามข้อมูลหรือ
ข้อสนเทศที่ป้ อนเข้าสู่หน่วยรับข้อมูล ดังนั้นข้อมูลจึงเป็นส่วนสาคัญ
อย่างหนึ่งในการประมวลผลเพื่อให้ได้สารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ
(4) ผู้ใช้ (User) การทางานของคอมพิวเตอร์จาเป็นต้องให้ผู้ใช้
สั่งงาน
(5) กระบวนการทางาน (Procedure) เป็นขั้นตอนการทางาน
เพื่อให้ได้ผลลัพธ์หรือข้อสนเทศจากคอมพิวเตอร์ ในการทางานกัวบ
คอมพิวเตอร์จาเป็นที่ผู้ใช้จะต้องเข้าใจขั้นตอนการทางานเพื่อให้ได้
งานที่ถูกต้องและมีประสิทธภาพ
(6) บุคลากรทางสารสนเทศ (Information systems
personnel) เป็นส่วนที่สาคัญของระบบสารสนเทศ
คอมพิวเตอร์ เพื่อจัดการให้คอมพิวเตอร์ทางานได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ ตลอดจนทางานร่วมกับผู้ใช้ อย่างใกล้ชิด
 1.3.1 ด้านการศึกษา
 1. การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ทาให้ผู้ที่อยู่ห่างไกลหรือไม่
สะดวกในการเดินทางสามารถได้รับการศึกษาเช่นเดียวกับผู้ที่อยู่ในเมือง
 2. บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ยังช่วยเสริมประสิทธิภาพการเรียนการสอนใน
วิชาต่างๆ เช่น ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ ภาษาต่างประเทศ ทาให้บทเรียนมีความน่าสนใจ
มากขึ้น และเกิดความเข้าใจได้ง่ายขึ้น เช่น การแสดงสถาณการณ์จาลอง
แบบจาลอง ภาพเคลื่อนไหว แสงสีและเสียงประกอบ นักเรียนสามารถเตรียมตัว
ก่อนเรียน หรือทบทวนบทเรียนด้วยตนเองเมื่อใดก็ได้ที่มีเวลาว่าง
 3. บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ เพิ่มโอกาสในการเรียนรู้ให้กับผู้พิการ
ทางสายตาหรือหู

1.3.2 ด้านการแพทย์และสาธารณสุข เทคโนโลยีสารสนเทศและ
การสื่อสารถูกนามาใช้เริ่มต้งแต่การทาทะเบียนคนไข้ การ
รักษาพยาบาลทั่วไป ตลอดจนการวินิจฉัยและรักษาโรคต่างๆ ได้
อย่ารวดเร็วและแม่นยา นอกจากนี้ยังใช้ในห้องทดลอง การศึกษา
และการวิจัยทางการแพทย์ รักษาคนไข้ด้วยระบบการรักษาทางไกล
ตลอดเวลาผ่านเครือข่ายการสื่อสาร เครื่องเอ็กซเรย์คอมพิวเตอร์ที่
เรียกว่า อีเอ็มไอสแกนเนอร์ ( EMI scanner ) ถูกนามาใช้
ถ่ายภาพสมองมนุษย์เพื่อตรวจหาความผิดปกติในสมอง
 1.3.3 ด้านการเกษตรและอุตสาหกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศและการ
สื่อสารถูกนามาใช้ประโยชน์ในด้านเกษตรกรรม เช่น การจัดทาระบบ
ข้อมูลเพื่อการเกษตรและพยากรณ์ผลผลิตด้านการเกษตร นอกจากนี้ยัง
ช่วยพัฒนาความก้าวหน้าทางด้านอุตสาหกรรม การประดิษฐ์หุ่นยนต์
เพื่อใช้ทางานบ้าน และหุ่นยนต์เพื่องานอุตสาหกรรมที่ต้องเสี่ยงภัยและ
เป็นอันตรายต่อสุขภาพ เช่น โรงงาน สารเคมี โรงผลิตและควบคุมการ
จ่ายไฟฟ้ า รวมถึงงานที่ต้องทาซ้าๆ เช่น โรงงานประกอบรถยนต์ และ
โรงงานแบตเตอรี่ ปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเข้ามามี
บทบาทอย่างมากในการผลิตและควบคุมคุณภาพสินค้า การส่งสินค้า
ตามใบสางสินค้า การควบคุมวัสดุคงคลัง และการคิดราคาต้นทุนสินค้า
ตัวอย่างเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในด้านอุตสาหกรรม
 1.3.4 ด้านการเงินการธนาคาร เทคโนโลยีสารสนเทศและการ
สื่อสารถูกนามาใช้ในด้านการเงินและธนาคาร โดยใช้ช่วยงานด้น
บัญชี การฝากถอนเงิน โอนเงิน บริการสินเชื่อ แลกเปลี่ยนเงินตรา
บริการข่าวสารการธนาคาร การใช้คอมพิวเตอร์ด้านการเงินการ
ธนาคารที่รู้จักและนิยมใช้กันทั่วไป เช่น บริการฝากถอนเงิน การโอน
เงินแบบอิเล็กทรอนิกส์ ทาให้เกิดความสะดวกรวดเร็วต่อการดาเนิน
ธุรกิจต่างๆ
 1.3.5 ด้านความมั่นคง มีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการ
สื่อสารกันอย่างแพร่หลาย เช่น ใช้ในการควบคุมประสานงานวงจร
สื่อสารทหาร การแปลรหัสลับในงานจารกรรมระหว่างประเทศ การ
ส่งดาวทียมและการคานวณวิถีการโคจรของจรวดไปสู่อวกาศ
สานักงานตารวจแห่งชาติของประเทศไทยมีศูนย์ประมวลข่าวสาร มี
ระบบมีระบบจัดทาระเบียนปืน ทะเบียนประวัติอาชญากร ทาให้เกิด
ความสะดวกและรวดเร็วในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสืบสวนคดี
ต่างๆ ตัวอย่างเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารก้านความมั่นคง
 1.3.6 ด้านการคมนาคม มีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการ
สื่อสารในส่วนที่เกี่ยวกับการเดินทาง เช่น การเดินทางโดยรถไฟ มี
กรเชื่อมโยงข้อมูลการจองที่นั่งไปยังทุกสถานี ทาให้สะดวกต่อ
ผู้โดยสาร
 1.3.7 ด้านวิศวกรรมและสถาปัตยกรรม มีการใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสารในการออกแบบ หรือจาลองสภาวการณ์
ต่างๆ เช่น การรับแรงสั่นสะเทือนของอาคารเมื่อเกิดแผ่นดินไหว
โดยการคานวณและแสดงภาพสถานการณ์ใกล้เคียงความจริง
ตัวอย่างซอฟแวร์การเกิดแผ่นดินไหว
 1.3.8 ด้านการพาณิชย์ องค์กรในภาคธุรกิจใช้ประโยชน์จาก
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการบริหารจัดการ เพื่อช่วยเพิ่ม
ความยืดหยุ่นให้กับองค์กรในการทางาน ทาให้การประสานงานหรือการ
ทากิจกรรมต่างๆ ของแต่ละหน่วยงานในองค์กร หรือระหว่างองค์กร
เป็นไปได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น นอกจากนี้ยังสามารถนามาใช้
ปรับปรุงการให้บริการกับลูกค้าซึ่งเป็นการสร้างภาพพจน์ที่ดีของ
องค์กรต่อลูกค้าทั่วไป สิ่งเหล่านี้นับเป็นการสร้างโอกาสความได้เปรียบ
แช่งขันให้กับองค์กร ตัวอย่างของการนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการ
สื่อสารมาใช้ในด้านการพาณิชย์ เช่น การให้บริการชาระค่าสินค้าบริการ
การสั่งซื้อสินค้าทางอินเทอร์เน็ต และการตรวจสอบราคาสินค้าผ่าน
เครื่องอ่านราคาสินค้า
 1.4.1 ด้านอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เมื่อพิจารณา
เครือข่ายการสื่อสารทั่วไปจากอดีตจนถึงปัจจุบัน เห็นได้ชัดว่ามนุษย์ใช้
อุปกรณ์การสื่อสารแบบพกพามากขึ้นเรื่อยๆ เริ่มจากวิทยุเรียกตัว
(pager) ซึ่งเป็นเครื่องรับข้อความ มาเป็นโทรศัพท์เคลื่อนที่ อุปกรณ์
สื่อสารชนิดนี้ได้ถูกพัฒนาจนสามารถใช้งานด้านอื่นๆได้ นอกจากการ
พูดคุยธรรมดา โทรศัพท์เคลื่อนที่รุ่นใหม่สามารถใช้ถ่ายรูป ฟังเพลง ฟัง
วิทยุ ดูโทรทัศน์ บันทึกงานสั้นๆ โทรศัพท์บางรุ่นมีลักษณะเป็นเครื่อง
ช่วยงานส่วนบุคคล (Personal Digital Assistant :
PDA) ซึ่งสามารถเชื่อต่อกับอินเทอร์เน็ตได้ อีกทั้งยังมีหน้าจอแบบ
สัมผัส ทาให้สะดวกต่อการใช้งานมากขึ้น บางรุ่นมีอุปกรณ์สไตลัส
(stylus) คือใช้ปากกาป้ อนข้อมูลทางหน้าจอ บางรุ่นสามารถสั่งการ
ด้วยเสียง
1.4.2 ด้านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบเครือข่าย
คอมพิวเตอร์ในอดีตมักเป็นระบบที่ใช้คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์
เชื่อมต่อตรงเพียงชุดเดียว ( stand alone ) ต่อมามีการเชื่อ
ต่อคอมพิวเตอร์เข้าด้วยกันภายในองค์กร เพื่อทาให้สามารถใช้
ข้อมูลร่วมกัน หรือใช้เครื่องพิมพ์ร่วมกัน จนเกิดเป็นระบบรับและ
ให้บริการ หรือเรียกว่าระบบรับ-ให้บริการ ( client-server
system ) โดยมีเครื่องให้บริการ ( server ) และเครื่องรับ
บริการ ( client )
 1.4.3 ด้านเทคโนโลยี ระบบทางานอัตโนมัติที่สามารถตัดสินใจ
ได้เองจะเข้ามาแทนที่มากขึ้น เช่น ระบบแนะนาเส้นทางจราจร ระบบ
จอดรถ ระบบตรวจหาตาแหน่งของวัตถุ ระบบควบคุมความ
ปลอดภัยภายในอาคาร ระบบทางานอัตโนมัติเช่นนี้ อาจกลายเป็น
ระบบหลักในการดาเนินการของหน่วยงานต่างๆ โดยเข้ามาแทนที่
การทางานของมนุษย์ มีการเชื่อมต่อเครือข่ายอย่างกว้างขวางไปยัง
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องมากกว่าที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน ตัวอย่างระบบ
จอดรถอัตโนมัติ
 1) ด้านสังคม สภาพเหมือนจริง การใช้อินเทอร์เน็ตเชื่อมโยงการ
ทางานต่างๆ จนเกิดเป็นสังคมที่ติดต่อผ่านทางอินเทอร์เน็ต หรือที่
รู้จักกันว่า ไวเบอร์สเปซ (cyber space) ซึ่งมีกิจกรรมต่างๆ
เช่น การพูดคุย การซื้อสินค้า และการบริการ การทางานผ่าน
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ทาให้เกิดสภาพที่เหมือนจริง (virtual) เช่น
เกมเสมือนจริง ห้องสมุดเสมือนจริง พิพิธภัณฑ์เสมือนจริง ห้อง
ประชุมเสมือนจริง และที่ทางานเสมือนจริง ซึ่งทาไห้ลดเวลาในการ
เดินทางและสามารถใช้งานได้ทุกที่ทุกเวลา
 2) ด้านเศรษฐกิจ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารส่งผลให้
เกิดสังคมโลกาภิวัฒน์(globalization) เพราะสามารถชมข่าว
ชมรายการโทรทัศน์ที่จะส่งกระจายผ่านดาวเทียมของประเทศต่างๆ
ได้ทั่วโลก สามารถรับรู้ข่าวสารได้ทันที ใช้อินเทอร์เน็ตในการ
ติดต่อสื่อสารระหว่างกัน ระบบเศรษฐกิจซึ่งแต่เดิมมีขอบเขตจากัด
ภายในประเทศ ก็กระจายเป็นเศรษฐกิจโลก เกิดกระแสการ
หมุนเวียนแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการอย่างกว้างขวางและรวดเร็ว
ระบบเศรษฐกิจของทุกประเทศในโลกจึงเชื่อมโยงและผูกพันกันมาก
ขึ้น
 3) ด้านสิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มี
ประโยชน์ในด้านธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เช่น ระบบป้ องกันการกัด
เซาะชายฝั่ง โดยใช้ภาพถ่ายดาวเทียม หรือภาพถ่ายทางอากาศ
ร่วมกับการจดเก็บรักษาข้อมูลระดับน้าทะเล ความสูงของคลื่นจาก
ระบบเรดาร์ เป็นการศึกษาเพื่อหาสาเหตุ และนาข้อมูลมาวางแผน
และสร้างระบบเพื่อป้ องกันการกัดเซาะชายฝั่งแต่ละแห่งได้อย่าง
เหมาะสม
นักเขียนโปรแกรมหรือโปรแกรมเมอร์ (Programmer)
ทาหน้าที่ในการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อใช้ในงานด้าน
ต่างๆ เช่น โปรแกรมเกี่ยวกับการซื้อขายสินค้าโปรแกรมที่ใช้กับงาน
ด้านบัญชี หรือโปรแกรมที่ใช้กับระบบงานขนาดใหญ่ขององค์กร
นักวิเคราะห์ระบบ (System analyst)
 ทาหน้าที่ในการศึกษาวิเคราะห์และพัฒนาระบบสารสนเทศ
นักวิเคราะห์และพัฒนาระบบสารสนเทศ นักวิเคราะห์ระบบจะทาการ
วิเคราะห์ระบบงานและออกแบบระบบสารสนเทศให้ตรงกับความ
ต้องการของผู้ใช้งาน ซึ่งอาจรวมถึงงานด้านการออกแบบ
ฐานข้อมูลด้วย
ผู้ดูแลและบริหารฐานข้อมูล
(Database administrator)
 ทาหน้าที่บริหารและจัดการฐานข้อมูล
(Database) รวมถึงการออกแบบ บารุงรักษาข้อมูล และการ
ดูแลระบบความปลอดภัยของฐานข้อมูล เช่น การกาหนดบัญชีผู้ใช้
การกาหนดสิทธิ์ผู้ใช้
ผู้ดูแลและบริหารระบบ (System administrator)
 ทาหน้าที่บริหารและจัดการระบบคอมพิวเตอร์ในองค์กร
โดยดูแลการติดตั้งและบารุงรักษาระบบปฏิบัติการ การติดตั้ง
ฮาร์ดแวร์ การติดตั้งและการปรับปรุงซอฟต์แวร์ สร้าง ออกแบบ
และบารุงรักษาบัญชีผู้ใช้ สาหรับองค์กรขนาดเล็กเจ้าหน้าที่ควบคุม
ระบบอาจต้องดูแลและบริหารระบบเครือข่ายด้วย
ผู้ดูแลและบริหารระบบเครือข่าย (Network
administrator)
 ทาหน้าที่บริหารและจัดการออกแบบระบบเครือข่าย
คอมพิวเตอร์ และดูแลรักษาความปลอดภัยของระบบเครือข่ายของ
องค์กร เช่น ตรวจสอบการใช้งานเครือข่ายของพนักงานและติดตั้ง
โปรแกรมป้ องกันผู้บุกรุกเครือข่าย
ผู้พัฒนาและบริหารระบบเว็บไซต์ (Webmaster)
 ทาหน้าที่ออกแบบพัฒนา ปรับปรุงและบารุงรักษาเว็บไซต์
ให้มีความทันสมัย โดยเฉพะอย่างยิ่งต้องมีการปรับปรุงข้อมูลให้เป็น
ปัจจุบันอยู่เสมอ
เจ้าหน้าที่เทคนิค (Technician)
 ทาหน้าที่ซ่อมบารุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์ ติดตั้ง
โปรแกรม หรือติดตั้งฮาร์ดแวร์ต่างๆ และแก้ไขปัญหาที่อาจเกิดจาก
การใช้งานอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ในองค์กร
https://sites.google.com/site/zaibana04/les
son1/lesson

More Related Content

What's hot

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารsmileoic
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารMapowzee Dahajee
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร อัส
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร  อัสบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร  อัส
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร อัสArt Asn
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารAuraiwan Worrasiri
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารkanokwan8941
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสาร
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสารบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสาร
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสารkaewwonnesakun
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารjongkoi
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศnatdanai phetdeethon
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารPim
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารPimเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารPim
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารPimproncharita
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ kiwikiiwii
 
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้TDew Ko
 
Computing science unit 3
Computing science unit 3Computing science unit 3
Computing science unit 3Chompooh Cyp
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารTuaLek Kitkoot
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารmay18323
 

What's hot (20)

Chap1 new
Chap1 newChap1 new
Chap1 new
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร อัส
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร  อัสบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร  อัส
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร อัส
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสาร
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสารบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสาร
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสาร
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
คอม
คอมคอม
คอม
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารPim
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารPimเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารPim
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารPim
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
Part1
Part1Part1
Part1
 
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
Computing science unit 3
Computing science unit 3Computing science unit 3
Computing science unit 3
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 

Similar to บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารปิยะดนัย วิเคียน
 
Introduction to Information Technology for Learning
Introduction to Information Technology for LearningIntroduction to Information Technology for Learning
Introduction to Information Technology for Learningkhon Kaen University
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้ว
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้วเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้ว
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้วfrankenjay
 
งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกดG'ad Smile
 
ประโยชน์และตัวอย่างการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ประโยชน์และตัวอย่างการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารประโยชน์และตัวอย่างการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ประโยชน์และตัวอย่างการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารปิยะดนัย วิเคียน
 
งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกดG'ad Smile
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศkruchanon2555
 
เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้นเทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้นTitima
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศTitima
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารปิยะดนัย วิเคียน
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศssuser64d17e1
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศssuser64d17e1
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อโรงเรียนไทย
เทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อโรงเรียนไทยเทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อโรงเรียนไทย
เทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อโรงเรียนไทยJomjam C'Thicha
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศWarakon Phommanee
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร khrosamon
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารbuntitaaaaa
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารbuntitaaaaa
 

Similar to บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (20)

ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
Introduction to Information Technology for Learning
Introduction to Information Technology for LearningIntroduction to Information Technology for Learning
Introduction to Information Technology for Learning
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้ว
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้วเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้ว
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้ว
 
งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกด
 
ประโยชน์และตัวอย่างการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ประโยชน์และตัวอย่างการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารประโยชน์และตัวอย่างการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ประโยชน์และตัวอย่างการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกด
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้นเทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
Nattanan
NattananNattanan
Nattanan
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อโรงเรียนไทย
เทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อโรงเรียนไทยเทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อโรงเรียนไทย
เทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อโรงเรียนไทย
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
Work3-30
Work3-30Work3-30
Work3-30
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 

บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

  • 1.
  • 2.  Information and Communication Technology แปลว่า เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร หมายถึง เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับข่าวสาร ข้อมูลและการสื่อสาร นับตั้งแต่การสร้าง การนามา วิเคราะห์หรือประมวลผล การรับและส่งข้อมูล การจัดเก็บและการนาไปใช้งานใหม่ เทคโนโลยีเหล่านี้มักจะหมายถึง คอมพิวเตอร์ ซึ่งประกอบด้วยส่วนอุปกรณ์ (hardware) ส่วนคาสั่ง (software) และส่วนข้อมูล (data) และ ระบบการ สื่อสารต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นโทรศัพท์ ระบบสื่อสารข้อมูล ดาวเทียมหรือเครื่องมือสื่อสารใด ๆ ทั้งมีสายและไร้สาย (ความ หมายตามที่ให้ไว้ในแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสารของประเทศไทย พ.ศ. 2545-2549) เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมีความ จาเป็น ต่อชีวิตประจาวันทุกวันนี้อย่างยิ่ง จึงตั้งหน่วยงานขึ้นรองรับและบริการ เกิดเป็น กระทรวงใหม่ชื่อ “กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อ สาร-Ministry of Information and Communication Technology” หรือกระทรวงไอซี ที-ICT
  • 3. ระบบสารสนเทศคอมพิวเตอร์ ประกอบด้วยส่วนประกอบหลัก 6 ส่วน คือ (1) ฮาร์ดแวร์ (Hardware) หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ต่อพ่วง เช่นแป้ นพิมพ์ เมาส์ หน่วยประมวลผลกลาง จอภาพ เครื่องพิมพ์ และอุปกรณ์อื่น ๆ ฮาร์ดแวร์จะทางานตาม โปรแกรมหรือซอฟต์แวร์ที่เขียนขึ้น
  • 4. (2) ซอฟต์แวร์ (Software) บางครั้งเรียกว่าโปรแกรม หรือ ชุดคาสั่งวัตถุประสงค์หลักของซอฟต์แวร์ที่สั่งให้ฮาร์ดแวร์ทางาน คือการประมวลผลข้อมูล (Data) ให้เป็นสารสนเทศ (Information)
  • 5. (3) ข้อมูลหรือข้อสารสนเทศ (Dataหรือ Information)ใน การประมวลผลข้อมูล คอมพิวเตอร์จะประมวลผลตามข้อมูลหรือ ข้อสนเทศที่ป้ อนเข้าสู่หน่วยรับข้อมูล ดังนั้นข้อมูลจึงเป็นส่วนสาคัญ อย่างหนึ่งในการประมวลผลเพื่อให้ได้สารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ
  • 6. (4) ผู้ใช้ (User) การทางานของคอมพิวเตอร์จาเป็นต้องให้ผู้ใช้ สั่งงาน (5) กระบวนการทางาน (Procedure) เป็นขั้นตอนการทางาน เพื่อให้ได้ผลลัพธ์หรือข้อสนเทศจากคอมพิวเตอร์ ในการทางานกัวบ คอมพิวเตอร์จาเป็นที่ผู้ใช้จะต้องเข้าใจขั้นตอนการทางานเพื่อให้ได้ งานที่ถูกต้องและมีประสิทธภาพ
  • 7. (6) บุคลากรทางสารสนเทศ (Information systems personnel) เป็นส่วนที่สาคัญของระบบสารสนเทศ คอมพิวเตอร์ เพื่อจัดการให้คอมพิวเตอร์ทางานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ตลอดจนทางานร่วมกับผู้ใช้ อย่างใกล้ชิด
  • 8.  1.3.1 ด้านการศึกษา  1. การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ทาให้ผู้ที่อยู่ห่างไกลหรือไม่ สะดวกในการเดินทางสามารถได้รับการศึกษาเช่นเดียวกับผู้ที่อยู่ในเมือง  2. บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ยังช่วยเสริมประสิทธิภาพการเรียนการสอนใน วิชาต่างๆ เช่น ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ ภาษาต่างประเทศ ทาให้บทเรียนมีความน่าสนใจ มากขึ้น และเกิดความเข้าใจได้ง่ายขึ้น เช่น การแสดงสถาณการณ์จาลอง แบบจาลอง ภาพเคลื่อนไหว แสงสีและเสียงประกอบ นักเรียนสามารถเตรียมตัว ก่อนเรียน หรือทบทวนบทเรียนด้วยตนเองเมื่อใดก็ได้ที่มีเวลาว่าง  3. บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ เพิ่มโอกาสในการเรียนรู้ให้กับผู้พิการ ทางสายตาหรือหู 
  • 9. 1.3.2 ด้านการแพทย์และสาธารณสุข เทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสารถูกนามาใช้เริ่มต้งแต่การทาทะเบียนคนไข้ การ รักษาพยาบาลทั่วไป ตลอดจนการวินิจฉัยและรักษาโรคต่างๆ ได้ อย่ารวดเร็วและแม่นยา นอกจากนี้ยังใช้ในห้องทดลอง การศึกษา และการวิจัยทางการแพทย์ รักษาคนไข้ด้วยระบบการรักษาทางไกล ตลอดเวลาผ่านเครือข่ายการสื่อสาร เครื่องเอ็กซเรย์คอมพิวเตอร์ที่ เรียกว่า อีเอ็มไอสแกนเนอร์ ( EMI scanner ) ถูกนามาใช้ ถ่ายภาพสมองมนุษย์เพื่อตรวจหาความผิดปกติในสมอง
  • 10.  1.3.3 ด้านการเกษตรและอุตสาหกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสารถูกนามาใช้ประโยชน์ในด้านเกษตรกรรม เช่น การจัดทาระบบ ข้อมูลเพื่อการเกษตรและพยากรณ์ผลผลิตด้านการเกษตร นอกจากนี้ยัง ช่วยพัฒนาความก้าวหน้าทางด้านอุตสาหกรรม การประดิษฐ์หุ่นยนต์ เพื่อใช้ทางานบ้าน และหุ่นยนต์เพื่องานอุตสาหกรรมที่ต้องเสี่ยงภัยและ เป็นอันตรายต่อสุขภาพ เช่น โรงงาน สารเคมี โรงผลิตและควบคุมการ จ่ายไฟฟ้ า รวมถึงงานที่ต้องทาซ้าๆ เช่น โรงงานประกอบรถยนต์ และ โรงงานแบตเตอรี่ ปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเข้ามามี บทบาทอย่างมากในการผลิตและควบคุมคุณภาพสินค้า การส่งสินค้า ตามใบสางสินค้า การควบคุมวัสดุคงคลัง และการคิดราคาต้นทุนสินค้า ตัวอย่างเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในด้านอุตสาหกรรม
  • 11.  1.3.4 ด้านการเงินการธนาคาร เทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสารถูกนามาใช้ในด้านการเงินและธนาคาร โดยใช้ช่วยงานด้น บัญชี การฝากถอนเงิน โอนเงิน บริการสินเชื่อ แลกเปลี่ยนเงินตรา บริการข่าวสารการธนาคาร การใช้คอมพิวเตอร์ด้านการเงินการ ธนาคารที่รู้จักและนิยมใช้กันทั่วไป เช่น บริการฝากถอนเงิน การโอน เงินแบบอิเล็กทรอนิกส์ ทาให้เกิดความสะดวกรวดเร็วต่อการดาเนิน ธุรกิจต่างๆ
  • 12.  1.3.5 ด้านความมั่นคง มีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสารกันอย่างแพร่หลาย เช่น ใช้ในการควบคุมประสานงานวงจร สื่อสารทหาร การแปลรหัสลับในงานจารกรรมระหว่างประเทศ การ ส่งดาวทียมและการคานวณวิถีการโคจรของจรวดไปสู่อวกาศ สานักงานตารวจแห่งชาติของประเทศไทยมีศูนย์ประมวลข่าวสาร มี ระบบมีระบบจัดทาระเบียนปืน ทะเบียนประวัติอาชญากร ทาให้เกิด ความสะดวกและรวดเร็วในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสืบสวนคดี ต่างๆ ตัวอย่างเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารก้านความมั่นคง
  • 13.  1.3.6 ด้านการคมนาคม มีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสารในส่วนที่เกี่ยวกับการเดินทาง เช่น การเดินทางโดยรถไฟ มี กรเชื่อมโยงข้อมูลการจองที่นั่งไปยังทุกสถานี ทาให้สะดวกต่อ ผู้โดยสาร  1.3.7 ด้านวิศวกรรมและสถาปัตยกรรม มีการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารในการออกแบบ หรือจาลองสภาวการณ์ ต่างๆ เช่น การรับแรงสั่นสะเทือนของอาคารเมื่อเกิดแผ่นดินไหว โดยการคานวณและแสดงภาพสถานการณ์ใกล้เคียงความจริง ตัวอย่างซอฟแวร์การเกิดแผ่นดินไหว
  • 14.  1.3.8 ด้านการพาณิชย์ องค์กรในภาคธุรกิจใช้ประโยชน์จาก เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการบริหารจัดการ เพื่อช่วยเพิ่ม ความยืดหยุ่นให้กับองค์กรในการทางาน ทาให้การประสานงานหรือการ ทากิจกรรมต่างๆ ของแต่ละหน่วยงานในองค์กร หรือระหว่างองค์กร เป็นไปได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น นอกจากนี้ยังสามารถนามาใช้ ปรับปรุงการให้บริการกับลูกค้าซึ่งเป็นการสร้างภาพพจน์ที่ดีของ องค์กรต่อลูกค้าทั่วไป สิ่งเหล่านี้นับเป็นการสร้างโอกาสความได้เปรียบ แช่งขันให้กับองค์กร ตัวอย่างของการนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสารมาใช้ในด้านการพาณิชย์ เช่น การให้บริการชาระค่าสินค้าบริการ การสั่งซื้อสินค้าทางอินเทอร์เน็ต และการตรวจสอบราคาสินค้าผ่าน เครื่องอ่านราคาสินค้า
  • 15.  1.4.1 ด้านอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เมื่อพิจารณา เครือข่ายการสื่อสารทั่วไปจากอดีตจนถึงปัจจุบัน เห็นได้ชัดว่ามนุษย์ใช้ อุปกรณ์การสื่อสารแบบพกพามากขึ้นเรื่อยๆ เริ่มจากวิทยุเรียกตัว (pager) ซึ่งเป็นเครื่องรับข้อความ มาเป็นโทรศัพท์เคลื่อนที่ อุปกรณ์ สื่อสารชนิดนี้ได้ถูกพัฒนาจนสามารถใช้งานด้านอื่นๆได้ นอกจากการ พูดคุยธรรมดา โทรศัพท์เคลื่อนที่รุ่นใหม่สามารถใช้ถ่ายรูป ฟังเพลง ฟัง วิทยุ ดูโทรทัศน์ บันทึกงานสั้นๆ โทรศัพท์บางรุ่นมีลักษณะเป็นเครื่อง ช่วยงานส่วนบุคคล (Personal Digital Assistant : PDA) ซึ่งสามารถเชื่อต่อกับอินเทอร์เน็ตได้ อีกทั้งยังมีหน้าจอแบบ สัมผัส ทาให้สะดวกต่อการใช้งานมากขึ้น บางรุ่นมีอุปกรณ์สไตลัส (stylus) คือใช้ปากกาป้ อนข้อมูลทางหน้าจอ บางรุ่นสามารถสั่งการ ด้วยเสียง
  • 16. 1.4.2 ด้านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบเครือข่าย คอมพิวเตอร์ในอดีตมักเป็นระบบที่ใช้คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ เชื่อมต่อตรงเพียงชุดเดียว ( stand alone ) ต่อมามีการเชื่อ ต่อคอมพิวเตอร์เข้าด้วยกันภายในองค์กร เพื่อทาให้สามารถใช้ ข้อมูลร่วมกัน หรือใช้เครื่องพิมพ์ร่วมกัน จนเกิดเป็นระบบรับและ ให้บริการ หรือเรียกว่าระบบรับ-ให้บริการ ( client-server system ) โดยมีเครื่องให้บริการ ( server ) และเครื่องรับ บริการ ( client )
  • 17.  1.4.3 ด้านเทคโนโลยี ระบบทางานอัตโนมัติที่สามารถตัดสินใจ ได้เองจะเข้ามาแทนที่มากขึ้น เช่น ระบบแนะนาเส้นทางจราจร ระบบ จอดรถ ระบบตรวจหาตาแหน่งของวัตถุ ระบบควบคุมความ ปลอดภัยภายในอาคาร ระบบทางานอัตโนมัติเช่นนี้ อาจกลายเป็น ระบบหลักในการดาเนินการของหน่วยงานต่างๆ โดยเข้ามาแทนที่ การทางานของมนุษย์ มีการเชื่อมต่อเครือข่ายอย่างกว้างขวางไปยัง หน่วยงานที่เกี่ยวข้องมากกว่าที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน ตัวอย่างระบบ จอดรถอัตโนมัติ
  • 18.  1) ด้านสังคม สภาพเหมือนจริง การใช้อินเทอร์เน็ตเชื่อมโยงการ ทางานต่างๆ จนเกิดเป็นสังคมที่ติดต่อผ่านทางอินเทอร์เน็ต หรือที่ รู้จักกันว่า ไวเบอร์สเปซ (cyber space) ซึ่งมีกิจกรรมต่างๆ เช่น การพูดคุย การซื้อสินค้า และการบริการ การทางานผ่าน เครือข่ายคอมพิวเตอร์ทาให้เกิดสภาพที่เหมือนจริง (virtual) เช่น เกมเสมือนจริง ห้องสมุดเสมือนจริง พิพิธภัณฑ์เสมือนจริง ห้อง ประชุมเสมือนจริง และที่ทางานเสมือนจริง ซึ่งทาไห้ลดเวลาในการ เดินทางและสามารถใช้งานได้ทุกที่ทุกเวลา
  • 19.  2) ด้านเศรษฐกิจ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารส่งผลให้ เกิดสังคมโลกาภิวัฒน์(globalization) เพราะสามารถชมข่าว ชมรายการโทรทัศน์ที่จะส่งกระจายผ่านดาวเทียมของประเทศต่างๆ ได้ทั่วโลก สามารถรับรู้ข่าวสารได้ทันที ใช้อินเทอร์เน็ตในการ ติดต่อสื่อสารระหว่างกัน ระบบเศรษฐกิจซึ่งแต่เดิมมีขอบเขตจากัด ภายในประเทศ ก็กระจายเป็นเศรษฐกิจโลก เกิดกระแสการ หมุนเวียนแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการอย่างกว้างขวางและรวดเร็ว ระบบเศรษฐกิจของทุกประเทศในโลกจึงเชื่อมโยงและผูกพันกันมาก ขึ้น
  • 20.  3) ด้านสิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มี ประโยชน์ในด้านธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เช่น ระบบป้ องกันการกัด เซาะชายฝั่ง โดยใช้ภาพถ่ายดาวเทียม หรือภาพถ่ายทางอากาศ ร่วมกับการจดเก็บรักษาข้อมูลระดับน้าทะเล ความสูงของคลื่นจาก ระบบเรดาร์ เป็นการศึกษาเพื่อหาสาเหตุ และนาข้อมูลมาวางแผน และสร้างระบบเพื่อป้ องกันการกัดเซาะชายฝั่งแต่ละแห่งได้อย่าง เหมาะสม
  • 21. นักเขียนโปรแกรมหรือโปรแกรมเมอร์ (Programmer) ทาหน้าที่ในการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อใช้ในงานด้าน ต่างๆ เช่น โปรแกรมเกี่ยวกับการซื้อขายสินค้าโปรแกรมที่ใช้กับงาน ด้านบัญชี หรือโปรแกรมที่ใช้กับระบบงานขนาดใหญ่ขององค์กร
  • 22. นักวิเคราะห์ระบบ (System analyst)  ทาหน้าที่ในการศึกษาวิเคราะห์และพัฒนาระบบสารสนเทศ นักวิเคราะห์และพัฒนาระบบสารสนเทศ นักวิเคราะห์ระบบจะทาการ วิเคราะห์ระบบงานและออกแบบระบบสารสนเทศให้ตรงกับความ ต้องการของผู้ใช้งาน ซึ่งอาจรวมถึงงานด้านการออกแบบ ฐานข้อมูลด้วย
  • 23. ผู้ดูแลและบริหารฐานข้อมูล (Database administrator)  ทาหน้าที่บริหารและจัดการฐานข้อมูล (Database) รวมถึงการออกแบบ บารุงรักษาข้อมูล และการ ดูแลระบบความปลอดภัยของฐานข้อมูล เช่น การกาหนดบัญชีผู้ใช้ การกาหนดสิทธิ์ผู้ใช้
  • 24. ผู้ดูแลและบริหารระบบ (System administrator)  ทาหน้าที่บริหารและจัดการระบบคอมพิวเตอร์ในองค์กร โดยดูแลการติดตั้งและบารุงรักษาระบบปฏิบัติการ การติดตั้ง ฮาร์ดแวร์ การติดตั้งและการปรับปรุงซอฟต์แวร์ สร้าง ออกแบบ และบารุงรักษาบัญชีผู้ใช้ สาหรับองค์กรขนาดเล็กเจ้าหน้าที่ควบคุม ระบบอาจต้องดูแลและบริหารระบบเครือข่ายด้วย
  • 25. ผู้ดูแลและบริหารระบบเครือข่าย (Network administrator)  ทาหน้าที่บริหารและจัดการออกแบบระบบเครือข่าย คอมพิวเตอร์ และดูแลรักษาความปลอดภัยของระบบเครือข่ายของ องค์กร เช่น ตรวจสอบการใช้งานเครือข่ายของพนักงานและติดตั้ง โปรแกรมป้ องกันผู้บุกรุกเครือข่าย
  • 26. ผู้พัฒนาและบริหารระบบเว็บไซต์ (Webmaster)  ทาหน้าที่ออกแบบพัฒนา ปรับปรุงและบารุงรักษาเว็บไซต์ ให้มีความทันสมัย โดยเฉพะอย่างยิ่งต้องมีการปรับปรุงข้อมูลให้เป็น ปัจจุบันอยู่เสมอ เจ้าหน้าที่เทคนิค (Technician)  ทาหน้าที่ซ่อมบารุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์ ติดตั้ง โปรแกรม หรือติดตั้งฮาร์ดแวร์ต่างๆ และแก้ไขปัญหาที่อาจเกิดจาก การใช้งานอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ในองค์กร