SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 พัฒนาการอาเซียน
รายวิชา บทบาทอาเซียนในสังคมโลก (ส 23203)
ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559
ครูผู้สอน นางสาววิภาดา ต๊ะวงศ์
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
โรงเรียนเทศบาล ๑ กิตติขจร สังกัดเทศบาลเมืองตาก จังหวัดตาก
ยุคก่อนกฎบัตรอาเซียน
(พ.ศ. 2510-2550 หรือ ค.ศ. 1967-2007)
 สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of
Southeast Asian Nations) หรือ ASEAN
จัดตั้งขึ้นตามปฏิญญาอาเซียน (ปฏิญญากรุงเทพฯ) ลงนามที่ประเทศ
ไทยณ พระราชวังสราญรมย์ เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2510
โดยมีสาระสาคัญ คือ การส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศสมาชิก
อาเซียนด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม วิทยาศาสตร์
การเกษตร อุตสาหกรรม คมนาคม รวมทั้งยกระดับรายได้ความเป็นอยู่ของ
ประชาชน
 โดยมีสมาชิกก่อตั้ง 5 ประเทศ ได้แก่ อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และไทย
ผู้นาของประเทศผู้ก่อตั้งอาเซียน ที่ร่วมลงปฏิญญาอาเซียน
- สาธารณรัฐอินโดนีเซีย นายอาดัม มาลิก (รัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่างประเทศ)
- ประเทศมาเลเซีย ตุน อับดุล ราชัก บิน ฮุสเซน (รองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี
กลาโหมและรัฐมนตรีกระทรวงพัฒนาการแห่งชาติ)
- สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ นายนาซิโซ รามอส (รัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่างประเทศ)
- สาธารณรัฐสิงคโปร์ นายเอส ราชารัตนัม (รัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่างประเทศ)
- ประเทศไทย พันเอก (พิเศษ) ถนัด คอมันตร์ (รัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่างประเทศ)
 ต่อมา ได้มีประเทศอื่นๆ เข้าเป็นสมาชิกอาเซียนในปีต่อๆ มา ดังนี้
- บรูไนดารุสซาลาม เป็นสมาชิกเมื่อ ๘ มกราคม ๒๕๒๗
- สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม เป็นสมาชิกเมื่อ ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๓๙
- สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว เป็นสมาชิกเมื่อ ๒๓ กรกฎาคม ๒๕๔๐
- สหภาพพม่า เป็นสมาชิกเมื่อ ๒๓ กรกฎาคม ๒๕๔๐
- ราชอาณาจักรกัมพูชา เป็นสมาชิกเมื่อ ๓๐ เมษายน ๒๕๔๒
 อาเซียนได้พัฒนาความร่วมมือแบบคู่เจรจากับประเทศ/กลุ่มประเทศต่างๆ ได้แก่
ออสเตรเลีย (2520) นิวซีแลนด์ (2521) ญี่ปุ่น (2523) แคนาดา (2523)
สหรัฐฯ (2523) ประชาคมยุโรป (2523) สาธารณรัฐเกาหลี (2534) จีน
(2534) รัสเซีย (2534) อินเดีย (2535)
 มีการประชุมสุดยอดกับผู้นา จีน ญี่ปุ่น สาธารณรัฐเกาหลี ซึ่งเรียกว่าอาเซียนบวกสาม
 การประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก (East Asia Summit-EAS) เป็น
ประจาทุกปี
พัฒนาการที่สาคัญของอาเซียนด้านการเมืองและความมั่นคง
 การจัดทาสนธิสัญญามิตรภาพและความร่วมมือในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Treaty
of Amity and Cooperation in Southeast Asia)
 การออกเอกสาร Zone of Peace, Freedom and
Neutrality (ZOPFAN)
 สนธิสัญญาเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Treaty on
the Southeast Asia Nuclear Weapon-Free
Zone
 การประชุมอาเซียนว่าด้วยความร่วมมือด้านความมั่นคงในภูมิภาคเอเชีย-
แปซิฟิก (ASEAN Regional Forum)
 ความร่วมมือเพื่อแก้ไขปัญหาที่กระทบเสถียรภาพในภูมิภาค เช่น สงครามในกัมพูชา การ
ผลักดันให้มีพัฒนาการทางการเมืองในพม่า และความร่วมมือด้านการต่อต้านการก่อการ
ร้าย เป็นต้น
พัฒนาการสาคัญของอาเซียนด้านเศรษฐกิจ
 การจัดทาเขตการค้าเสรีอาเซียน (ASEAN Free Trade Area:
AFTA ซึ่งเป็นข้อเสนอของไทย) เขตการลงทุนอาเซียน (ASEAN
Investment Area: AIA) ที่เป็นรากฐานในการพัฒนาไปสู่ประชาคม
เศรษฐกิจอาเซียน
 การส่งเสริมการลดช่องว่างด้านการพัฒนาระหว่างประเทศสมาชิก (Initiative
on ASEAN Integration: IAI)
พัฒนาการด้านสังคมและวัฒนธรรม
 การสร้างอาเซียนปลอดยาเสพติด
 ความร่วมมือด้านการศึกษา/ ไทยเป็นที่ตั้ง ASEAN University
Network
 ความร่วมมือด้านการจัดการโรคระบาด เช่น การจัดประชุมสุดยอดอาเซียน+3 เรื่อง
SARS ที่กรุงเทพฯ
 ความร่วมมือด้านสิ่งแวดล้อม
ยุคหลังกฎบัตร (พ.ศ. 2551-ปั จจุบัน หรือ ค.ศ. 2008-ปั จจุบัน)
 กระแสโลกาภิวัตน์ และความเปลี่ยนแปลงในบริบทการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมในภูมิภาค
และโลก บทบาทของประเทศในภูมิภาค เช่น จีน อินเดีย การรวมตัวทางเศรษฐกิจใน
ภูมิภาคและอนุภูมิภาคต่างๆ รวมทั้งปัญหาความมั่นคงในรูปแบบใหม่ๆ ทาให้อาเซียนต้อง
ปรับตัวให้เข้ากับ
 ที่ประชุมสุดยอดอาเซียนที่บาหลีปี 2546 (ค.ศ. 2003) จึงได้แสดงเจตนารมณ์ให้
สร้างประชาคมอาเซียนในปี 2563 (ค.ศ. 2020) ประกอบด้วย 3 เสาหลัก คือ
การเมืองและความมั่นคง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม และจัดทากฎบัตรอาเซียน
เพื่อให้อาเซียนเป็น rules-based organization
 โดยต่อมาในการประชุมสุดยอดอาเซียนที่เซบู ปี 2550 (ค.ศ. 2007) ผู้นาเห็นชอบ
ให้ปรับเป้าหมายการเป็นประชาคมอาเซียนเร่งขึ้นอีก 5 ปี เป็นปี 2558 (ค.ศ. 2015)
 กฎบัตรอาเซียนมีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2551 (ค.ศ. 2008)
เปรียบเสมือนธรรมนูญอาเซียนที่ให้นิติฐานะแก่อาเซียนและเป็นกรอบการดาเนินการ
ตามกฎหมายสาหรับประเทศสมาชิกอาเซียนทั้ง 10 ประเทศ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ
เพิ่มประสิทธิภาพในการดาเนินการให้แก่อาเซียน และเป็นพื้นฐานในการสร้างประชาคม
อาเซียนที่มีกฎเกณฑ์กติกาที่ชัดเจนและมีประชาชนเป็นศูนย์กลาง (people-
centred ASEAN)
 ประชุมสุดยอดอาเซียน ที่ชะอา-หัวหิน เมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2552 ได้ลงนาม
ปฏิญญา ชะอา หัวหิน ว่าด้วยแผนงานจัดตั้งประชาคมอาเซียน (ค.ศ. 2009-
2015) ซึ่งประกอบด้วย แผนงานจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนและประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน และแผนงาน
ยุทธศาสตร์เรื่องความริเริ่มเพื่อการรวมตัวของอาเซียนระยะที่ 2 (ค.ศ.2009-
2015)

More Related Content

Similar to 1.หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 พัฒนาการอาเซียน

ประชาคมอาเซียน%20(asean%20 community)[1]
ประชาคมอาเซียน%20(asean%20 community)[1]ประชาคมอาเซียน%20(asean%20 community)[1]
ประชาคมอาเซียน%20(asean%20 community)[1]
Chatuporn Chanruang
 
Ed building-asea ncommunity
Ed building-asea ncommunityEd building-asea ncommunity
Ed building-asea ncommunity
siripon25
 
อาเซียน คืออะไร
อาเซียน คืออะไรอาเซียน คืออะไร
อาเซียน คืออะไร
May Reborn
 
ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียน
nook555
 
โครงงาน การแต งกายในอาเซ ยน
โครงงาน การแต งกายในอาเซ ยนโครงงาน การแต งกายในอาเซ ยน
โครงงาน การแต งกายในอาเซ ยน
Unity' N Bc
 
โครงงาน การแต่งกายในอาเซียน
โครงงาน การแต่งกายในอาเซียนโครงงาน การแต่งกายในอาเซียน
โครงงาน การแต่งกายในอาเซียน
Nutthachai Thaobunrueang
 

Similar to 1.หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 พัฒนาการอาเซียน (20)

Asean - สมบูรณ์
Asean - สมบูรณ์Asean - สมบูรณ์
Asean - สมบูรณ์
 
58210401121
5821040112158210401121
58210401121
 
ประชาคมอาเซียน%20(asean%20 community)[1]
ประชาคมอาเซียน%20(asean%20 community)[1]ประชาคมอาเซียน%20(asean%20 community)[1]
ประชาคมอาเซียน%20(asean%20 community)[1]
 
กำเนิดอาเซียน1
กำเนิดอาเซียน1กำเนิดอาเซียน1
กำเนิดอาเซียน1
 
กำเนิดอาเซียน1
กำเนิดอาเซียน1กำเนิดอาเซียน1
กำเนิดอาเซียน1
 
กำเนิดอาเซียน1
กำเนิดอาเซียน1กำเนิดอาเซียน1
กำเนิดอาเซียน1
 
Asean m3
Asean m3Asean m3
Asean m3
 
Ed building-asea ncommunity
Ed building-asea ncommunityEd building-asea ncommunity
Ed building-asea ncommunity
 
ประวัติอาเซียน
ประวัติอาเซียนประวัติอาเซียน
ประวัติอาเซียน
 
Policy Brief 2/2562 เสริมสร้างบทบาทไทยในประชาคมอาเซียน: บทเรียนจาก ASEANTOM
Policy Brief 2/2562 เสริมสร้างบทบาทไทยในประชาคมอาเซียน: บทเรียนจาก ASEANTOMPolicy Brief 2/2562 เสริมสร้างบทบาทไทยในประชาคมอาเซียน: บทเรียนจาก ASEANTOM
Policy Brief 2/2562 เสริมสร้างบทบาทไทยในประชาคมอาเซียน: บทเรียนจาก ASEANTOM
 
Asean question mark
Asean question markAsean question mark
Asean question mark
 
Asean
AseanAsean
Asean
 
โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2
 
Dr.benjalug asean
Dr.benjalug aseanDr.benjalug asean
Dr.benjalug asean
 
อาเซียน คืออะไร
อาเซียน คืออะไรอาเซียน คืออะไร
อาเซียน คืออะไร
 
อาเซียน1
อาเซียน1อาเซียน1
อาเซียน1
 
อาเซียน1
อาเซียน1อาเซียน1
อาเซียน1
 
ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียน
 
โครงงาน การแต งกายในอาเซ ยน
โครงงาน การแต งกายในอาเซ ยนโครงงาน การแต งกายในอาเซ ยน
โครงงาน การแต งกายในอาเซ ยน
 
โครงงาน การแต่งกายในอาเซียน
โครงงาน การแต่งกายในอาเซียนโครงงาน การแต่งกายในอาเซียน
โครงงาน การแต่งกายในอาเซียน
 

1.หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 พัฒนาการอาเซียน

  • 1. หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 พัฒนาการอาเซียน รายวิชา บทบาทอาเซียนในสังคมโลก (ส 23203) ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 ครูผู้สอน นางสาววิภาดา ต๊ะวงศ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม โรงเรียนเทศบาล ๑ กิตติขจร สังกัดเทศบาลเมืองตาก จังหวัดตาก
  • 2. ยุคก่อนกฎบัตรอาเซียน (พ.ศ. 2510-2550 หรือ ค.ศ. 1967-2007)  สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of Southeast Asian Nations) หรือ ASEAN จัดตั้งขึ้นตามปฏิญญาอาเซียน (ปฏิญญากรุงเทพฯ) ลงนามที่ประเทศ ไทยณ พระราชวังสราญรมย์ เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2510 โดยมีสาระสาคัญ คือ การส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศสมาชิก อาเซียนด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม วิทยาศาสตร์ การเกษตร อุตสาหกรรม คมนาคม รวมทั้งยกระดับรายได้ความเป็นอยู่ของ ประชาชน
  • 3.  โดยมีสมาชิกก่อตั้ง 5 ประเทศ ได้แก่ อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และไทย ผู้นาของประเทศผู้ก่อตั้งอาเซียน ที่ร่วมลงปฏิญญาอาเซียน - สาธารณรัฐอินโดนีเซีย นายอาดัม มาลิก (รัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่างประเทศ) - ประเทศมาเลเซีย ตุน อับดุล ราชัก บิน ฮุสเซน (รองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี กลาโหมและรัฐมนตรีกระทรวงพัฒนาการแห่งชาติ) - สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ นายนาซิโซ รามอส (รัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่างประเทศ) - สาธารณรัฐสิงคโปร์ นายเอส ราชารัตนัม (รัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่างประเทศ) - ประเทศไทย พันเอก (พิเศษ) ถนัด คอมันตร์ (รัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่างประเทศ)
  • 4.
  • 5.  ต่อมา ได้มีประเทศอื่นๆ เข้าเป็นสมาชิกอาเซียนในปีต่อๆ มา ดังนี้ - บรูไนดารุสซาลาม เป็นสมาชิกเมื่อ ๘ มกราคม ๒๕๒๗ - สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม เป็นสมาชิกเมื่อ ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๓๙ - สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว เป็นสมาชิกเมื่อ ๒๓ กรกฎาคม ๒๕๔๐ - สหภาพพม่า เป็นสมาชิกเมื่อ ๒๓ กรกฎาคม ๒๕๔๐ - ราชอาณาจักรกัมพูชา เป็นสมาชิกเมื่อ ๓๐ เมษายน ๒๕๔๒
  • 6.  อาเซียนได้พัฒนาความร่วมมือแบบคู่เจรจากับประเทศ/กลุ่มประเทศต่างๆ ได้แก่ ออสเตรเลีย (2520) นิวซีแลนด์ (2521) ญี่ปุ่น (2523) แคนาดา (2523) สหรัฐฯ (2523) ประชาคมยุโรป (2523) สาธารณรัฐเกาหลี (2534) จีน (2534) รัสเซีย (2534) อินเดีย (2535)  มีการประชุมสุดยอดกับผู้นา จีน ญี่ปุ่น สาธารณรัฐเกาหลี ซึ่งเรียกว่าอาเซียนบวกสาม  การประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก (East Asia Summit-EAS) เป็น ประจาทุกปี
  • 7. พัฒนาการที่สาคัญของอาเซียนด้านการเมืองและความมั่นคง  การจัดทาสนธิสัญญามิตรภาพและความร่วมมือในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Treaty of Amity and Cooperation in Southeast Asia)  การออกเอกสาร Zone of Peace, Freedom and Neutrality (ZOPFAN)  สนธิสัญญาเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Treaty on the Southeast Asia Nuclear Weapon-Free Zone  การประชุมอาเซียนว่าด้วยความร่วมมือด้านความมั่นคงในภูมิภาคเอเชีย- แปซิฟิก (ASEAN Regional Forum)  ความร่วมมือเพื่อแก้ไขปัญหาที่กระทบเสถียรภาพในภูมิภาค เช่น สงครามในกัมพูชา การ ผลักดันให้มีพัฒนาการทางการเมืองในพม่า และความร่วมมือด้านการต่อต้านการก่อการ ร้าย เป็นต้น
  • 8. พัฒนาการสาคัญของอาเซียนด้านเศรษฐกิจ  การจัดทาเขตการค้าเสรีอาเซียน (ASEAN Free Trade Area: AFTA ซึ่งเป็นข้อเสนอของไทย) เขตการลงทุนอาเซียน (ASEAN Investment Area: AIA) ที่เป็นรากฐานในการพัฒนาไปสู่ประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน  การส่งเสริมการลดช่องว่างด้านการพัฒนาระหว่างประเทศสมาชิก (Initiative on ASEAN Integration: IAI)
  • 9. พัฒนาการด้านสังคมและวัฒนธรรม  การสร้างอาเซียนปลอดยาเสพติด  ความร่วมมือด้านการศึกษา/ ไทยเป็นที่ตั้ง ASEAN University Network  ความร่วมมือด้านการจัดการโรคระบาด เช่น การจัดประชุมสุดยอดอาเซียน+3 เรื่อง SARS ที่กรุงเทพฯ  ความร่วมมือด้านสิ่งแวดล้อม
  • 10. ยุคหลังกฎบัตร (พ.ศ. 2551-ปั จจุบัน หรือ ค.ศ. 2008-ปั จจุบัน)  กระแสโลกาภิวัตน์ และความเปลี่ยนแปลงในบริบทการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมในภูมิภาค และโลก บทบาทของประเทศในภูมิภาค เช่น จีน อินเดีย การรวมตัวทางเศรษฐกิจใน ภูมิภาคและอนุภูมิภาคต่างๆ รวมทั้งปัญหาความมั่นคงในรูปแบบใหม่ๆ ทาให้อาเซียนต้อง ปรับตัวให้เข้ากับ  ที่ประชุมสุดยอดอาเซียนที่บาหลีปี 2546 (ค.ศ. 2003) จึงได้แสดงเจตนารมณ์ให้ สร้างประชาคมอาเซียนในปี 2563 (ค.ศ. 2020) ประกอบด้วย 3 เสาหลัก คือ การเมืองและความมั่นคง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม และจัดทากฎบัตรอาเซียน เพื่อให้อาเซียนเป็น rules-based organization  โดยต่อมาในการประชุมสุดยอดอาเซียนที่เซบู ปี 2550 (ค.ศ. 2007) ผู้นาเห็นชอบ ให้ปรับเป้าหมายการเป็นประชาคมอาเซียนเร่งขึ้นอีก 5 ปี เป็นปี 2558 (ค.ศ. 2015)
  • 11.  กฎบัตรอาเซียนมีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2551 (ค.ศ. 2008) เปรียบเสมือนธรรมนูญอาเซียนที่ให้นิติฐานะแก่อาเซียนและเป็นกรอบการดาเนินการ ตามกฎหมายสาหรับประเทศสมาชิกอาเซียนทั้ง 10 ประเทศ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ เพิ่มประสิทธิภาพในการดาเนินการให้แก่อาเซียน และเป็นพื้นฐานในการสร้างประชาคม อาเซียนที่มีกฎเกณฑ์กติกาที่ชัดเจนและมีประชาชนเป็นศูนย์กลาง (people- centred ASEAN)
  • 12.  ประชุมสุดยอดอาเซียน ที่ชะอา-หัวหิน เมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2552 ได้ลงนาม ปฏิญญา ชะอา หัวหิน ว่าด้วยแผนงานจัดตั้งประชาคมอาเซียน (ค.ศ. 2009- 2015) ซึ่งประกอบด้วย แผนงานจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนและประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน และแผนงาน ยุทธศาสตร์เรื่องความริเริ่มเพื่อการรวมตัวของอาเซียนระยะที่ 2 (ค.ศ.2009- 2015)