SlideShare a Scribd company logo
1 of 27
Orjix
www.RongRean.com
หลักสูตร สร้างเว็บด้วย HTML: Session ที่ 3 ตอนที่ 2
ทดลองสร้างตาราง
<table>
<tr>
<td>
<p>this is table content.</p>
</td>
<td>
<p>this is table content2.</p>
</td>
</tr>
</table>
www.rongrean.com Orjix
<table> เป็นการประกาศว่าเริ่มสร้างตาราง
<tr> เป็นการประกาศสร้างแถว (row)
<td>เป็นการประกาศสร้างหลัก(column)
ผลที่ได้จากโค้ด จะสร้างตารางขึ้นมา 1 แถว 2
ช่อง แต่เราจะมองไม่เห็นเส้นขอบตาราง เนื่องจาก
โดยปรกติแล้วโปรแกรมจะซ่อนเส้นตารางไว้
การใส่หัวข้อ <th> และตีเส้นตาราง
<table border="1">
<tr>
<th>header1</th>
<th>header2</th>
</tr>
<tr>
<td>
this is table content.
</td>
<td>
this is table content2.
</td>
</tr>
</table>
www.rongrean.com Orjix
Attribute border=“1” ที่เราใส่
เข้าไปภายใต้tag table จะกาหนดให้
แสดงเส้นขอบตารางที่มีขนาดเท่ากับ 1
<th> ทางานเหมือนกับ <td> คือจะ
สร้าง column ขึ้นมา ต่างกับแค่ข้อความ
ที่อยู่ภายใต้<th> จะมีความหนาของ
ตัวอักษรมากกว่า และจัดให้ข้อความอยู่ตรง
กลางช่อง
การกาหนดข้อความกากับให้กับตาราง <caption>
<table border="1" width="20%">
<caption>this will show you how to make a caption</caption>
<tr>
<td>column1</td>
<td>column2</td>
</tr>
</table>
www.rongrean.com Orjix
เราสามารถใช้ attribute align=“…”
เพื่อกาหนดตาแหน่งของ caption ได้เช่น
<caption align=“bottom”>…..
ความหนาของเส้นตารางและความห่างของช่องเซลล์
<table border="10px" cellspacing="20px">
<tr>
<td>column1</td>
<td>column2</td>
</tr>
</table>
www.rongrean.com Orjix
เมื่อกาหนดความหนาของ border ให้เพิ่มขึ้น
ขนาดของเส้นขอบตารางจะเพิ่มขึ้นตาม
เมื่อกาหนดขนาดของ cellspacing ช่องว่าง
ระหว่างขอบตารางกับช่องของ column จะ
เพิ่มขึ้น
เว้นระยะระหว่างข้อมูลในเซลล์กับกรอบเซลล์
<table border="1px" cellpadding="20px">
<tr>
<td>column1</td>
<td>column2</td>
</tr>
</table>
www.rongrean.com Orjix
cellpadding จะเพิ่มขนาดของช่องว่างระหว่าง
ขอบของ column กับข้อความข้างใน
ปรับความกว้างและความสูงของตาราง
<table width="50%" border="1px">
<tr>
<td>
column1
</td>
<td>
column2
</td>
</tr>
</table>
*สังเกตูว่าความยาวของตาราง จะมีขนาดเป็นครึ่งเดียวของหน้าต่าง browser
www.rongrean.com Orjix
50%
50%
ปรับความกว้างและความสูงของตาราง
<table height="50%" border="1px">
<tr>
<td>
column1
</td>
<td>
column2
</td>
</tr>
</table>
*เช่นเดียวกันกับ width, height=“50%” จะทาให้ตารางมีความสูง
เท่ากับครึ่งนึงของความสูงทั้งหมดของ browser
www.rongrean.com Orjix
50%
50%
ปรับขนาดช่องเซลล์
<table border="1px">
<tr>
<td colspan="2">column1</td>
<td>column2</td>
</tr>
<tr>
<td>column3</td>
<td>column4</td>
<td>column5</td>
</tr>
</table>
www.rongrean.com Orjix
สังเกตว่า <tr> แรกนั้นมี column น้อยกว่า ซึ่ง
หากเราปล่อยไว้แบบเดิม ตารางจะอยู่ในรูปแบบนี้
ซึ่งทาให้ตารางดูไม่สวยงาม เกิดช่องว่างที่ไม่ได้ใช้งาน
เราจึงทาการรวม colunm แรกให้มีขนาดเท่ากับ 2
ช่อง
เราสามารถทาให้ column ที่ 2 เป็น 2 ช่องได้เช่นกัน
ปรับขนาดช่องเซลล์
<table border="1px">
<tr>
<td rowspan="2">column1</td>
<td>column2</td>
</tr>
<tr>
<td>column3</td>
<td>column4</td>
<td>column5</td>
</tr>
</table>
www.rongrean.com Orjix
rowspan จะรวมช่องตารางในแนวตั้ง และดันตารางที่
เหลือไปข้างหลัง ทาให้ column ของ <tr> ที่ 2 ถูก
ผลักถอยหลังไปอีก 1 ช่อง
*rowspan จะรวมช่องของตารางที่อยู่ต่ากว่า
เพราะฉะนั้น ถ้าเราใส่ rowspan ไปใน <tr> อันที่ 2
จะไม่เกิดผลใดๆ เพราะไม่มีแถวที่อยู่ต่ากว่าแถวที่สองแล้ว
การกาหนดสีในช่องเซลล์
<table border="1px” bgcolor="#00ff00">
<tr>
<td>column1</td>
<td>column2</td>
</tr>
</table>
<table border="1px">
<tr>
<td bgcolor="#00ff00">column1</td>
<td>column2</td>
</tr>
</table>
www.rongrean.com Orjix
Attribute “bgcolor” จะกาหนดสีของพื้น
หลังของตาราง
สังเกตว่า ถ้าเราใส่ attribute นี้ไว้ภายใต้
<table> จะเปลี่ยนสีของทั้งตาราง
แต่ถ้าเราใส่ attribute นี้ไว้ภายใต้<td> หรือ
<tr> สีก็จะเกิดขึ้นกับ column หรือ row
นั้นๆ เท่านั้น
ใส่สีให้กรอบของตาราง
<table border="1px" bordercolor="#00ff00">
<tr>
<td>column1</td>
<td>column2</td>
</tr>
<tr>
<td>column3</td>
<td>column4</td>
</tr>
</table>
www.rongrean.com Orjix
ใส่รูปภาพให้กับพื้นหลังของตาราง
<table border="1px" background="rockman.jpg">
<tr>
<td>column1</td>
<td>column2</td>
</tr>
<tr>
<td>column3</td>
<td>column4</td>
</tr>
</table>
www.rongrean.com Orjix
BEFORE
AFTER
ใส่รูปภาพให้กับพื้นหลังของตาราง
www.rongrean.com Orjix
<table border="1px" width="100%" height="100%">
<tr>
<td background="rockmanzx.jpg">column1</td>
<td>column2</td>
</tr>
<tr>
<td>column3</td>
<td background=“
band.jpg">column4
</td>
</tr>
</table>
*กรณีที่ใส่รูปพื้นหลังของแต่ละช่อง(column)ใน
ตาราง
กาหนดการแสดงเส้นของตาราง
<table border="1px" frame="border" rules="all">
<tr>
<td>column1</td>
<td>column2</td>
<td>column3</td>
</tr>
<tr>
<td>column4</td>
<td>column5</td>
<td>column6</td>
</tr>
<tr>
<td>column7</td>
<td>column8</td>
<td>column9</td>
</tr>
</table>
www.rongrean.com Orjix
Attribute ที่ใช้ในการกาหนดเส้นของตารางคือ
frame และ rules
โดย frame กาหนดเส้นของรอบนอก และ rules
กาหนดเส้นภายในตาราง
rules
frame
Attribute ของ frame
www.rongrean.com Orjix
คาสั่ง รายละเอียด
Above แสดงเฉพาะเส้นด้านบนของช่องเซลล์
Below แสดงเฉพาะเส้นด้านล่างของช่องเซลล์
Border แสดงเส้นทุกๆด้าน
Box แสดงเส้นทุกๆด้าน
Hsides แสดงเส้นแนวนอนทุกเส้น
Lhs แสดงเฉพาะเส้นด้านซ้ายของช่องเซลล์
Rhs แสดงเฉพาะเส้นด้านขวาของช่องเซลล์
Void ไม่แสดงเส้นกรอบ
Vsides แสดงเส้นแนวตั้งทุกเส้น
Attribute ของ rules
www.rongrean.com Orjix
คาสั่ง รายละเอียด
All แสดงเส้นแบ่งช่องเซลล์ทุกเส้น
Cols แสดงเส้นแบ่งช่องเซลล์เฉพาะเส้น column
Group แสดงเฉพาะเส้นแบ่งกลุ่มเซลล์ที่เกิดจากแท็ก thead,
tbody, tfoot หรือ colgroup
None ไม่แสดงเส้นแบ่งช่องเซลล์
Rows แสดงเส้นแบ่งช่องเซลล์เฉพาะเส้น row
จัดตาแหน่งข้อมูลในตาราง
เราสามารถจัดข้อมูลที่แสดงให้อยู่ชิดขวา ชิดซ้าย หรือตรงกลางได้ดังนี้
www.rongrean.com Orjix
<table border="1px" >
<tr>
<td width="150px" align="right">column1</td>
<td width="150px" align="center">column2</td>
<td width="150px" align="left">column3</td>
<td width="150px" align="justify">
column 4 test test test test test test test test test test
</td>
</tr>
</table>
Rigth ข้อความชิดขอบขวา
left ข้อความชิดขอบซ้าย
center ข้อความอยู่ตรงกลาง
Justify *รูปแบบนี้จัดให้ข้อความอยู่เต็มช่อง คือติดทั้งขอบซ้ายและขวา (อย่างเช่นข้อความในคอลัมน์หนังสือพิมพ์)
right center left justify
จัดตาแหน่งข้อมูลในตาราง
การจัดข้อมูลในแนวตั้ง ให้ชิดขอบบน ขอบล่าง หรืออยู่กึ่งกลางของตารางทาได้ดังนี้
www.rongrean.com Orjix
<table border="1px" width="100%" height="100%">
<tr>
<td valign="baseline">column1</td>
<td valign="bottom">column2</td>
<td valign="middle">column3</td>
<td valign="top">column4</td>
</tr>
</table>
baseline *ตามเส้นฐาน
bottom ชิดขอบล่าง
middle กึ่งกลาง
top ชิดขอบบน
ความแตกต่างของ baseline กับ bottom
การซ้อนตาราง
การซ้อนตารางนั้นสามารถช่วยในการนาเสนอข้อมูลที่ซับซ้อนได้
www.rongrean.com Orjix
<table border="1px" width="100%" height="100%">
<tr>
<td>column1</td>
<td>column2</td>
<td>column3</td>
</tr>
<tr>
<td>column4</td>
<td>column5</td>
<td>
<table border="1px" width="100%" height="100%">
<tr>
<td>A</td>
<td>B</td>
</tr>
<tr>
<td>C</td>
<td>D</td>
</tr>
</table>
</td>
</tr>
</table>
ตารางที่สร้างซ้อนใน<td>
การใส่รูปในตาราง
วิธีนี้จะคล้ายกับการใส่ข้อความทั่วไป เพียงแต่ใช้แท็ก <img> ในการแสดงรูป
www.rongrean.com Orjix
<table border="1px" width="100%" height="100%">
<tr>
<td>pic1<br><img src="rockmanzx.jpg"/></td>
<td>pic2<br><img src="band.jpg"/></td>
</tr>
</table>
การกาหนดความกว้างของคอลัมน์ <colgroup>
แท็ก colgroup มีลักษณะการใช้งานดังนี้
www.rongrean.com Orjix
<table border="1px" width="100%" height="100%">
<colgroup span="2" width="150px"></colgroup>
<tr>
<td>1</td><td>2</td><td>3</td><td>4</td>
</tr>
<tr>
<td>5</td><td>6</td><td>7</td><td>8</td>
</tr>
</table>
กาหนดว่ามีผลกับ 2 คอลัมน์
Colspan=“2”
Width=“150px”
แท็ก <colgroup> นั้นจะประกาศไว้
ภายใต้แท็ก <table> เสมอ
การกาหนดความกว้างของแต่ละคอลัมน์ <col>
เนื่องจาก <colgroup> มีข้อเสียตรงที่ไม่สามารถกาหนดความกว้างของคอลัมน์
อื่นๆ นอกเหนือจากใน colspan ได้ เราจึงใช้แท็ก <col> ช่วยในการกาหนด
ความกว้างของคอลัมน์เหล่านั้น
www.rongrean.com Orjix
<table border="1px">
<colgroup>
<col span="2" width="50px"/>
<col width="150px"/>
<col span="2" width="100px"/>
</colgroup>
<tr>
<td>1</td><td>2</td><td>3</td><td>4</td><td>5</td>
</tr>
<tr>
<td>6</td><td>7</td><td>8</td><td>9</td><td>10</td>
</tr>
</table>
แท็ก <col> จะประกาศไว้ภายใต้แท็ก
<colgroup>
การกาหนดความกว้างของแต่ละคอลัมน์ <col>
www.rongrean.com Orjix
Span=“2”
Width=“50px”
Span=“1”
Width=“150px”
Span=“2”
Width=“100px”
การแบ่งส่วนตาราง <thead>,<tbody>,<tfoot>
เราสามารถแบ่งตารางออกเป็น 3 ส่วนด้วยกัน คือ
www.rongrean.com Orjix
•<thead> (table header) ส่วนหัวของตาราง
•<tbody> (table body) ส่วนของข้อมูลในตาราง
•<tfoot> (table footer) ส่วนสรุปข้อมูลของตาราง
<table border="1px">
<thead>
<tr>
<td>…</td>
</tr>
</thead>
<tbody>
<tr>
<td>…</td>
</tr>
</tbody>
<tfoot>
<tr>
<td>…</td>
</tr>
</tfoot>
</table>
Table header
Table body
Table footer
*แท็ก <thead>, <tbody>
และ <tfoot> จะใส่ไว้ก่อนแท็ก
<tr>
การแบ่งส่วนตาราง <thead>,<tbody>,<tfoot>
ตัวอย่าง
www.rongrean.com Orjix
<table border="1px">
<thead>
<tr>
<td>head1</td><td>head2</td><td>head3</td>
</tr>
</thead>
<tbody>
<tr>
<td>1</td><td>2</td><td>3</td>
</tr>
<tr>
<td>6</td><td>7</td><td>8</td>
</tr>
</tbody>
<tfoot>
<tr>
<td>footer1</td><td>footer2</td><td>footer3</td>
</tr>
</tfoot>
</table>
การแบ่งส่วนตาราง <thead>,<tbody>,<tfoot>
แท็ก <thead>,<tbody>,<tfoot> ไม่ว่าจะใส่ไว้ตรงไหนก็ตาม
โปรแกรมจะวางตามลาดับ thead>tbody>tfoot เสมอ
www.rongrean.com Orjix
<table border="1px">
<tfoot>
<tr>
<td>footer1</td><td>footer2</td><td>footer3</td>
</tr>
</tfoot>
<tbody>
<tr>
<td>1</td><td>2</td><td>3</td>
</tr>
<tr>
<td>6</td><td>7</td><td>8</td>
</tr>
</tbody>
<thead>
<tr>
<td>head1</td><td>head2</td><td>head3</td>
</tr>
</thead>
</table>

More Related Content

More from sangkeetwittaya stourajini

ประวัติพุทธบริษัท ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา
ประวัติพุทธบริษัท ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกาประวัติพุทธบริษัท ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา
ประวัติพุทธบริษัท ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกาsangkeetwittaya stourajini
 
ประวัติพระพุทธเจ้า
ประวัติพระพุทธเจ้าประวัติพระพุทธเจ้า
ประวัติพระพุทธเจ้าsangkeetwittaya stourajini
 
รำไทย รำวง มาตรฐานไทย
รำไทย รำวง มาตรฐานไทยรำไทย รำวง มาตรฐานไทย
รำไทย รำวง มาตรฐานไทยsangkeetwittaya stourajini
 
บรรณานุกรม ดนตรี นาฎศิลป์
บรรณานุกรม  ดนตรี นาฎศิลป์บรรณานุกรม  ดนตรี นาฎศิลป์
บรรณานุกรม ดนตรี นาฎศิลป์sangkeetwittaya stourajini
 

More from sangkeetwittaya stourajini (20)

พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา
 
พระไตรปิฏก
พระไตรปิฏกพระไตรปิฏก
พระไตรปิฏก
 
ประวัติพุทธบริษัท ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา
ประวัติพุทธบริษัท ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกาประวัติพุทธบริษัท ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา
ประวัติพุทธบริษัท ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา
 
ประวัติพระพุทธเจ้า
ประวัติพระพุทธเจ้าประวัติพระพุทธเจ้า
ประวัติพระพุทธเจ้า
 
ชาดก
ชาดกชาดก
ชาดก
 
ละครรำ
ละครรำละครรำ
ละครรำ
 
รำไทย รำวง มาตรฐานไทย
รำไทย รำวง มาตรฐานไทยรำไทย รำวง มาตรฐานไทย
รำไทย รำวง มาตรฐานไทย
 
บรรณานุกรม ดนตรี นาฎศิลป์
บรรณานุกรม  ดนตรี นาฎศิลป์บรรณานุกรม  ดนตรี นาฎศิลป์
บรรณานุกรม ดนตรี นาฎศิลป์
 
โขน
โขนโขน
โขน
 
Dance
DanceDance
Dance
 
Thai music2
Thai music2Thai music2
Thai music2
 
Thai music3
Thai music3Thai music3
Thai music3
 
Thai music4
Thai music4Thai music4
Thai music4
 
Thai music5
Thai music5Thai music5
Thai music5
 
Thai music6
Thai music6Thai music6
Thai music6
 
Thai music7
Thai music7Thai music7
Thai music7
 
Thai music8
Thai music8Thai music8
Thai music8
 
Thai music9
Thai music9Thai music9
Thai music9
 
Thai music10
Thai music10Thai music10
Thai music10
 
Thai music11
Thai music11Thai music11
Thai music11
 

Session3 part2