SlideShare a Scribd company logo
1 of 167
ประมวลผลการศึกษา
วิชา Land Use Mapping Techniques
จัดทาโดย
3.นาย ฤชากร แสงเพรชร รหัสนิสิต 58670379 กลุ่ม3301
เสนอ
อาจารย์กฤษณะ อิ่มสวาสดิ์
สัปดาห์ที่ 1
คลิกขวาที่ re_village เลือก Shapefile แล้วเลือก New
แล้วจะขึ้นหน้า Create New Shapefile ช่อง Name ใช้ชื่อvillage ช่อง Feature Type เลือกเป็น Polyline
จากนั้นกด OK คลิกขวาที่ Village_Plan11.tif เลือก Data และกดเลือก Export Data
จากนั้นไปที่แทบเครื่องมือด้านขวา เลือก Search แล้วค้นหา reclassify (spatial analyst) แล้วกดเลือก
reclassify (spatial analyst) (Tool)
แล้วจะขึ้นหน้าการทา reclassify
จากนั้นช่อง Input raster เลือกไฟล์ Village_Pian11.tif ส่วนช่อง Reclass field เลือกเป็น Value
แล้วไปคลิกที่ Classification ด้านขวาของตาราง หัวข้อ Classification ช่อง Method เลือก Equal Interval
ส่วนช่อง Classes เลือกเป็น 2 แล้วกด OK
ส่วนช่อง Output raster เลือก Folder ที่เราต้องการจะจัดเก็บข้อมูลการ Reclass field จากนั้นก็ต้องชื่อ
Folder เสร็จเรียบร้อยแล้ว กด Save แล้วกด OK
ก็จะแสดงรูปภาพขึ้นมา เป็นรูปที่เราได้ทาการ
เรื่อง Dimention
สัปดาห์ที่ 2
เปิดโปรแกรม ENVI 5.3 (64-bit)
เปิดโฟลเดอร์ขอบเขตจังหวัดจันทบุรี
เปลี่ยนสี Band คลิกขวาที่ข้อมูล >Change RGB Bands
เลือก Red Near Infrared(NIR) และ SWIR แล้วคลิก OK
ผสมแบนด์เรียบร้อย
จากนั้นไปที่ Toolbox > Radiometric Correction > Radiometric Calibration > เลือก MultiSpectral >OK
ช่องแรกเลือก Reflectance
ช่องสองเลือก BSQ
ช่องลามเลือก Float
จากนั้น Output Filename ไปที่ที่ต้องการจัดเก็บ ตั้งชื่อว่า Reflectance_LS8_2014 > Open > คลิก Display
Result > OK
รูปที่ผ่านการ Reflectance แล้ว
ทาการเปิด Shapefile ไปที่ File >Open > ขอบเขตจังหวัดจันทบุรี > เลือก File ที่นามสกุล .shp > Open
จะได้ขอบเขตจังหวัดจันทบุรีดังรูป (เส้นสีฟ้า)
การตัดขอบเขตแค่จังหวัดจันทบุรี ไปที่ toolbox > Subset Data from ROIs >Reflectance_LS8_2014.dat >
OK > เพื่อให้ภาพไปเป็นสี่เหลี่ยม แต่ตัดตามขอบเขตจริง ให้เลือก ลูกศรขึ้น ตรงช่อง Mask pixels output of
ROI (เปลี่ยนจาก No เป็น Yes) > choose > จัดเก็บในที่ที่ต้องการ ตั้งชื่อว่า subset_reflect_ls8_2014 > OK>
OK อีกครั้ง
รูปที่ได้จะเป็นพื้นที่ขอบเขตจันทบุรี เปลี่ยนสีแบนด์ คลิกขวาที่ข้อมูลรูป ไปที่ Change RGB Bands คลิกช่อง
5 64 ตามลาดับ
การสร้าง ROI เพื่อเก็บตัวอย่างน้า ไปที่ region of Interest (ROI) Tool (อยู่บนกล่องเครื่องมือชั้นบน) >New
ROI > ในช่อง ROI Name ให้เติมคาว่า Water หลัง #1
แล้วเก็บตัวอย่างน้า โดยการ digitize บริเวณที่เป็นน้า ดังรูป
ต่อไปเก็บตัวอย่างป่าไม้ โดยไปที่ New ROI ตั้งชื่อ Forest หลัง #1 แล้วเก็บตัวอย่างเหมือนเดิม
ต่อไปเก็บตัวอย่างบ้านเรือน โดยไปที่ New ROI ตั้งชื่อ Buildup หลัง #1 แล้วเก็บตัวอย่างเหมือนเดิม
ต่อไปเก็บตัวอย่างเกษตรกรรม โดยไปที่ New ROI ตั้งชื่อ Agriculture หลัง #1 แล้วเก็บตัวอย่างเหมือนเดิม
จากนั้นไปที่ Option > Computer Statistic From ROIs > เลือกทั้งหมด >OK > File >Save as > ตั้งชื่อว่า
ROI_2014.smi
จากนั้นไปที่ Toolbox > SupportVector Machine Classification > เลือก subset_reflect_ls8_2014 >
เลือกเฉพาะ ROI (ไม่เอา EVF)
ผลลัพธ์ที่ได้
สัปดาห์ที่ 3
เปิดภาพ Subset_reflectance_ls8_class
เปิดภาพ Subset_reflectance_ls8
ผสมสีแบนด์ เป็น 5 64
ผลลัพธ์ที่ได้
เปิดหน้าต่าง Region of Interest (ROI) Tool ขึ้นมา > ตั้งชื่อ ROI Name เป็น ROI #CK1 Water >
จากนั้นเก็บตัวอย่างแหล่งน้า แบบกระจาย
จากนั้นเก็บตัวอย่างป่าไม้ ไปที่ New ROI > ตั้งชื่อ ROI #CK2 Forest
จากนั้นเก็บตัวอย่างสิ่งปลูกสร้าง ไปที่ New ROI > ตั้งชื่อ ROI #CK3 Building
จากนั้นเก็บตัวอย่างสวนยางพารา(บริเวณที่มีสีส้มสด เนื่องจากมีปริมาณคลอโรฟิลล์มาก) ไปที่ New ROI >
ตั้งชื่อ ROI #CK4 Para
จากนั้นเก็บตัวอย่างสวนยางพารา(บริเวณที่มีสีส้มสด เนื่องจากมีปริมาณคลอโรฟิลล์มาก) ไปที่ New ROI >
ตั้งชื่อ ROI #CK5 Orchard
จากนั้นเก็บตัวอย่างสวนยางพารา(บริเวณที่มีสีส้มสด เนื่องจากมีปริมาณคลอโรฟิลล์มาก) ไปที่ New ROI >
ตั้งชื่อ ROI #CK6 Bareland
File > save as >file select > ROI_CK2017
จากนั้นไปที่ Confusion Matrix Using Ground TruthROIs >Subset_reflectance_ls8_class >OK
จากนั้นจับคู่ Ground Truth กับ Classification Images ให้ตรงกัน แล้วกด AddCombination ดังรูป
จับคู่จนครบ จากนั้นกด OK เพื่อเช็คOverall Accuracy
สัปดาห์ที่ 4
เปิดโปรแกรม ArcMap
Layer > Properties > Coordinate system >WGS1984 > Northern> UTM_Zone_47N
ดาวน์โหลด Shape file โฉนดที่ดิน ตาบลนาป่า จาก Facebook LUMT60 ชื่อรูป 1880-14c.tif แล้วเปิด
Shape file โฉนดที่ดิน ตาบลนาป่า ในโปรแกรม ArcMap
การตรึงพิกัด
คลิกขวาพื้นที่ว่างเพื่อเปิดกล่อง Toolbox >Georeferencing
จากนั้นไปที่ Add Control Point > คลิกซ้ายจุดพิกัดมุมซ้ายล่าง 2ตามรูป แล้วคลิกขวาหนึ่งที ไปที่ Input X Y
X = 718500
Y = 1480000
จากนั้นกด OK หากภาพหายไปให้คลิกที่ข้อมูล > Zoom toLayer
จากนั้นตรึงอีกพิกัด มุมซ้ายบน ทาแบบเดิม ให้
X = 718500
Y = 1480000
จากนั้นตรึงอีกพิกัด มุมขวาบน ทาแบบเดิม ให้
X = 719000
Y = 1480500
จากนั้นตรึงพิกัดอีกจุด มุมขวาล่าง ทาแบบเดิม ให้
X = 719000
Y = 1480000
จะได้พิกัดที่ถูกตรึงไว้ 4 มุม ดังรูป
เช็คค่า Error โดยไปที่ Georeferencing > View link table
จากนั้นไปที่ Georeferencing >Update Display
จากนั้นคลิกขวาที่ข้อมูล Data >Export Map > เลือก Extent เป็น Data Frame >
จากนั้นสร้าง Shape file โดยไปที่ Catalog > คลิกขวาที่ Week4 > New >Shape file > ตั้งชื่อ Name
1880_14C1
เลือก Feature Type เป็น Polygon จากนั้นไปที่ Edit ปรับค่าพิกัดเป็น Zone ประเทศไทย (Preject Coordinate
System > UTM > WGS 1984> NorthenHemisphere > Zone 47N) > OK
จากนั้นคลิกขวาที่ข้อมูล Open attribute table > addfield > ตั้งชื่อว่า Number_Order เปลี่ยน Type เป็น Short
integer > OK
Add field > ตั้งชื่อว่า Land_price เปลี่ยน Type เป็น Shortinteger >OK
จากนั้นทาการ Digitize โฉนดที่ดิน โดยการ Editor > StartEditing
*** AutoComplete Polygon คือการเชื่อม Polygon โดยไร้รอยต่อ
ผลลัพธ์จากการ digitize ด้วย Auto Complete Polygon
สัปดาห์ที่ 5
การใช้พื้นที่เหมาะสม AHP ปัจจัยมันสอดคล้องหรือไม่
การติดตั้งเครื่องมือ AHP ใน ArcMap ไปที่ Customize > Customize Mode
จากนั้นที่กล่อง Categories ให้เลือก AHP (ช่อง Commands จะเป็น Spatial MCA using the AHP)
แปลงอาคารให้เป็นจุด ไปที่ search >feature topoint
จากนั้น ให้หาความหนาแน่นของจุด โดยไปที่ search > density > ช่อง input features ให้ input เป็น
Building_New จากนั้นให้เลือก Envirinment > ในช่องProcessing Extent ให้Extent เป็น same as layer
Admin > ในช่อง Raster analysis ให้cell size เป็น Maximum of inputs และ Mask เป็น Admin จากนั้นกด
OK
Input point เป็น building_topoint >Population field เป็น BL_USE > Output raster ไปที่ Week5 คลิก New
folder เป็น Analysis > ตั้งชื่อว่า Den_Building >Save > ให้Outputcellsize เป็น 5 > ไปที่ Environment >
ไปที่ Processing Extent > ให้Extent เป็น Same as layer Admin > ไปที่ Raster Analysis > ให้Mask เป็น
Admin > OK
ผลลัพธ์ที่ได้
จากนั้นไปที่ Search >Euclidean Distance >input raster เป็น Road > outputraster ไปที่ analysis
(โฟลเดอร์ที่ตั้งไว้แล้ว) ตั้งชื่อว่า DIS_Trans > ให้ outputcell size เป็น 5 > ไปที่ Environment > ไปที่
Processing Extent > ให้Extent เป็น Same as layer Admin > ไปที่ Raster Analysis > ให้Mask เป็น Admin
> OK
ผลลัพธ์ที่ได้
จากนั้นไปที่ Search >Polygon toRaster > ให้input features เป็น Land_price > ให้Value field เป็น
Land_P > output ไปที่ analysis > ตั้งชื่อว่า Ras_price > ให้cellsize เป็น 5
ผลลัพธ์ที่ได้
จากนั้นทาการจัดกลุ่มข้อมูลใหม่ โดยไปที่ Search >Reclassify (spatial analysis) >input raster เป็น
Ras_price > output raster ไปที่ analysis > ตั้งชื่อว่า reclass_price >OK
ผลลัพธ์ที่ได้
จากนั้นกด เครื่องมือ AHP > ส่งข้อมูล reclass_price ,DIS_Trans ,Den_Building ฝั่งขวามือ ไปฝั่งซ้ายมือ
ตามลาดับ > Next > ใส่ค่า AHP ตามรูป > Compute (ค่าต้องไม่เกิน 0.1) > ไปที่ Create map > save ไปที่
analysis ตั้งชื่อว่า Result
** เลข 1ใน AHP หมายความว่า เท่ากัน
** ถ้าแกน X สาคัญกว่า ให้ใส่เลขคู่ถ้าแกน Yสาคัญกว่า ให้ใส่เลขคี่ โดยเลขจาก 1-9
(ต้องให้ผู้เชี่ยวชาญใส่ให้เท่านั้น)
ผลลัพธ์ที่ได้
สัปดาห์ที่ 6
เปิด arcmap ไปที่โฟลเดอร์ แล้วเลือกแบนด์ 10 และ 11
ใช้band 10กับ 11 เพื่อใช้ในการวัดอุณหภูมิได้ (Land SurfaceTemperature) LST เป็นอุณหภูมิของวัตถุ เช่น
อาคาร พื้นที่ว่างเปล่า น้า Band 11 มีช่วงคลื่นยาวมาก
นาเข้าข้อมูลขอบเขตจังหวัดจันทบุรี
ต่อมาให้เปิดคาสั่ง ModelBuilder และนาเข้าข้อมูลแบนด์ 10 และข้อมูลขอบเขตจังหวัดจันทบุรี
เปิดไฟล์ MTL ในโฟล์เดอร์เรา 2017
หาคาว่า radiance band10
พิมพ์ = ใน google แล้ววางที่ copy มา (เพื่อหาค่า ML)
ต่อมาให้ Search คาสั่ง raster calculator แล้วลากมาวางไว้ จะได้ดังภาพ
ดับเบิ้ลคลิก raster calculator
แล้วไปหาไฟล์ .txt
Ctrl+f หาตามภาพ
ไปที่ google แล้วมันจะขึ้นเลข 0.0003342
Coppy แล้วลากไปที่ arcmap
ดับเบิลคลิก

ไปที่ notepad coppy ไปไว้ที arcmap

จะได้ดังภาพ
แล้วก็ save เสร็จแล้วจะได้ดังภาพ
วีธีต่อไป
ต่อไปคลิก คลิกโย้งเส้นดังภาพ
ทั้งดังภาพ
จะได้ดังภาพ
ถ้ายังไม่ไดร์ D ให้ดับเบิลคลิกไปที่ extract_LS81
แล้วก็เลือกที่เซฟ
 มันจะเรียงให้เอง
กลับไปที arc
map
ไปที่อันนี้ต่อ
K2 เอามาจากไหน
ไปที่word pad
วิธีการใช้ ln
แล้วก็ save
อันไหนเป็นสีเขียวคลิกขวา
แล้วกด run จะได้ดังภาพ
ดูเกราะความร้อน
สัปดาห์ที่ 7
การทาแสลม ดูภาพสามมิติ
เปิดโปรแกรม Arcmap จากนั้นนาเข้าข้อมูล ขอบเขตจันทบุรี
จากนั้นสร้าง shapfile
แล้วก็เปิดตาราง แล้ว add fild
แล้วก็ไป start editor
จุดลงในพิ้นที่ที่ต้องการ
กด clear selected ทุกครั้ง แล้วก็ save stop
ใช้modeBuilder
ลาก wind เข้ามา
ใช้IDWเพื่อประมาณค่าช่วง
ลากเข้ามาใน modeBuilder
Ctrl+c  วาง
คลิก ที่ wind แล้วลากไปที่ idw
เสร็จแล้วดับเบิ้ลคลิก เข้าไปที่ IDW
ทาทั้งสองอัน
การเช็ดค่า
ไปที่ช่อง
Values
แล้วกด Run
ได้ดังภาพ
ทาตาข่ายขอบคุมทั้งจังหวัด
แล้วก็กด เข้าไปเลยไม่ต้องในโมเดล
ทาดังภาพ ใช้ประโยชน์สุ่มตรวจ
ดังภาพ
แต่เราจะจัดจุด ให้เหลือแต่ในเขตจันทบุรี
ดังภาพ
เอาข้อมูลมาในตาราง การดึงค่ามาไว้ในข้อมูลจุด (คาสั่งตอนจบ)
ดับเบิ้ลคลิก
ไปที่ ไปที่ บอกประชากร
ทาสามมิติ
ดาว์โหลด
มาเปิดใน arcmap
จากนั้นนาเข้าภาพถ่าย landset 2017 แบนด์ 45 6
จากนั้นไปที่ Windows >Image Analysis
แล้วเลือกสามภาพดังรูป เพื่อที่จะผสมแบนด์ จากนั้นเลือก CompositeBands
จะได้ผลลัพธ์ดังนี้
จากนั้นใช้คาสั่ง clip เพื่อตัดขอบเขตจังหวัดจันทบุรี
แล้วใส่ข้อมูลดังรูปให้บันทึกว่า ls8.tif
จะได้ผลลัพธ์ดังรูป
จากนั้นสร้างแบบจาลองน้าท่วม โดยไปที่ Rectangle แล้วลากสี่เหลี่ยมคลุมขอบเขตจังหวัดจันทบุรี
จากนั้นให้แปลง กราฟฟิกเป็น .shp โดยไปที่ Convert Graphics To Features
ใช้
ดับเบิลคลิก ปรับข้างล่างเป็น high
จะได้ดังภาพ
การทาให้ระดับน้าเคลื่อนไหว ไปที่ Animation> Animation Manager
จากนั้นให้เลือกType เป็น Layer ตามภาพ และ กด create ทั้งหมด 10 ครั้ง
ปรับ translation Z ใส่ค่าเป็น 10 2030 40 ....
จากนั้นจะขึ้นหน้าต่าง Animation control เมื่อกด Play ระดับน้าก็จะเพิ่มเรื่อยๆ
สัปดาห์ที่ 8
วันนี้ใช้Q GIS+
ไปที่ Plugins ปรับแก้ปรับปรุง
Search ว่า

ใช้โหลดภาพ RS
ก่อนการประมวลผลเตรียมข้อมูล 
อันแรกหาโพดเดอร์อันสองเซฟออก
ให้ลบแบนด์10,11ออกไม่ได้ใช้เป็น อุณหภูมิ
แบนด์ 8เป็นมีหลายละเอียดภาพ 15 เมตร ส่วนใหญ่30
แบนด์ 9เมฆเซอรัส ถ้าไม่ลบจะมีเมฆ
ติกเอาไว้

ดังภาพ
เปิด point line polygon
เปิดภาพถาย
 กดรีเซรท1ที่
ติก
ผสมสี
 ใช้ไฟล์ cut
ดับเบิ้ลคลิก


สัปดาห์ที่ 9
การแปลภาพ โดย QGIS
เปิดภาพถ่ายดาวเทียม LS8 ของ 2014
ไปที่เครื่องมือในแถบเครื่องมือที่ชื่อว่า Plugins
เลือก Manage and install Plugins
พิมพ์ semi ก็จะขึ้น
อยากโหลดเครื่องมืออะไร ก็ให้หาในนี้แล้วโหลด
การดาวโหลด ภาพดาวเทียม โดนการเลือกที่แถบเครื่องมือที่ชื่อว่า SCP →Download image
แล้วเราเลือกภาพถ่ายดาวเทียม LS8 มา
เลือกไฟล์ที่ลงท้ายด้วย .txt
ทาการลบ Band 10-11 เพราะคือแบรนด์ตรวจจับความร้อน
ให้เหลือBand 1-9
ลบ Band 8-9ให้เหลือ Band 1-7
การปรับแก้เรื่องของ reflactance (การจาแนก Land Use) ให้ติ๊กที่ apply DOS
ถ้าจะหาเรื่องอุณหภูมิ ให้ติ๊กที่ Brightness temperature in Celsius
พอ run เสร็จก็ Browse ไปที่ week9 และ select floder
รอซักพัก ใหญ่ๆ ในการประมวลผล
นี่คือการปรับแก้เรียบร้อย
นี่คือ add vector layer เอาไว้แอดภาพถ่ายดาวเทียม หรือภาพที่เป็น pixel
กด browse แล้วเลือกภาพถ่ายที่เป็น .shp
นี่คือขอบเขตที่เรา ทาการตัดเรียบร้อย
การที่จะตัดภาพ
เมื่อกด แล้วต้อง refresh
กดติ๊กทุกอัน
ขอบเขต จันทบุรีของเราเป็น shape file
ต้อง refresh ทุกครั้ง
แล้วเปลี่ยนคาว่า clip เป็น cut
กด run และ Browse ไปยัง Folder ที่ต้องการจัดเก็บ
ผลลัพธ์ เรียบร้อย
เป็นการ ผสมสี
พอ save เสร็จจะให้ close โปรแกรม เราปิดไปเลยมันจะไม่มีผลอะไร
ดับเบิ้ลคลิกที่ LS8 เพื่อทาการผสมสีของ Band
Red green blue 5-6-4
กดกราฟตัวแรก
สีมันจะชัดเจนมากยิ่งขึ้น
Remove ออกให้หมดให้เหลือ LS8 กับ ขอบเขตจันทบุรี
เลือกเครื่องมือ Semi-Automatic Classification Plugin
เสร็จสิ้น
สัปห์ดาห์ที่ 10
Fusion
เข้าโปรแกรม ENVI
เปิดไฟล์ LUMT60→3301→week2→ เลือก Subset_reflect_LS8_2014 กด Open
เปิดภาพถ่ายดาวเทียมมา 2014Band8 แล้วกด open
การทา Fusion คือการที่เราจะเอา สองภาพที่เป็นภาพถ่ายดาวเที่ยมมา Fusion กัน และเลือกเครื่องมือ Feature
Extraction
การปรับแก้ภาพถ่ายดาวเทียม reflectance เข้าเครื่องมือ IARReflectance Connection
และเลือก 2014Band8 จากนั้นกด OK
Choose ไปยัง Folder ที่ที่เราจะ save
สร้าง Folder ขึ้นมาใหม่เพื่อ save งาน
จากนั้นกด OK
ผลลัพธ์ภาพถ่ายดาวเทียมที่ Fusion กัน
เปรียบเทียบ ว่าก่อนทาหลังทา มีความชัดขึ้นมากน้อยเพียงใด
เปิดขอบเขตจันทบุรีแบบ shapefile ขึ้นมา
การตัดขอบเขตตามที่เราต้องการ โดยใช้เครื่องมือ Subset Data from ROIs
และเลือก Pan_reflectance_2014 แล้วกด OK
และเลือก EVF
เลือก Mask pixel outputof ROIs เปลี่ยนจาก No เป็น Yes
แล้วไปคาว่า Choose ตั้งชื่อในweek11
รอประมวลผลลัพธ์ ในการ ตัดขอบเขตภาพถ่ายดาวเทียม ของจันทุบรี
การทา NNDiffuse Pan Sharpening
เลือก Input Low เป็น Subset_reflact_LS8_2014 และ Output High เป็น subset_Pan_reflectance_2014
Low คือค่าความละเอียดความชัด 30// high คือค่าความละเอียดความชัด 15
Browse ไปยังที่เก็บ Folder ที่ที่เราจะจัดเก็บ
รอประมวลลลัพธ์ที่ได้
ผลลัพธ์ที่ได้จากการทาNNDiffuse Pan Sharpening
และไป Change RGB คือการผสมแบรนด์
564 RGB (แดง,เขียว,น้าเงิน)
ผลลัพธ์ที่ได้จากการ ผสมแบรนด์
ปรับภาพถ่ายดาวเทียมให้ชัดขึ้นโดยการ Linear จาก 2% เป็น 5%
ทั้งหมดนี้คือ การทา Fusion
ข้อดีคือ การมองเห็นชัดขึ้น ข้อเสียคือ ค่าการสะท้อนใช้ไม่ได้ ดังนั้นเราจะทา Tranning Area ไม่ได้
Object-Base Classification
เปิดภาพที่ทา Fusion มา
แล้วไปที่เครื่องมือ Feature Extraction – Rule Based
กด Next แล้วเลือก NNDiffusePanSharpening_2014 และกด OK
รอประมวลผล
เมื่อกดติ๊กที่ Preview จะมีกรอบเขียวๆขึ้นมาเพื่อแสดงความละเอียดของการจาแนกมากขึ้น
เปลี่ยน Merge setting ให้เป็น 80
คือการทา segment หรือการทา object
การทา Kernel
ผลลัพท์ของการทา segment เรียบร้อย
ตั้งชื่อ para
นี่คือกราฟที่เรา สามารถปรับหาค่าความละเอียดของการจาแนก
ช่วงคลื่น เนื้อผิว ข้อมูลเชิงพื้นที่
เลื่อนกราฟ หาพื้นที่ในการหา ยางพารา
Object base
เข้า Monteverdi 1.24
จากนั้นคลิกที่ File เลือก Open dataset
จากนั้น Location เลือก Folder ที่เราต้องการนาข้อมูลเข้า Local Disk (D:)→ LUMT60 → LUMT →
เลือก Palm_oil.jpg จากนั้นกด OK
จากนั้นกด Open dataset
จะมีหน้าต่างชั้นข้อมูลขึ้นมาของ Palm_oil
คลิกขวา แล้วกด display in viewer
จะขึ้นหน้าต่างของภาพถ่ายดาวเทียม Palm_oil จากนั้นกดปิดหน้าต่างทางด้านขวาได้เลย
และเลือกแถบเครื่องมือ Filtering →Mean Shift Dustering เป็นการหา ลักษณะของการจัดกลุ่ม
เพื่อใช้ในการobject base
จากนั้นจะขึ้นหน้าต่าง Set inputs ให้เลือกReader1→Palm_oil
จากนั้นกด OK
จะแสดงผลลัพธ์ของ Mean shift module
ติ๊ก display แล้วกด run
พอเสร็จแล้วภาพจะเป็นแบบลายพรางทหาร
ปรับ spectral value เป็น 7.0 และปรับ Min region size เป็น 12
พอปรับเสร็จภาพจะชัดเจน เห็นต้นเป็นดอกๆต้นๆ
เลือก Clustered Image →Export dataset
แล้วเลือก Palm_oil แล้วกด OK
สร้าง floder ใหม่week12
Save dataset เป็น int(32 bits)แล้วกด OK
Int คือ intriture เลขจานวนเต็ม
จากนั้นเปิดโปรแกรม Arcmap ขึ้นมา และทาการเปิดภาพถ่ายที่ save มาจากโปรแกรม Monteverdi
application
และคลิกขวาชั้นข้อมูล palm_oil เพื่อการปรับสีของภาพถ่ายที่ได้ โดยการเข้า symbology
Red=1 Green=2 blue=3 จากนั้นกด OK
นี้คือผลลัพธ์ของการเปลี่ยน Band
จากนั้นทาการสร้าง Shape file พื้นที่ที่เราต้องการ โดยการเลือก polygon
ทาการ digitize เสร็จแล้วใช้เครื่องมือ Drawing เพื่อ ConvertGraphics To Feature
ทาการ save โดยเลือกที่อยู่ output ในที่ที่เราต้องการ save จากนั้น กด OK
ให้ทาการลบ กรอบที่เราทาการ digitize
จากนั้นใช้เครื่องมือ Extract bymask
ให้ทาการ input ชั้นข้อมูล Palm_oil จากนั้นเลือก outputfile จากนั้นกด OK
จะแสดงผลลัพธ์ออกมาแบบนี้
สัปดาห์ที่ 12
เปิดโปรแกรม
เปิดไฟล์

การเปิดภาพคลิกขวาที่ แล้วเลือก Display in viewer
การจัดกลุ่ม 
ดังภาพ –
Captureหลักกกกก
Captureหลักกกกก
Captureหลักกกกก
Captureหลักกกกก
Captureหลักกกกก
Captureหลักกกกก
Captureหลักกกกก
Captureหลักกกกก
Captureหลักกกกก
Captureหลักกกกก
Captureหลักกกกก
Captureหลักกกกก
Captureหลักกกกก
Captureหลักกกกก
Captureหลักกกกก
Captureหลักกกกก
Captureหลักกกกก
Captureหลักกกกก
Captureหลักกกกก
Captureหลักกกกก
Captureหลักกกกก
Captureหลักกกกก
Captureหลักกกกก
Captureหลักกกกก
Captureหลักกกกก

More Related Content

Similar to Captureหลักกกกก

นางสาวถนอมช์วรรณข์ เพชรดี
นางสาวถนอมช์วรรณข์  เพชรดีนางสาวถนอมช์วรรณข์  เพชรดี
นางสาวถนอมช์วรรณข์ เพชรดีPatipan Beer
 
นางสาวศรีสุดาพร คำอ้าย
นางสาวศรีสุดาพร   คำอ้ายนางสาวศรีสุดาพร   คำอ้าย
นางสาวศรีสุดาพร คำอ้ายBeer Srisudaporn
 
นางสาวกนกวรรณ บุญมาก 58170055 กลุ่ม 1
นางสาวกนกวรรณ บุญมาก 58170055 กลุ่ม 1นางสาวกนกวรรณ บุญมาก 58170055 กลุ่ม 1
นางสาวกนกวรรณ บุญมาก 58170055 กลุ่ม 1Patipan Beer
 
รุ่งนภา
รุ่งนภารุ่งนภา
รุ่งนภาBoo' Noypeng
 
โสภิดา เดโชรัมย์
โสภิดา เดโชรัมย์โสภิดา เดโชรัมย์
โสภิดา เดโชรัมย์Patipan Beer
 
นางสาวฐิติมาพร ขจรฟุ้ง
นางสาวฐิติมาพร ขจรฟุ้งนางสาวฐิติมาพร ขจรฟุ้ง
นางสาวฐิติมาพร ขจรฟุ้งBeer Srisudaporn
 
นางสาวรัตน์ชนก นาทองลาย
นางสาวรัตน์ชนก   นาทองลายนางสาวรัตน์ชนก   นาทองลาย
นางสาวรัตน์ชนก นาทองลายBeer Srisudaporn
 
นางสาวพัชรี เพ็ชร์อุดม 55670194 กลุ่ม 3301
นางสาวพัชรี เพ็ชร์อุดม 55670194 กลุ่ม 3301นางสาวพัชรี เพ็ชร์อุดม 55670194 กลุ่ม 3301
นางสาวพัชรี เพ็ชร์อุดม 55670194 กลุ่ม 3301Builtt Susa
 
877353_นวรัตน์ ศรชัย_58670064_กลุ่ม3303
877353_นวรัตน์ ศรชัย_58670064_กลุ่ม3303877353_นวรัตน์ ศรชัย_58670064_กลุ่ม3303
877353_นวรัตน์ ศรชัย_58670064_กลุ่ม3303Nawarat Sornchai
 
ขั้นตอนการทำ Network analysis ในโปรแกรม ArcMap 10.1
ขั้นตอนการทำ Network analysis ในโปรแกรม ArcMap 10.1ขั้นตอนการทำ Network analysis ในโปรแกรม ArcMap 10.1
ขั้นตอนการทำ Network analysis ในโปรแกรม ArcMap 10.1Boo' Noypeng
 
Capture นางสาวชุติกาญจน์ จิตสุวรรณ์ 58170011 กลุ่ม 01
Capture นางสาวชุติกาญจน์ จิตสุวรรณ์ 58170011 กลุ่ม 01Capture นางสาวชุติกาญจน์ จิตสุวรรณ์ 58170011 กลุ่ม 01
Capture นางสาวชุติกาญจน์ จิตสุวรรณ์ 58170011 กลุ่ม 01Chutikarn Jitsuwan
 
บทที่4การกำหนดและวิเคราะห์ปัญหา
บทที่4การกำหนดและวิเคราะห์ปัญหาบทที่4การกำหนดและวิเคราะห์ปัญหา
บทที่4การกำหนดและวิเคราะห์ปัญหาjack4212
 
น.ส นันทพร จันหอม 58170012
น.ส นันทพร  จันหอม  58170012น.ส นันทพร  จันหอม  58170012
น.ส นันทพร จันหอม 58170012Chutikarn Jitsuwan
 

Similar to Captureหลักกกกก (20)

Land use 58670354 3301
Land use 58670354 3301Land use 58670354 3301
Land use 58670354 3301
 
นางสาวถนอมช์วรรณข์ เพชรดี
นางสาวถนอมช์วรรณข์  เพชรดีนางสาวถนอมช์วรรณข์  เพชรดี
นางสาวถนอมช์วรรณข์ เพชรดี
 
นางสาวศรีสุดาพร คำอ้าย
นางสาวศรีสุดาพร   คำอ้ายนางสาวศรีสุดาพร   คำอ้าย
นางสาวศรีสุดาพร คำอ้าย
 
Lab 5.docx
Lab 5.docxLab 5.docx
Lab 5.docx
 
นางสาวกนกวรรณ บุญมาก 58170055 กลุ่ม 1
นางสาวกนกวรรณ บุญมาก 58170055 กลุ่ม 1นางสาวกนกวรรณ บุญมาก 58170055 กลุ่ม 1
นางสาวกนกวรรณ บุญมาก 58170055 กลุ่ม 1
 
รุ่งนภา
รุ่งนภารุ่งนภา
รุ่งนภา
 
โสภิดา เดโชรัมย์
โสภิดา เดโชรัมย์โสภิดา เดโชรัมย์
โสภิดา เดโชรัมย์
 
นางสาวฐิติมาพร ขจรฟุ้ง
นางสาวฐิติมาพร ขจรฟุ้งนางสาวฐิติมาพร ขจรฟุ้ง
นางสาวฐิติมาพร ขจรฟุ้ง
 
นางสาวรัตน์ชนก นาทองลาย
นางสาวรัตน์ชนก   นาทองลายนางสาวรัตน์ชนก   นาทองลาย
นางสาวรัตน์ชนก นาทองลาย
 
LU
LULU
LU
 
นางสาวพัชรี เพ็ชร์อุดม 55670194 กลุ่ม 3301
นางสาวพัชรี เพ็ชร์อุดม 55670194 กลุ่ม 3301นางสาวพัชรี เพ็ชร์อุดม 55670194 กลุ่ม 3301
นางสาวพัชรี เพ็ชร์อุดม 55670194 กลุ่ม 3301
 
Week7
Week7Week7
Week7
 
Week1
Week1Week1
Week1
 
877353_นวรัตน์ ศรชัย_58670064_กลุ่ม3303
877353_นวรัตน์ ศรชัย_58670064_กลุ่ม3303877353_นวรัตน์ ศรชัย_58670064_กลุ่ม3303
877353_นวรัตน์ ศรชัย_58670064_กลุ่ม3303
 
ขั้นตอนการทำ Network analysis ในโปรแกรม ArcMap 10.1
ขั้นตอนการทำ Network analysis ในโปรแกรม ArcMap 10.1ขั้นตอนการทำ Network analysis ในโปรแกรม ArcMap 10.1
ขั้นตอนการทำ Network analysis ในโปรแกรม ArcMap 10.1
 
Capture นางสาวชุติกาญจน์ จิตสุวรรณ์ 58170011 กลุ่ม 01
Capture นางสาวชุติกาญจน์ จิตสุวรรณ์ 58170011 กลุ่ม 01Capture นางสาวชุติกาญจน์ จิตสุวรรณ์ 58170011 กลุ่ม 01
Capture นางสาวชุติกาญจน์ จิตสุวรรณ์ 58170011 กลุ่ม 01
 
คู่มือ58170038
คู่มือ58170038คู่มือ58170038
คู่มือ58170038
 
บทที่4การกำหนดและวิเคราะห์ปัญหา
บทที่4การกำหนดและวิเคราะห์ปัญหาบทที่4การกำหนดและวิเคราะห์ปัญหา
บทที่4การกำหนดและวิเคราะห์ปัญหา
 
น.ส นันทพร จันหอม 58170012
น.ส นันทพร  จันหอม  58170012น.ส นันทพร  จันหอม  58170012
น.ส นันทพร จันหอม 58170012
 
โครงสร้างการเขียนโปรแกรมภาษาไพธอน
โครงสร้างการเขียนโปรแกรมภาษาไพธอนโครงสร้างการเขียนโปรแกรมภาษาไพธอน
โครงสร้างการเขียนโปรแกรมภาษาไพธอน
 

More from ranggo24

โค๊ดที่ใช้ทำ Custom markers หรือการปักหมุด
โค๊ดที่ใช้ทำ Custom markers หรือการปักหมุดโค๊ดที่ใช้ทำ Custom markers หรือการปักหมุด
โค๊ดที่ใช้ทำ Custom markers หรือการปักหมุดranggo24
 
นายธนาคม ตรสุรนรา รหัสนิสิต 58670329
นายธนาคม ตรสุรนรา  รหัสนิสิต 58670329นายธนาคม ตรสุรนรา  รหัสนิสิต 58670329
นายธนาคม ตรสุรนรา รหัสนิสิต 58670329ranggo24
 
นายคริตยวงค์ อ่วมอารีย์ 58670004กลุ่ม3303
นายคริตยวงค์ อ่วมอารีย์ 58670004กลุ่ม3303นายคริตยวงค์ อ่วมอารีย์ 58670004กลุ่ม3303
นายคริตยวงค์ อ่วมอารีย์ 58670004กลุ่ม3303ranggo24
 
นางสาวศศินิภา ซิ้มศิริ รหัสนิสิต 58670396
นางสาวศศินิภา ซิ้มศิริ รหัสนิสิต 58670396นางสาวศศินิภา ซิ้มศิริ รหัสนิสิต 58670396
นางสาวศศินิภา ซิ้มศิริ รหัสนิสิต 58670396ranggo24
 
Amonrat 58670419 capture
Amonrat 58670419 captureAmonrat 58670419 capture
Amonrat 58670419 captureranggo24
 
58670414 อนันตาพร จำเนียรการ
58670414 อนันตาพร จำเนียรการ58670414 อนันตาพร จำเนียรการ
58670414 อนันตาพร จำเนียรการranggo24
 
Matlab58670379
Matlab58670379Matlab58670379
Matlab58670379ranggo24
 
Matlab58670329
Matlab58670329Matlab58670329
Matlab58670329ranggo24
 
Matlab58670413 tone
Matlab58670413 toneMatlab58670413 tone
Matlab58670413 toneranggo24
 
Matlab puck
Matlab puckMatlab puck
Matlab puckranggo24
 
Matlab puck
Matlab puckMatlab puck
Matlab puckranggo24
 
Matlab 58670396-บรีม
Matlab 58670396-บรีมMatlab 58670396-บรีม
Matlab 58670396-บรีมranggo24
 
Matlab5867004
Matlab5867004Matlab5867004
Matlab5867004ranggo24
 

More from ranggo24 (14)

โค๊ดที่ใช้ทำ Custom markers หรือการปักหมุด
โค๊ดที่ใช้ทำ Custom markers หรือการปักหมุดโค๊ดที่ใช้ทำ Custom markers หรือการปักหมุด
โค๊ดที่ใช้ทำ Custom markers หรือการปักหมุด
 
นายธนาคม ตรสุรนรา รหัสนิสิต 58670329
นายธนาคม ตรสุรนรา  รหัสนิสิต 58670329นายธนาคม ตรสุรนรา  รหัสนิสิต 58670329
นายธนาคม ตรสุรนรา รหัสนิสิต 58670329
 
นายคริตยวงค์ อ่วมอารีย์ 58670004กลุ่ม3303
นายคริตยวงค์ อ่วมอารีย์ 58670004กลุ่ม3303นายคริตยวงค์ อ่วมอารีย์ 58670004กลุ่ม3303
นายคริตยวงค์ อ่วมอารีย์ 58670004กลุ่ม3303
 
นางสาวศศินิภา ซิ้มศิริ รหัสนิสิต 58670396
นางสาวศศินิภา ซิ้มศิริ รหัสนิสิต 58670396นางสาวศศินิภา ซิ้มศิริ รหัสนิสิต 58670396
นางสาวศศินิภา ซิ้มศิริ รหัสนิสิต 58670396
 
Amonrat 58670419 capture
Amonrat 58670419 captureAmonrat 58670419 capture
Amonrat 58670419 capture
 
58670414 อนันตาพร จำเนียรการ
58670414 อนันตาพร จำเนียรการ58670414 อนันตาพร จำเนียรการ
58670414 อนันตาพร จำเนียรการ
 
Matlab58670379
Matlab58670379Matlab58670379
Matlab58670379
 
Matlab58670329
Matlab58670329Matlab58670329
Matlab58670329
 
Matlab58670413 tone
Matlab58670413 toneMatlab58670413 tone
Matlab58670413 tone
 
Matlab puck
Matlab puckMatlab puck
Matlab puck
 
2
22
2
 
Matlab puck
Matlab puckMatlab puck
Matlab puck
 
Matlab 58670396-บรีม
Matlab 58670396-บรีมMatlab 58670396-บรีม
Matlab 58670396-บรีม
 
Matlab5867004
Matlab5867004Matlab5867004
Matlab5867004
 

Captureหลักกกกก