SlideShare a Scribd company logo
1 of 37
Download to read offline
นาข้อมูล Landfill ใส่ใน รหัสนิสิต
จากนั้นสร้างโฟลเดอร์ใหม่โดยการคลิกขวาเลือก New > Folder
ตั้งชื่อเป็น Landfill1
การหาความลาดชันของพื้นที่
ไปที่โฟลเดอร์ที่ชื่อว่า LANDFILL ที่เราได้ทาการนาเข้ามา จากนั้นเลือกนาข้อมูล Chon_elv และ Chon_proเข้ามา
จากนั้นไปหาเครื่องมือ IDW โดยไปที่ ArcToolBox > Spatial analyst Tools > Interpolation > IDW หรือไปทาการ
Search เครื่องมือเลยก็ได้
จะได้หน้าต่างดังนี้โดยในช่อง Input ให้เลือกใส่ข้อมูล Chon_elv และในช่อง Output Raster ให้คลิกไปที่แฟ้ มและ
Save งานไว้ในโฟลเดอร์ที่เราได้สร้างขึ้นมา โดยตั้งชื่อว่า Dem จากนั้นกด Save
โดยในช่อง Output cell size ให้ใส่ค่าเป็น 40 จากนั้นคลิกไปที่ Environment...
จะได้หน้าต่าง ดังนี้โดยไปที่ processing Extent > Same as layer Chon_pro และไปที่ Raster Analyst ในช่อง
Mask ให้เลือก Chon_pro จากนั้นกด Ok
และกด Ok
จะได้ภาพดังนี้
จากนั้นไปทาการค้นหาเครื่องมือที่ชื่อว่า Slope
โดยในช่องInput Raster เลือก Dem และในช่อง Output Rasterให้ไป Save งานไว้ที่โฟลเดอร์ที่เราสร้างขึ้นมา ตั้งชื่อ
ว่า Slope โดยในช่อง Output measurement เลือก DEGREE จากนั้นกด Ok
จะได้ภาพที่แสดงถึงความชัน ดังภาพ
จากนั้นจะทาการจัดกลุ่มค่า Slope ใหม่ โดยค้นหาเครื่องมือที่ชื่อว่า Reclassify(Spatial Analyst)
ในช่อง Input rasterให้เลือกSlope ในช่อง Reclass field เลือก Value จากนั้นคลิกไปที่ Classify ในช่อง Class > 4
ในช่อง Method ให้เลือกเป็น Munual
ทาการเปลี่ยนค่าคะแนน
ช่องใส่ค่าคะแนนและทาการเปลี่ยนค่า
ในช่อง Output Raster ให้ทาการ Save งานไว้ที่ไฟล์ที่เราสร้างขึ้น ตั้งชื่อเป็น Re_Slope กด Save และ Ok
จะได้ภาพ ดังนี้
ตัวแปรหิน เอาข้อมูล Chon_geo ในกาญจนบุรี > Land Fill > ลากลงใน Display
ทาการแบ่งข้อมูลกลุ่มคลิกขวา Open Attribute Table
ไปที่ Table Options > Add Fild…
ช่อง Name ตั้งชื่อ Slope_1 > Type เปลี่ยนเป็น Short Integer > Precisio ใส่ค่า 2 > OK
ได้ตาราง Slope_1 มีค่าป็น 0
ไปที่ Select By Attributes
ใส่ค่า DESC_T1 = หินทราย กด OK
มีทั้งหมด 51 ข้อมูล
คลิกขวาที่ตาราง Slope_1 > Field Calculator…
ใส่ค่า 1 ตรง Slope_1 กด OK
ในช่อง Slope_1 มีค่า 1 ขึ้นมา
ใส่ค่า DESC_T1 = ตะกอน กด OK
คลิกขวาที่ตาราง Slope_1 > Field Calculator…
ใส่ค่า 2 ตรง Slope_1 กด OK
ในช่อง Slope_1 มีค่า 2 ขึ้นมา
ใส่ค่า DESC_T1 = หินฟิลไลด์ กด OK
คลิกขวาที่ตาราง Slope_1 > Field Calculator…
ใส่ค่า 3 ตรง Slope_1 กด OK
ในช่อง Slope_1 มีค่า 3 ขึ้นมา กด Clear Selection
ทาการ Conversion จากโพลิกอนเป็นแรสเตอร์
ไปที่เครื่องมือ Polygon > Input…เลือก Chon_geo > Value Field เลือก Slope_1 > Output Raster เลือก
แฟ้ มข้อมูลตั้งชื่อRe_ geo เก็บไว้ใน Landfill1 > Save
ช่อง Cellsize เปลี่ยนค่าเป็น 40 > OK
ได้รูปภาพที่ทาการจัดกลุ่มเรียบร้อยแล้ว
ระยะห่างจากถนนสายหลัก
ตัวแปรถนน เอาข้อมูล Chon_tran ลง Display ในกาญจนบุรี > LandFill
ไปที่เครื่องมือ Euclidean Distance > Input…เลือก Chon_tran > Output… เลือกแฟ้ มข้อมูลตั้งชื่อ tran เก็บไว้ใน
Landfill1 > Save
ช่อง Cellsize เปลี่ยนค่าเป็น 40
เลือก Environment > Processing Extent ใน Extent เลือก Chon_pro > Raster Analysis ใน Mask เลือก
Chon_pro > OK
กด OK
ได้รูปภาพข้อมูล tran
ไปที่เครื่องมือ Reclassify > Input raster เลือก tran > Reclass field เลือก Value
ไปที่ Classify… > Method เลือก Manual > Classes เลือก 4 > OK
ช่อง New values เปลี่ยนเป็น 0,1,2,3
ไปที่ Output raster เลือกแฟ้ มข้อมูลตั้งชื่อ Re_tran เก็บข้อมูลไว้ใน Landfill1 กด OK
กด OK
ได้ข้อมูลรูปภาพ Chon_reclass
ระยะห่างจากชุมชน
เอาข้อมูล Chon_vill ลงใน Display Area ไปที่กาญจนบุรี > LandFill > Chon_vill
ไปที่เครื่องมือ Euclidean Distance > Input…เลือก Chon_vill > Output… เลือกแฟ้ มข้อมูลตั้งชื่อ vill เก็บไว้ใน
Landfill1 > Save ช่อง Cellsize เปลี่ยนค่าเป็น 40
เลือก Environment > Processing Extent ใน Extent เลือก Chon_pro > Raster Analysis ใน Mask เลือก
Chon_pro > OK
กด OK
ได้รูปภาพของข้อมูล Vill
ไปที่เครื่องมือ Reclassify > Input raster เลือก vill > Reclass field เลือก Value > Classify… > Method เลือก
Manual > Classes เลือก 4 > OK
ช่อง New values เปลี่ยนเป็น 0,1,2,3
ไปที่ Output raster เลือกแฟ้ มข้อมูลตั้งชื่อRe_ vill เก็บข้อมูลไว้ใน Landfill1 กด Save
กด OK
ได้ข้อมูลรูปภาพของ vill_reclass
การวิเคราะห์ซ้อนทับ (Overlay analysis)
รวมตัวแปรมาซ้อนทับกัน (ข้อมูลที่เป็น Class)
ไปที่เครื่อง Raster Calculator
ทาการบวกค่าของข้อมูลจากสูตร Suitable land fill = W1*S1 + W2*S2 + … + Wn*Sn ทาการ save > Outout
Raster > แฟ้ มข้อมูล > ตั้งชื่อ sum > Save
กด OK
ได้รูปภาพของข้อมูล Sum
จัดกลุ่มพื้นที่เหมาะสมสาหรับการสร้างที่ฝังกลบขยะ
ไปที่เครื่องมือ Reclassify > Input raster เลือก sum > Reclass field เลือก Value > Classify… > Method เลือก
Manual > Classes เลือก 3 > Break Values เปลี่ยนค่าเป็น 15.1 , 27.45 , 36 > OK
ไปที่ Output raster เลือกแฟ้ มข้อมูลตั้งชื่อ Final เก็บข้อมูลไว้ใน Landfill1 กด Save
กด ok
พื้นที่เหมาะสมในการฝังกลบขยะในจังหวัดชลบุรี พื้นที่สีเขียวมีค่าเท่า1 มีความเหมาะสมน้อยพื้นที่สีม่วงมีค่าเท่า2มีความ
เหมาะสมปานกลาง พื้นที่สีแดงมีค่าเท่า3 มีความเหมาะสมมาก

More Related Content

Viewers also liked

Viewers also liked (13)

логопедические рекомендации
 логопедические рекомендации логопедические рекомендации
логопедические рекомендации
 
Cap4
Cap4Cap4
Cap4
 
Inkjet
InkjetInkjet
Inkjet
 
EAMES CORPORATE BROCHURE
EAMES CORPORATE BROCHUREEAMES CORPORATE BROCHURE
EAMES CORPORATE BROCHURE
 
Makalahnya kewarganegaraan
Makalahnya kewarganegaraanMakalahnya kewarganegaraan
Makalahnya kewarganegaraan
 
JOIN OUR TEAM
JOIN OUR TEAMJOIN OUR TEAM
JOIN OUR TEAM
 
Ink Blog
Ink BlogInk Blog
Ink Blog
 
Gislab10
Gislab10Gislab10
Gislab10
 
nowyhandel_1_2015_final
nowyhandel_1_2015_finalnowyhandel_1_2015_final
nowyhandel_1_2015_final
 
Cloud computing
Cloud computingCloud computing
Cloud computing
 
nowyhandel_1_2015_final
nowyhandel_1_2015_finalnowyhandel_1_2015_final
nowyhandel_1_2015_final
 
Cap3
Cap3Cap3
Cap3
 
Nike project presentation 4.24.14
Nike project presentation 4.24.14Nike project presentation 4.24.14
Nike project presentation 4.24.14
 

Similar to Gis cap9

CAPTURE วิชา Land Use Mapping Techniques
CAPTURE วิชา Land Use Mapping TechniquesCAPTURE วิชา Land Use Mapping Techniques
CAPTURE วิชา Land Use Mapping Techniquesranggo24
 
นางสาวศรีสุดาพร คำอ้าย
นางสาวศรีสุดาพร   คำอ้ายนางสาวศรีสุดาพร   คำอ้าย
นางสาวศรีสุดาพร คำอ้ายBeer Srisudaporn
 
นางสาวฐิติมาพร ขจรฟุ้ง
นางสาวฐิติมาพร ขจรฟุ้งนางสาวฐิติมาพร ขจรฟุ้ง
นางสาวฐิติมาพร ขจรฟุ้งBeer Srisudaporn
 
รัตนติยา
รัตนติยารัตนติยา
รัตนติยาsomsiri suasuay
 
นางสาวนารีรัตน์ ผลศิริ
นางสาวนารีรัตน์ ผลศิรินางสาวนารีรัตน์ ผลศิริ
นางสาวนารีรัตน์ ผลศิริPatipan Beer
 
นางสาวกนกวรรณ บุญมาก 58170055 กลุ่ม 1
นางสาวกนกวรรณ บุญมาก 58170055 กลุ่ม 1นางสาวกนกวรรณ บุญมาก 58170055 กลุ่ม 1
นางสาวกนกวรรณ บุญมาก 58170055 กลุ่ม 1Patipan Beer
 

Similar to Gis cap9 (9)

CAPTURE วิชา Land Use Mapping Techniques
CAPTURE วิชา Land Use Mapping TechniquesCAPTURE วิชา Land Use Mapping Techniques
CAPTURE วิชา Land Use Mapping Techniques
 
นางสาวศรีสุดาพร คำอ้าย
นางสาวศรีสุดาพร   คำอ้ายนางสาวศรีสุดาพร   คำอ้าย
นางสาวศรีสุดาพร คำอ้าย
 
Hydrological Model Analysis
Hydrological Model AnalysisHydrological Model Analysis
Hydrological Model Analysis
 
นางสาวฐิติมาพร ขจรฟุ้ง
นางสาวฐิติมาพร ขจรฟุ้งนางสาวฐิติมาพร ขจรฟุ้ง
นางสาวฐิติมาพร ขจรฟุ้ง
 
Raster model
Raster modelRaster model
Raster model
 
Gis cap
Gis capGis cap
Gis cap
 
รัตนติยา
รัตนติยารัตนติยา
รัตนติยา
 
นางสาวนารีรัตน์ ผลศิริ
นางสาวนารีรัตน์ ผลศิรินางสาวนารีรัตน์ ผลศิริ
นางสาวนารีรัตน์ ผลศิริ
 
นางสาวกนกวรรณ บุญมาก 58170055 กลุ่ม 1
นางสาวกนกวรรณ บุญมาก 58170055 กลุ่ม 1นางสาวกนกวรรณ บุญมาก 58170055 กลุ่ม 1
นางสาวกนกวรรณ บุญมาก 58170055 กลุ่ม 1
 

Gis cap9