SlideShare a Scribd company logo
1 of 24
Download to read offline
ใบสมัครเข้ าอบรม(ฟรี) หลักสู ตรการใช้ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เพือการออกแบบ 2554
                                                            ่                                                                                                    รหัสผูสมัคร/อบรม
                                                                                                                                                                           ้
ของสานักพัฒนาอุตสาหกรรมสนับสนุน กรมส่ งเสริมอุตสาหกรรม                                                                                                           ..............................
                                                                                                                                                                 วันที่........................
โดยวิทยากรทีมีชื่อเสียง อ.ภาณุพงษ์ ปัตติสิงห์ (ผู้เขียนตาราการใช้ งาน AutoCAD ทีใช้ อย่ างกว้ างขวางในปัจจุบัน)
            ่                                                                   ่

  คาแนะนาในการกรอกรายละเอียด
  1. กรุ ณากรอกรายละเอียดด้วย ตัวบรรจงเป็ นภาษาไทย เพื่อประโยชน์ของท่านในการจัดส่ งเอกสาร หรื อส่งข่าวเรื่ องการอบรมให้กบท่านในภายหลัง
                                                                                                                           ั
  2. กรุ ณานาส่ งเจ้าหน้าที่รับลงทะเบียนภายในวันที่กาหนด (เพื่อป้ องกันเอกสารสู ญหายโปรดโทรสอบถามการรับเอกสารของท่านอีกครั้งกับเจ้าหน้าที่)
  3. โปรดระบุรายละเอียดให้มากที่สุดเพื่อประโยชน์ของท่าน

  ผู้สมัครมีความประสงค์ ทจะเข้ าอบรมใน
                         ี่                                       รุ่นที.่ .............................(เป็ นหลัก) ว/ด/ป..............................................................
     (ผู้สมัครโปรดระบุทั้งสองรุ่นให้ ครบ)                         รุ่นที.่ .............................(สารอง) ว/ด/ป..............................................................

  ชื่อ-นามสกุล (นาย/นาง/นางสาว)………………………………………………………….………………...………… อายุ ………… ปี
  ชื่อ-นามสกุล (ภาษาอังกฤษ) ………………………………………………………………………………………………………………..
                                                               กรุ ณาเขียน หรื อพิมพ์ เป็ นอักษรตัวพิมพ์ใหญ่
  สถานะปัจจุบัน          นักศึกษาใกล้จบ  นักศึกษาจบใหม่ ไม่เกิน 1 ปี  ทางาน ไม่เกิน 1 ปี  ว่างงาน

                         อื่นๆ (โปรดระบุ)............................................................
  ทีอยู่ปัจจุบัน (ทีตดต่ อได้ สะดวก)
     ่              ่ ิ
  ชื่อสถานที่ติดต่อ......................................................เลขที่ …………. อาคาร………………………ชั้น ………….ซอย …………………………
  ถนน.…………………………….…………ตาบล/แขวง ……………..……………….…… อาเภอ/เขต ………………...…………………………..…
  จังหวัด ………………………………………รหัสไปรษณี ย ์ …………...Tel: ……………………………..……Mobile…………………………………
  Fax: …………………..………….………..Email: ………………………………………………………..……………………….…………………………

  ทีอยู่ของสถาบันการศึกษา / ทีทางาน (ล่ าสุ ด)
    ่                            ่
  บริ ษท/สถาบันการศึกษา ……………………………………………………………...………….. ตาแหน่ง/ระดับชั้น………………..………..………...
        ั
  แผนก/คณะ/สายวิชา..................... …………………………..………..………... อายุงาน(โดยประมาณ)/ประสบการณ์ทางาน..………..………...
  เลขที่ ……….……. อาคาร..........………………………ชั้น ………….ซอย ………………………………ถนน.……...……………………….…………
  ตาบล/แขวง ……………..……………..…… อาเภอ/เขต ….………………………………..…จังหวัด ……….………………รหัสไปรษณี ย ์ ………...
  Tel: …………………………………………………Fax: ………………..………..Email: ………………………………… Website ……………………...…

  บุลคลทีอ้างอิงได้
          ่
  ชื่อ-นามสกุล……………………………………………………….……ความเกี่ยวข้อง………………………………………………………………..……
  สถานที่ติดต่อของบุคคลที่อางอิงได้  ที่พกอาศัย  ที่ทางาน  สถานศึกษา  อื่นๆ (โปรดระบุ).................................................
                           ้              ั
  เลขที่ …………. อาคาร………………………ชั้น ………….ซอย …………………………ถนน.………………………..…………………….…………
  ตาบล/แขวง ……………..…………… อาเภอ/เขต ….…………………………..…จังหวัด ……………………….…………รหัสไปรษณี ย ์ ………...
  Tel: ………………………………Fax: ……………………..Email: ……………………………………………….……… Website ……………………...…
ท่ านทราบข่ าวการอบรมหลักสู ตรนีจาก
                                   ้
    Website (www.arit.co.th)                                E-Mail                              Fax.                            อื่นๆ(โปรดระบุ).................................................

   โปรดระบุประสบการณ์ ด้านการใช้ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เพือการออกแบบของท่ าน                         ่
   ......................................................................................................................................................................................................................
   ......................................................................................................................................................................................................................

   ภายหลังจากทีท่านอบรมหลักสู ตรนีจบแล้ ว ท่ านคิดว่ าจะนาเอาประโยชน์ ของโปรแกรมนีไปใช้ ต่อได้ อย่ างไร
                          ่                                 ้                                                                                   ้
   ......................................................................................................................................................................................................................
   ......................................................................................................................................................................................................................

   ท่ านเคยผ่านการอบรมหลักสู ตรคอมพิวเตอร์ มาบ้ างหรือไม่ ถ้ ามีโปรดระบุชื่อหลักสู ตร ปี ทีอบรม ชื่อสถาบันทีเ่ ข้ าอบรม
                                                                                           ่
   1.          หลักสูตร ……………………………………………..……ปี ที่อบรม ……………………สถาบัน………………………..
   2.          หลักสูตร ……………………………………………..……ปี ที่อบรม ……………………สถาบัน………………………..
   3.          หลักสูตร ……………………………………………..……ปี ที่อบรม ……………………สถาบัน………………………..

   หลักสู ตรคอมพิวเตอร์ อนๆทีท่านสนใจ
                         ื่ ่
   1.         หลักสูตร …………………………………………………………………………………………
   2.         หลักสูตร ………………………………………………………………………………………...

   ประเภทของเครื่องดืม / อาหาร ทีท่านไม่ สามารถรับประทานได้
                     ่           ่
   ……………………………………………………………………………………………….……………………………………………

   หลักฐานในการสมัครทีส่งมอบให้ กบเจ้ าหน้ าทีลงทะเบียนของ ARG เรียบร้ อยแล้ วคือ
                         ่         ั            ่
    รู ปถ่ายจานวน 2 รู ป (ลายเซ็นต์รับของเจ้าหน้าที่……………………....... วันที่……………………หมายเหตุ……….…………………)
    สาเนาบัตรประชาชน (ลายเซ็นต์รับของเจ้าหน้าที่………………………… วันที่……………………หมายเหตุ……….…………………)
    สาเนาทะเบียนบ้าน (ลายเซ็นต์รับของเจ้าหน้าที่………………………….. วันที่……………………หมายเหตุ……….…………………)
    ประวัติส่วนตัว (ลายเซ็นต์รับของเจ้าหน้าที่………………………………… วันที่……………………หมายเหตุ……….…………………)
    ใบสมัคร (ลายเซ็นต์รับของเจ้าหน้าที่………………………………………… วันที่……………………หมายเหตุ……….…………………)
    เงินค้ าประกันสัญญา 3,000.- (ลายเซ็นต์รับของเจ้าหน้าที่……………..… วันที่……………………หมายเหตุ……….…………………)
        สาหรับเงินค้ าประกันจะเก็บต่อเมื่อได้รับการคัดเลือกให้เข้าอบรมได้ และจะคืนในเดือนที่ 3 หลังจากวันรับประกาศนียบัตรเท่านั้น

                             ลงชื่อผู้สมัคร                                                       ลงชื่อเจ้ าหน้ าที่ กสอ.                                        ลงชื่อเจ้ าหน้ าทีของ ARG
                                                                                                                                                                                    ่


           ……………………………………………                                                         ……………………………………………                                                      ……………………………………………

            (…………………………………………)                                                       (…………………………………………)                                                     (……………………………………………)

             วันที่.............................................                     วันที่.............................................                    วันที่.............................................



ติดต่ อประสานงาน .... คุณสุ วรรณา แช่ มวงษ์ บริษัท กลุ่มแอดวานซ์ รีเสิ ร์ช จากัด ณ อาคาร เอสวีโอเอ ถ.พระราม 3 กทม.
                      โทร.02-682-6350 ต่ อ 513 แฟกซ์ 02-682-6355, 02-294-8804 อีเมล์ suwannac@ar.co.th
เรียนเชิญเข้าร่วมโครงการจัดฝึกอบรม
                     หลักสูตรการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อการออกแบบ (ฟรี)
เจ้าของโครงการ = สานักพัฒนาอุตสาหกรรมสนับสนุน กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม (กสอ.)
ผู้ดาเนินงาน = กลุ่มบริษัท แอดวานซ์ รีเสิร์ช จากัด (ARG)
รายละเอียดภายใน =            1. ข้อกาหนดของโครงการ
                             2. ข้อกาหนดของหลักสูตร

ข้อกาหนดของโครงการ
หลักการและเหตุผลในการดาเนินโครงการของ กสอ.
          จากปัญหาวิกฤตเศรษฐกิจโลกในปัจจุบัน ทาให้มูลค่าการส่งออกของประเทศไทยในไตรมาสที่ 2 ของปี 2552 มีมูลค่าการ
ส่งออกเพียง 11,656.5 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ลดลงร้อยละ 26.6 ในขณะเดียวกันการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศก็มีมูลค่าการลงทุนเพียง
44,425.74 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 10.32 เมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปีก่อน ปัญหาวิกฤตเศรษฐกิจเหล่านี้ส่งผลโดยตรงกับ
เศรษฐกิจไทยเนื่องจากโครงสร้างเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจที่ต้องพึ่งการค้าและการลงทุนจากต่างประเทศ ทางออกของประเทศไทยที่
จะผ่านพ้นวิกฤตินี้ไปได้ คือ การเปลี่ยนโยบายทางเศรษฐกิจให้ลดการพึ่งพาด้านการลงทุนและการค้าจากต่างประเทศลง หันมาพัฒนา
โครงสร้างเศรษฐกิจของประเทศให้มีการพึ่งพาตนเองมากขึ้น เช่น การพัฒนาบุคลากรในภาคอุตสาหกรรม การพัฒนาทรัพยากรใน การ
ผลิต การพัฒนากระบวนการผลิตและผลิตภัณฑ์ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น เป็นต้น
          บุคลากรภาคอุตสาหกรรม จึงเป็นปัจจัยที่สาคัญต่อการประกอบธุรกิจอุตสาหกรรมที่ช่วยผลักดันให้การประกอบธุรกิจดาเนิน
ต่อไปได้ในทุกสภาวการณ์ โดยเฉพาะบุคลากรในสาขา การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อการออกแบบ ซึ่งจะต้องมีบุคลากรที่มีความรู้
ความเชี่ยวชาญในระดับวิศวกร ช่างเทคนิคชั้นสูง แรงงานมีฝีมือและบุคลากรสนับสนุนในด้านการบริหารจัดการองค์กร ซึ่งหากโรงงาน
หรือธุรกิจใดมีบุคคลากรที่มีความรู้เป็นเลิศ และสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ได้ดี จะส่งผลให้การประกอบธุรกิจมีความเจริญก้าวหน้า
อย่างต่อเนื่อง สามารถปรับตัวรับกับปัญหาอุปสรรคและสภาวการณ์โลกที่เปลี่ยนแปลงได้อย่างรวดเร็วได้ โดยที่ผ่านมา
             การพัฒนากาลังคนทางเทคโนโลยีเพื่อการพัฒนาอุตสาหกรรมการผลิตของไทยเป็นหน้าที่หลักของระบบการศึกษา โดยภาค
การผลิตไม่ได้มีส่วนร่วมโดยตรงในกระบวนการพัฒนากาลังคน แนวโน้มการพัฒนากาลังคนของไทยจึงเป็นไปในรูปแบบกว้างๆ และ
มุ่งผลิตกาลังคนออกมาจานวนมากๆ เพื่อสนองความต้องการของตลาดแรงงาน ตามแนวคิดการพัฒนาความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
และการสร้างงาน การเร่งกระจายความเจริญไปสู่ภาค ชนบทเพื่อลดความเหลื่อมล้าทางเศรษฐกิจและสังคมระหว่างชุมชนเมืองกับ
ชนบท การพัฒนากาลังคนทางด้านการศึกษาดังกล่าวจึงมีนัยของการสร้างความเสมอภาคในการจัดการศึกษาให้แก่ผู้ด้อยโอกาส
มากกว่าการมุ่งพัฒนากาลังคน เพื่อเสริมสร้างศักยภาพและขีดความสามารถทางเทคโนโลยีตามแผนก              ารพัฒนาอุตสาหกรรมของ
ประเทศ ส่งผลให้คุณภาพของผู้ที่จบการศึกษาอยู่ในระดับที่มีความสามารถเพียงพอต่อการรับรู้และสามารถปรับตัวเข้ากับเทคโนโลยี
การผลิตหลากหลายได้ระดับหนึ่ง แต่ไม่มีขีดความสามารถในการพัฒนาทางเทคโนโลยีการผลิตของประเทศแต่อย่างใด ซึ่งบุคลากรที่
ยังขาดจะเป็นด้านวิจัยและพัฒนา ด้านการออกแบบ ด้านการควบคุมคุณภาพและการตลาด
             ดังนั้น เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมของบุคลากรที่จะเข้าสู่ภาคอุตสาหกรรมสาขา การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อการ
ออกแบบ ให้มีศักยภาพเพียงพอที่จะปฏิบัติงานในอุตสาหกรรมเป้าหมายได้ เพื่อผลักดันให้การพัฒนาอุตสาหกรรมเป้าหมายดังกล่าว
บรรลุผล กรมส่งเสริมอุตสาหกรรมจึงจะร่วมกับสถาบันการศึกษาและโรงงานธุรกิจอุตสาหกรรม พัฒนา หลักสูตรที่จะพัฒนาบุคลากร
ก่อนเข้าสู่ภาคอุตสาหกรรม โดยจัดให้มีการพัฒนาทั้งภาคทฤษฎีในเชิงวิชาการ และการฝึกปฏิบัติจริงในโรงงานอุตสาหกรรม เพื่อเป็น
การเรียนรู้และป้อนให้กับอุตสาหกรรมเป้าหมายได้อย่างเพียงพอ



                                                            1
วัตถุประสงค์ของโครงการ กสอ.
          1        เพื่อพัฒนาศักยภาพโดยการฝึกอบรม ให้กับนิสิต /นักศึกษาที่กาลังจะจบการศึกษา บัณฑิตจบใหม่ และบุคลากรจาก
ภาคอุตสาหกรรมที่เพิ่งเข้าทางาน ตลอดจนบุคลากรจากภาคอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้อง ให้มีความรู้เรื่อง การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อ
การออกแบบ
          2.       เพื่อ เป็นการ เตรียมความพร้อม ให้กับนิสิต /นักศึกษาที่กาลังจะจบการศึกษา บัณฑิตจบใหม่ และบุคลากรจาก
ภาคอุตสาหกรรมที่เพิ่งเข้าทางาน ตลอดจนบุคลากรจากภาคอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้อง ให้มีความรู้และความเข้าใจในการดาเนินงานใน
ภาคอุตสาหกรรมในอนาคต สามารถรองรับการขยายตัว และการเจริญเติบโตในการผลิต ให้มีความพร้อมในการปฏิบัติงาน โดยมี
ความรู้ความเข้าใจ และมีทักษะเพื่อปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
          3.       เพื่อสร้างความต่อเนื่องและความเชื่อมโยงระหว่างผู้เชี่ ยวชาญ บุคลากรภาคการผลิต และผู้ประกอบการ ผ่าน
เครือข่ายที่เป็นระบบให้เกิดเป็นฐานรากที่มั่นคงในด้านการผลิตที่เอื้อต่อสิ่งแวดล้อม สาหรับตลาดในอนาคตต่อไป

คุณสมบัติของผู้เข้ารับการอบรมตามโครงการ กสอ.
        การฝึกอบรมหลักสูตร การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อการออกแบบ ให้แก่บุคลากรจานวน 70 ราย แบ่งเป็น 2 รุ่นๆละ 35
ราย โดยมีคุณสมบัติดังนี้
        1       นิสิตนักศึกษาที่ใกล้จะจบการศึกษาในระดับไม่ต่ากว่าอนุปริญญา/เทียบเท่า หรือ
        2       บุคลากรที่เพิ่งจบการศึกษาในระดับไม่ต่ากว่าอนุปริญญา/เทียบเท่า ทั้งนี้ไม่เกิน 1 ปีหรือ
        3       บุคลากร ที่เพิงเข้าทางานในภาคอุตสาหกรรมโดยมีระยะเวลาการทางานไม่เกิน 1 ปี
                               ่

ผลลัพธ์ที่ต้องการ
        1      บุคคลากรตามเป้าหมายโครงการ ผ่านการฝึกอบรม จานวนไม่น้อยกว่า 70 ราย
        2      ผู้ผ่านการฝึกอบรมดังกล่าว ได้รับการประเมินผลความพึงพอใจ ตามแบบประเมินผลรับบริการของกรมส่งเสริม
อุตสาหกรรม โดยมีคะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 85
        3      ผู้ผ่านการฝึกอบรมดังกล่าว จะต้องผ่านทดสอบหลังการอบรมเรียบร้อย (Post-test) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80


เงื่อนไขและวิธีในการเข้าร่วมการอบรมของโครงการ กสอ.
          1.      ผู้ที่จะสมัครจะต้องมีคุณสมบัติตามกลุ่มเป้าหมายที่ระบุตามข้อกาหนดของโครงการ โดยการอ้างอิงจากเอกสาร
การศึกษา หรือ/ สถานที่ทางาน / หรือ บุคคลที่อ้างอิงได้
          2.      การรับสมัครให้ผู้สมัครเตรียมหลักฐานให้ครบถ้วนตามข้อ 1, สาเนาบัตรประชาชน, สาเนาทะเบียนบ้าน, ประวัติ
ส่วนตัว , ใบสมัคร, รูปถ่าย 1 นิ้ว ติดใบสมัคร 1 ใบ บัตรประจาตัว 1 ใบ จากนั้นนามายื่นที่ ARG ถ.พระราม 3 อาคารเอสวีโอเอ ชั้น 5
ภายในวันที่กาหนดไว้ในแต่ละรุ่น โดยผ่านช่องทางอีเมล์ , แฟกซ์, จดหมาย หรือมายื่นเอกสารด้วยตนเอง เท่านั้น
                           รุ่นที่ 1 ปิดรับสมัครวันที่ 4 มีนาคม 2554
                           รุ่นที่ 2 ปิดรับสมัครวันที่ 15 มีนาคม 2554
          3.      หลังการสมัครในแต่ละรุ่นเสร็จเรียบร้อย – ให้ผู้สมัครรอเรียกตัวเพื่อนัดมาสัมภาษณ์ (ตามวันที่กาหนด) โดยจะแจ้ง
ให้ทราบผ่านทางอีเมล์, เว็บไซต์ , และโทรแจ้งโดยตรง
          4.      หลังสอบสัมภาษณ์ ผู้สมัครติดตามการประกาศรายชื่อผู้ที่ได้รับคัดเลือก (ตัวจริง-ตัวสารอง) ในแต่ละรุ่น ตามวันที่
กาหนดไว้ ผ่านช่องทางเว็บไซด์ , อีเมล์, และโทรแจ้งโดยตรง หรือสามารถโทรมาสอบถามได้ด้วยตนเองที่คุณสุวรรณา แช่มวงษ์ โทร .
02-682-6350 ต่อ 513
          5.      ผู้ที่ผ่านการคัดเลือก (ตัวจริง) จะต้องติดต่อยืนยันการเข้าร่วมการอบรมกลับมาที่ ARG อีกครั้ง พร้อมกับวาง เงินค้า
ประกันในการเข้าอบรม 3,000.-/ท่าน ภายในระยะเวลาที่กาหนดมิฉะนั้นจะถือว่าปฏิเสธการเข้าร่วมการอบรม ทาง ARG ก็จะเรียก
                                                               2
รายชื่อสารองมาแทน (การรับเงินค้าประกันคืน จะสงวนสิทธิ์เฉพาะผู้เข้าอบรมที่ อบรมครบ 15 วัน (หรือไม่ต่ากว่า 80%ของเวลาเรียน)
นอกเหนือจากนี้จะพิจารณาตามความเหมาะสม)
           6.       เมื่อผู้เข้าอบรมมาเข้าเรียนครบตามจานวนวันของหลักสูตร 15 วัน หรืออย่างน้อยต้องเข้าเรียนไม่ต่ากว่า 80% ของ
เวลาเรียนทั้งหมด จึงจะถือว่าผ่านการอบรมตามข้อกาหนดของโครงการ และมีสิทธิที่จะได้รับเงินค้าประกันคืนครบตามจานวน (รวมถึง
ในกรณีที่มีเหตุสุดวิสัย ผู้เข้าอบรมจะต้องแสดงหลักฐาน, และติดต่อกับเจ้าหน้าที่ ARG เพื่อให้ออกจดหมายรับรองแทนการเข้าอบรม)
           7.      ในการอบรม จะมีการทดสอบทักษะผู้เรียน อย่างน้อย 2 ครั้ง คือก่อนอบรม (Pre-test) และหลังการอบรม (Post-test)
จากนั้นเมื่อจบการอบรมไปแล้ว ไม่เกิน 3 เดือน ทางผู้จัดอบรมจะโทรไปสอบถามความคืบหน้ากับผู้เข้าอบรมอีกครั้ง
           8.      ระยะเวลาของการคืนเงินค้าประกันให้กับผู้เข้าอบรม จะต้องหลังจากที่ผู้จัดอบรมได้โทรไปสอบถามความคืนหน้า
กับผู้เข้าอบรมอีกครั้งหลังจากที่เรียนจบไปแล้ว

สิ่งที่ผู้เข้าอบรมจะได้รับ
    1.   เอกสารประกอบการอบรม, สมุด, ปากกา
    2.   ใบประกาศนียบัตร
    3.   อาหารว่าง 2 มื้อ, อาหารเที่ยง 1 มื้อ / ต่อท่าน / วัน
    4.   ผู้เข้าอบรมจะได้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ 1 ท่าน/เครื่อง




                                                                3
ข้อกาหนดของหลักสูตร

                      หลักสูตรการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อการออกแบบด้วย
                               AutoCAD 2010 และ Inventor 2011
                                         ระดับต้น-ระดับกลาง-ระดับสูง

หลักการและเหตุผล
          การพัฒนาเพิ่มขีดความสามารถซอฟท์แวร์ช่วยในการออกแบบด้วยคอมพิวเตอร์ดาเนินไปอย่างต่อเนื่อง จึงมีความจาเป็นที่
จะต้องพัฒนาบุคลากรที่จะเริ่มเข้าสู่อุตสาหกรรมการออกแบบด้วยคอมพิวเตอร์ให้มีความรู้ความสามารถและทักษะในการใช้ซอฟท์แวร์
ช่วยในการออกแบบและพร้อมที่จะสามารถปฏิบัติงานจริงได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ ถึงแม้ว่าในปัจจุบัน ในอุตสาหกรรมต่างๆ ได้มีการ
นาซอฟท์แวร์คอมพิวเตอร์ช่วยในการออกแบบเวอร์ชั่นใหม่ๆ เข้ามาใช้งานอยู่เสมอๆ แต่ผู้ปฏิบัติงานและผู้ที่จะเริ่มเข้าสู่อุตสาหกรรม
การออกแบบยังคงใช้เทคโนโลยีเดิมๆ ในการออกแบบชิ้นงาน จึงยังมิได้ใช้ประโยชน์สูงสุดจากฟีเจอร์ใหม่ๆ ของซอฟแวร์ ซึ่งจะช่วย
เพิ่มคุณภาพและลดระยะเวลาในการทางานให้สั้นลง จึงทาให้การลงทุนกับซอฟท์แวร์ใหม่ๆ ยังมิได้ผลคุ้มค่าเท่าที่ควร หลักสูตรนี้จะ
ตอบสนองความต้องการในอุตสาหกรรมการออกแบบได้โดยตรง โดยจะมีการฝึกอบรมให้ผู้ที่ยังไม่เคยใช้ซอฟท์แวร์ช่วยในการ
ออกแบบมาก่อนหรือผู้เคยใช้ซอฟท์แวร์ช่วยในการออกออกแบบมาบ้างรู้จักวิธีการใช้ซอฟท์แวร์ช่วยในการออกแบบโดยใช้ประโยชน์
จากฟีเจอร์เดิมและรวมถึงเทคโนโลยีใหม่ๆ ครอบคลุมซอฟท์แวร์ช่วยในการออกแบบทุกๆ เวอร์ชั่น ผู้ผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรนี้จะมี
ความรู้ มีทักษะ ความพร้อมและความมั่นใจที่จะก้าวเข้าสู่อุตสาหกรรมการออกแบบด้วยคอมพิวเตอร์ทั้งทางด้าน 2 มิติและ 3 มิติ
ตอบสนองต่อความต้องการของตลาดแรงงานในอุตสาหกรรมการออกแบบและอุตสาหกรรมการผลิตประเภทต่างๆ ทั้ งในประเทศและ
ต่างประเทศ


วัตถุประสงค์ของหลักสูตร
    1. เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความสามารถในการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการออกแบบได้ระยะเวลาอันสั้น
    2. เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมรู้จักวิธีการใช้คาสั่งทั้งหมดทีจาเป็นต่อการออกแบบและการ1เขียนแบบใน AutoCAD 2010 และ
                                                                  ่
       Inventor 2011
    3. เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมรู้จักเทคนิคในการใช้คาสั่งต่างๆ อย่างเหมาะสมและสามารถที่จะนาเทคนิคไปประยุกต์ใช้ในงานเขียน
       แบบและงานออกแบบแบบจาลอง 3 มิติด้วยตนเอง
    4. เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้ความเข้าใจสามารถเริ่มทางานในอุตสาหกรรมประเภทต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    5. เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้ในงานออกแบบตรงตามความต้องการของตลาดแรงงานในประเทศและต่างประเทศ

คุณสมบัติของผู้เข้ารับการอบรม
    1. ไม่จาเป็นต้องมีพื้นฐานในการใช้ AutoCAD และ Inventor มาก่อน
    2. มีพื้นฐานการใช้งานระบบปฏิบัติการวินโดว์ อาทิ เช่น การจัดเก็บไฟล์ การคัดลอกไฟล์ เป็นต้น
    3. มีความมุ่งมั่นและตั้งใจ พร้อมที่จะรับความรู้และเทคโนโยลีใหม่ในด้านการออกแบบด้วยคอมพิวเตอร์




                                                            4
เนื้อหาของหลักสูตร

                                                   แผนการสอนวันที่ 1
ชั่วโมงที่                      ภาคทฤษฎี                                       ภาคปฏิบัติ                   หมายเหตุ
     1      ประเมินผลก่อนฝึกอบรม AutoCAD 2010 และ                                 -                      ประเมินผลก่อน
             Inventor 2011                                                                              ฝึกอบรมใช้เวลา 30
            ความเป็นมาของ AutoCAD ตั้งแต่อดีตจนถึง                                                           นาที
             ปัจจุบัน อธิบาย ฟีเจอร์ใหม่และอินเตอร์เฟสใหม่                                              นาเสนอด้วย Power
             ของ AutoCAD 2010 และการนาฟีเจอร์ใหม่ไป                                                       Point Presentation
             ประยุกต์ใช้งาน                                                                             แนะนาการใช้แผ่น
            อธิบายการปรับแต่งสภาพแวดล้อม Windows ใน                                                    DVD-ROM ช่วยสอน

             ส่วนที่เกี่ยวข้องกับ AutoCAD 2010                                                          แสดงตัวอย่าง และ
            อธิบายการปรับแต่งสภาพแวดล้อมของ AutoCAD                                                        แสดงขั้นตอน
             2010 และกล่าวถึงวิธีการใน AutoCAD เวอร์ชั่น                                                วิธีการอย่างละเอียด
             ก่อนๆ โดยนาเข้า (Import)และส่งออก(Export)ค่า
             การปรับแต่งสภาพแวดล้อมจากคอมพิวเตอร์
             เครื่องหนึ่งไปใช้งานในคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น เพื่อ
             ความรวดเร็วและเพื่อช่วยให้เกิดความคล่องตัวใน
             การใช้โปรแกรม
     2                              -                            ฝึกการปรับสภาพแวดล้อม                      ผู้เข้ารับการ
                                                                 ฝึกการปรับแต่งสภาพแวดล้อม AutoCAD       ฝึกอบรมจะต้อง
                                                                  2010 และการนาเข้า(Import)และส่งออก        ผ่านการฝึกใน
                                                                  (Export)ค่าการปรับแต่งสภาพแวดล้อม      หัวข้อนี้ มิฉะนั้นจะ
                                                                  จากคอมพิวเตอร์เครื่องหนึงไปใช้งานใน
                                                                                          ่             เป็นอุปสรรคต่อการ
                                                                  คอมพิวเตอร์เครื่องอื่น                 ฝึกปฏิบัติในหัวข้อ
                                                                                                                ต่อๆ ไป
   3       อธิบายการสร้างเทมเพล็ทไฟล์ต้นแบบ .dwt เพื่อ        ฝึกการสร้างเทมเพล็ทไฟล์ต้นแบบ .dwt                  -
              เก็บค่าเริ่มต้นต่างๆ
   4         อธิบายโครงสร้างการจัดระบบไฟล์และโฟลเดอร์                          -                                 -
              ต่างๆ ที่ควรรู้จักของ AutoCAD 2010
             อธิบายการใช้งานริบบอน(Ribbon
             อธิบายการใช้งานบรรทัดแสดงสถานะ(Status bar)
              รูปแบบใหม่
             อธิบายการใช้งานเมนูบราวเซอร์(Menu browser)
              และการค้นหาคาสั่ง
   5         อธิบายการเลือกวัตถุ(Object selection)          ฝึกการเลือกวัตถุแบบต่างๆ                            -
   6         อธิบายการใช้ออฟเจกท์สแน๊ป(OSNAP)               ฝึกการใช้ออฟเจกท์สแน๊ป(OSNAP)                       -
             อธิบายการใช้โพล่าร์สแน๊ป(POLAR) อธิบายการ      ฝึกการใช้โพล่าร์สแน๊ป(POLAR)
              ใช้แทร็คกิ้ง(OTRACK)ช่วยในการ แทร็คจุด         ฝึกการใช้แทร็คกิ้ง(OTRACK)

                                                           5
   อธิบายการใช้งานไดนามิกอินพุท(Dynamic Input)    ฝึกการใช้ไดนามิกอินพุท(Dynamic Input)
   7         อธิบายการเปิดโหมดแสดงความหนาเส้น               ฝึกการเปิดโหมดแสดงความหนาเส้น              -
              (LWT)และการตั้งค่าเริ่มต้น                      (LWT)และการตั้งค่าเริ่มต้น
             อธิบายการกาหนดจุดกริด(GRID)และการบังคับ        ฝึกการกาหนดจุดกริด(GRID)และการ
              ระยะกระโดดของเคอร์เซอร์(SNAP)                   บังคับ
             อธิบายการใช้ปุ่มต่างๆ บนคีย์บอร์ดและเมาส์      ฝึกการกาหนดขอบเขตลิมต(Drawing
                                                                                       ิ
             อธิบายการกาหนดขอบเขตลิมิต(Drawing limits)       limits)
             อธิบายการใช้คาสั่งในการควบคุมมุมมอง ZOOM       ฝึกการใช้คาสั่ง ZOOM และ PAN
              และ PAN

                                                  แผนการสอนวันที่ 2
ชั่วโมงที่                  ภาคทฤษฎี                                     ภาคปฏิบัติ                   หมายเหตุ
     8      อธิบายการใช้คาสั่งในการเขียนเส้น LINE, ARC,                    -                            -
             CIRCLE, PLINE, RECTANG, POLYGON,
             SPLINE, ELLIPSE, BOUNDARY, WIPEOUT,
             POINT, และ MLINE
     9                           -                        ฝึกการใช้คาสั่ง LINE, ARC, CIRCLE,            -
                                                           PLINE, RECTANG, POLYGON,
                                                           SPLINE, ELLIPSE, BOUNDARY,
                                                           WIPEOUT, POINT, และ MLINE
   10-11  อธิบายการใช้คาสั่งในการแก้ไขปรับแต่งเส้น                         -                            -
             MOVE, COPY, ROTATE, SCALE, MIRROR,
             OFFSET, ARRAY, STRETCH, TRIM,
             EXTEND, BREAK, LENGTHEN, FILLET,
             CHAMFER, และ EXPLODE
   12-14                         -                        ฝึกการใช้คาสั่ง MOVE, COPY,                   -
                                                           ROTATE, SCALE, MIRROR, OFFSET,
                                                           ARRAY, STRETCH, TRIM, EXTEND,
                                                           BREAK, LENGTHEN, FILLET,
                                                           CHAMFER, และEXPLODE

                                                  แผนการสอนวันที่ 3
ชั่วโมงที่                   ภาคทฤษฎี                                    ภาคปฏิบัติ                   หมายเหตุ
    15      อธิบายการกาหนดรูปแบบ(Text style)และการ  ฝึกการเขียนตัวอักษรตอนที่ 1                        -
             เขียนตัวอักษรด้วยคาสั่ง Single Line Text และ
             Multiline Text
    16                           -                         ฝึกการเขียนตัวอักษรตอนที่ 2                  -
    17      อธิบายการกาหนดรูปแบบ(Dimension style)และ                        -                           -
             การเขียนเส้นบอกขนาด(Dimensioning)

                                                            6
18-19                            -                                ฝึกการใช้คาสั่งทั้งหมดสาหรับการเขียน      -
                                                                   เส้นบอกขนาด
  20         อธิบายการระบายลวดลายแฮทช์(Hatch)และการ  ฝึกการเขียนลวดลายแฮทช์และระบายสีไล่                    -
              ระบายสีไล่ระดับ(Gradient)                             ระดับ(Gradient)
             อธิบายการสร้างเลเยอร์และการกาหนดคุณสมบัติ  ฝึกการสร้างเลเยอร์และการกาหนด
              ต่างๆ ของเลเยอร์ การใช้งาน Layer Properties           คุณสมบัติต่างๆ ของเลเยอร์
              Manager ใหม่และฟีเจอร์ที่เพิ่มขึ้น รวมทั้งคาสั่งใน  ฝึกการสร้างบล็อค(Blocks)    เอกซ์เรฟ
              กลุ่ม Layer Tools และ Layer State Manager             (Xrefs หรือ DWG Reference)
             อธิบายการสร้างบล็อค(Blocks) เอกซ์เรฟ(Xrefs
              หรือ DWG Reference) และความสัมพันธ์กับคาสั่ง
              UNITS
             อธิบายการใช้งานเอกซ์เทอนัลเรฟเฟอเรนต์
              (External Reference)อย่างละเอียด
  21         อธิบายการใช้งานหน้าต่าง DesignCenter, และการ  ฝึกการใช้ DesignCenter, Properties และ           -
              ใช้งานหน้าต่าง Properties                             Tool Palettes
             อธิบายการใช้ Tool Palettes ช่วยในการสอดแทรก
              บล็อค อิมเมจ แฮทช์ สีไล่ระดับ และคาสั่ งต่างๆ
              ออกมาใช้งาน

                                                    แผนการสอนวันที่ 4
ชั่วโมงที่                     ภาคทฤษฎี                                        ภาคปฏิบัติ                  หมายเหตุ
    22      อธิบายหลักการเขียนแบบเครื่องกล I                  แบบฝึกหัดงานเขียนแบบเครื่องกล I               -
    23     1. อธิบายการใช้คาสั่งสารพัดประโยชน์ต่างๆ อาทิ      2. ฝึกการใช้คาสั่ง ‘CAL, DISTANCE,              -
              ‘CAL, DISTANCE, AREA, MASSPROP,                    AREA, MASSPROP, DRAWORDER,
              DRAWORDER,            DIVIDE, MEASURE,             DIVIDE, MEASURE, MATCHPROP
              MATCHPROP
    24      อธิบายหลักการเขียนแบบเครื่องกล II                 แบบฝึกหัดงานเขียนแบบเครื่องกล II              -
    25      อธิบายหลักการเบื้องต้นและการใช้งาน               3. ฝึกการใช้คาสั่งและปุ่มไอคอนควบคุม            -
              Annotation Scale                                   Annotation Scale
    26      อธิบายหลักการเขียนแบบเครื่องกล III                แบบฝึกหัดงานเขียนแบบเครื่องกล III
    27     4. อธิบายหลักการเบื้องต้นและการใช้งาน Parametric   5. ฝึกการใช้คาสั่งในกลุ่ม Parametric            -
    28      อธิบายหลักการเขียนแบบไฟฟ้า                        แบบฝึกหัดงานเขียนแบบไฟฟ้า                     -

                                                    แผนการสอนวันที่ 5
ชั่วโมงที่                   ภาคทฤษฎี                                     ภาคปฏิบัติ                       หมายเหตุ
 29-30  อธิบายหลักการเขียนแบบสถาปัตยกรรม I                 แบบฝึกหัดงานเขียนแบบบ้าน                         -
    31     6. อธิบายการใช้ Page Setup Manager ในการตั้งค่า  ฝึกการจัดหน้ากระดาษ กาหนดมาตราส่วน               -
              หน้ากระดาษในเลเอาท์เปเปอร์สเปส                 และการควบคุมความหนาเส้น
           7. อธิบายการสร้างวิวพอร์ทและการกาหนดมาตรา

                                                              7
ส่วนให้กับวิวพอร์ทใน Layouts
           8.   อธิบายการควบคุมความหนาเส้น เพื่อเตรียมพร้อม
                ในการพิมพ์แบบแปลน
 32-34         อธิบายหลักการเขียนแบบสถาปัตยกรรม II           แบบฝึกหัดงานเขียนแบบอาคาร                       -
  35           อธิบายการพิมพ์แบบแปลนด้วยคาสั่ง PLOT         9. ฝึกพิมพ์แบบแปลน                                -
               อธิบายการใช้ Plot Stamp เพื่อพิมพ์ข้อความที่
                ต้องการลงบนขอบกระดาษ

                                                     แผนการสอนวันที่ 6
ชั่วโมงที่                       ภาคทฤษฎี                                      ภาคปฏิบัติ                   หมายเหตุ
    36     10. อธิบายและแสดงขั้นตอนในการทาแบบฝึกหัดงาน 11. แบบฝึกหัดงานสร้างเทมเพล็ท                           -
               สร้างเทมเพล็ท(Template)ไฟล์ต้นแบบ                   (Template)ไฟล์ต้นแบบ
    37     12. อธิบายการใช้งาน Annotation Scale เชิงลึกอย่าง 14. ฝึกการใช้งาน Annotation Scale                 -
               ละเอียด การสร้างวัตถุที่สามารถปรับสเกลโดย
               อัตโนมัติ(Annotative objects) อาทิ เช่น Text,
               Dimension, Leader, Tolerance, Multileader,
               Block, Attribute และ Hatch ที่สามารถปรับสเกล
               โดยอัตโนมัติ
           13. อธิบายการควบคุมการปรากฏของวัตถุที่สามารถ
               ปรับสเกลโดยอัตโนมัต(Annotative objects) การ
                                      ิ
               เพิ่มและแก้ไขสเกลให้แก่วัตถุที่สามารถปรับสเกล
               โดยอัตโนมัติและการกาหนดทิศทางการหันเห
               ให้แก่วัตถุที่สามารถปรับสเกลโดยอัตโนมัติ
               ในเลเอาท์เปเปอร์สเปส
    38     15. อธิบายหลักการใช้งานพาราเมตริกดรอวิ่ง            18. ฝึกการใช้งาน Geometric constraints และ      -
               (Parametric drawing) การบังคับวัตถุด้วยรูปทรง       Dimensional constraints
               Geometric constraints และ การบังคับวัตถุด้วย
               เส้นบอกขนาด
           16. อธิบายการบังคับวัตถุด้วยรูปทรงด้วยตนเอง
               Geometric constraints การควบคุมการปรากฏ
               ของสัญลักษณ์ Geometric constraints การลบ
               สัญลักษณ์บังคับรูปทรง Geometric constraints
           17. อธิบายประเภทการบังคับขนาดวัตถุแบบ Dynamic
               และ Annotational การบังคับวัตถุด้วยเส้นบอก
               ขนาด Dimensional constraints การควบคุมการ
               ปรากฏของเส้นบอกขนาด                 Dimensional
               constraints การสร้างความสัมพันธ์และการสร้าง
               สูตรด้วย Parameter manager การเปลี่ยนประเภท
               เส้นบอกขนาดระหว่าง Dynamic                 และ
               Annotational การแปลงเส้นบอกขนาดธรรมดาให้
                                                              8
เป็น Dimensional constraints
  39       19.   อธิบายหลักการสร้างไดนามิกบล็อคและการใช้                              -                           -
                 Block Editor ช่วยในการสร้างไดนามิกบล็อค
           20.   อธิบายเครื่องมือช่วยในการสร้างไดนามิกบล็อค
                 พารามิเตอร์(Parameters)        แอคชั่น(Actions)
                 พารามิเตอร์เซท(Parameter sets) และพาราเมตริก
                 (Parametric)
           21.   อธิบายตัวอย่างการสร้างไดนามิกบล็อค โดยใช้
                 พาราเมตริก พารามิเตอร์และแอคชั่น
  40       22.   อธิบาย Point Parameter, Linear Parameter, Polar 24. ฝึกการใช้พารามิเตอร์และแอคชั่นหลายๆ          -
                 Parameter, XY Parameter, Rotation Parameter,        แบบร่วมกัน ตัวอย่างการสร้างไดนามิกบ
                 Alignment Parameter, Flip Parameter, Visibility     ล็อค โดยใช้พาราเมตริก แสดงตัวอย่าง
                 Parameter, Lookup Parameter, Block Table            การสร้างไดนามิกบล็อค โดยใช้
                 Parameter และ Base Point Parameter                  พารามิเตอร์ แอคชั่นและพาราเมตริก
           23.   อธิบายการเชื่อมโยงความสัมพันธ์แบบลูกโซ่ การ         ร่วมกัน
                 เชื่อมโยงความสัมพันธ์แบบศูนย์กลาง
  41            อธิบายการใช้ Sheet Set Manager ตั้งแต่เริ่มต้น  ฝึกการใช้คาสั่งต่างๆ ในกลุ่ม Sheet Set          -
                 การสร้างตารางรายการแบบ การสร้างบล็อค
                 สัญลักษณ์ควบคุมการเปลี่ยนแปลงมาตราส่วนของ
                 วิวพอร์ท การบันทึกมุมมองวิว (View)เพื่อใช้งาน
                 ใน Sheet Set การใช้ Sheet Set Manager ในการ
                 สร้างภาพฉายบนเลเอาท์ การพิมพ์แบบแปลนครั้ง
                 ละหลายๆ แผ่นจาก Sheet Set Manager
  42       25.   อธิบายการใช้คาสั่งในกลุ่ม Express Tools เฉพาะ 26. ฝึกการใช้คาสั่งในกลุ่ม Express Tools           -
                 คาสั่งที่ใช้งานบ่อยๆ ในงานเขียนแบบ 2 มิติ

                                                       แผนการสอนวันที่ 7
ชั่วโมงที่                      ภาคทฤษฎี                                        ภาคปฏิบัติ                     หมายเหตุ
    43     27. อธิบายการใช้ ควิกวิวเลเอาท์(Quick View Layout) 36. ฝึกการสร้างแอคชั่นมาโครและการใช้งาน             -
               และควิกวิวดรอวิ่ง(Quick View Drawing)              ตัวอย่างที่ 1 Limits Zoom Grid ตัวอย่างที่
           28. อธิบายการใช้งานสเตอริ่งวิล(Steering Wheel)         2 Move ตัวอย่างที่ 3 Mirror และตัวอย่างที่
           29. อธิบายการใช้งานสโลโมชั่น(Slow Motion)              4 Boundary Area Erase Dtext Txt2mtxt
           30. อธิบายการสร้างไฟล์ .DWFx เพื่อนาไปใช้งานบน
               อินเตอร์เนต
           31. อธิบายการใช้งานแอคชั่นเรคคอร์ดเดอร์(Usage of
               action recorder)
           32. อธิบายการบันทึกแอคชั่นมาโคร
           33. อธิบายการแก้ไขแอคชั่นมาโคร
           34. อธิบายการรันแอคชั่นมาโคร
           35. อธิบายการสารองแอคชั่นมาโคร
                                                               9
อธิบายการกาหนดคุณสมบัติควิกพร็อบเพอร์ต(Quick
                                                   ี้
         properties)
  44     37. อธิบายการแปลง Layout ให้เป็น Model ด้วยคาสั่ง 39. ฝึกการใช้คาสั่ง Exportlayout
             Exportlayout                                  40. ฝึกการสร้างคาสั่ง LTSCALE ตัวอย่างการ
         38. อธิบายการสร้างคาสั่งใหม่                          สร้างคาสั่ง 6-SIDED POLYGON ตัวอย่าง
                                                               การสร้างคาสั่ง ANSI HATCH และ
                                                               ตัวอย่างการสร้างคาสั่ง LIMITS, ZOOM
                                                               ALL และ GRID ON
  45     41. อธิบายการแก้ไขปรับแต่งและเพิ่มเติมเมนูบาร์และ 45. ฝึกการแก้ไขปรับแต่งและเพิ่มเติมเมนูบาร์        -
             บราวเซอร์(Menu browser)                           และบราวเซอร์(Menu browser)
         42. อธิบายการแก้ไขปรับแต่งและเพิ่มเติมปุ่มไอคอน 46. ฝึกการแก้ไขปรับแต่งและเพิ่มเติมปุ่ม
             บนทูลบาร์(Toolbars)                               ไอคอนบนทูลบาร์(Toolbars)
         43. อธิบายการแก้ไขปรับแต่งและเพิ่มเติมริบบอน      47. ฝึกการแก้ไขปรับแต่งและเพิ่มเติมริบบอน
         44. อธิบายการแก้ไขปรับแต่งและเพิ่มเติมควิก        48. ฝึกการแก้ไขปรับแต่งและเพิ่มเติมควิก
             แอคเซสทูลบาร์(Quick access toolbar)               แอคเซสทูลบาร์(Quick access toolbar)
  46     49. อธิบายการแก้ไขปรับแต่งและเพิ่มเติมคีย์ลัด     55. ฝึกการแก้ไขปรับแต่งและเพิ่มเติมคีย์ลัด         -
         50. อธิบายการแก้ไขปรับแต่งและเพิ่มเติมคาสั่งย่อ   56. ฝึกการแก้ไขปรับแต่งและเพิ่มเติมคาสั่งย่อ
         51. อธิบายการแก้ไขปรับแต่งและเพิ่มเติมโรลโอเวอร์ 57. ฝึกการแก้ไขและเพิ่มเติมโรลโอเวอร์
         52. อธิบายการแก้ไขปรับแต่งการดับเบิ้ลคลิก         58. ฝึกการแก้ไขปรับแต่งการดับเบิ้ลคลิก
         53. อธิบายการแก้ไขปรับแต่งการกาหนดคาสั่งให้ปุ่ม 59. ฝึกการแก้ไขปรับแต่งการกาหนดคาสั่งให้
             ของเมาส์                                          ปุ่มของเมาส์
         54. อธิบายการแก้ไขปรับแต่งและเพิ่มเติมทูลพาเลทซ์ 60. ฝึกการแก้ไขและเพิ่มเติมทูลพาเลทซ์
  47      อธิบายหลักการเขียนแบบเครื่องกล IV                แบบฝึกหัดงานเขียนแบบเครื่องกล IV                 -
  48     61. อธิบายการสร้างลวดลายแฮทช์ .pat ด้วยโปรแกรม 65. ฝึกการสร้างลวดลายแฮทช์ .pat                       -
             Hatch Manager                                 66. ฝึกการสร้างรูปแบบเส้น(Linetype)
         62. อธิบายการสร้างรูปแบบเส้น(Linetype)ด้วยตนเอง       ประเภทต่างๆ
         63. อธิบายการสร้าง Linetype เส้นประรูปแบบพิเศษ
         64. อธิบายการสร้าง Linetype โดยใช้ตัวอักษรเป็น
             ส่วนประกอบ
             อธิบายการสร้าง Linetype โดยใช้เชฟ(Shape)เป็น
             ส่วนประกอบ
  49      อธิบายหลักการเขียนแบบเครื่องกล V                 แบบฝึกหัดงานเขียนแบบเครื่องกล V                  -

                                                   แผนการสอนวันที่ 8
ชั่วโมงที่                  ภาคทฤษฎี                                     ภาคปฏิบัติ                        หมายเหตุ
    50      อธิบายหลักการเขียนแบบเครื่องกล VI               แบบฝึกหัดงานเขียนแบบเครื่องกล VI                -
   51-54    อธิบายหลักการเขียนแบบสถาปัตยกรรม III            แบบฝึกหัดงานเขียนแบบบ้านเดี่ยว                  -
    55      สรุปการใช้โปรแกรม AutoCAD 2010                                   -                               -
            ถามตอบปัญหาการใช้โปรแกรม
    56      ทดสอบและประเมินผลการใช้ AutoCAD 2010                                -                        จบหลักสูตร
                                                           10
AutoCAD


                                                      แผนการสอนวันที่ 9
ชั่วโมงที่                      ภาคทฤษฎี                                            ภาคปฏิบัติ                    หมายเหตุ
    57     67. แนะนาเบื้องต้นในการใช้โปรแกรม Inventor 2011                               -                      เริ่มหลักสูตร
           68. อธิบายความสามารถของโมดูลต่างๆ           ของ                                                      Inventor 2011
               โปรแกรม
           69. อธิบายความต้องการทางด้านฮาร์ดแวร์และ
               ซอฟท์แวร์(System Requirement)
           70. อธิบายการติดตั้งโปรแกรม Autodesk Inventor
                Professional 2011
          71. อธิบายการแก้ไขปัญหาการติดตั้งโปรแกรม
              (Trouble Shooting)
  58      72. อธิบายการปรับสภาพแวดล้อมเพื่อเตรียมความ           78. ฝึกการปรับสภาพแวดล้อมเพื่อเตรียม                  -
                พร้อมก่อนการใช้โปรแกรม                              ความพร้อมก่อนการใช้โปรแกรม
          73.   อธิบายยูสเซอร์อินเตอร์เฟสและการจัดการไฟล์       79. ฝึกการจัดการโปรเจกท์ไฟล์ .ipj
          74.   อธิบายไฟล์ประเภทต่างๆ ของ Autodesk Inventor
          75.   อธิบายโครงสร้างโปรแกรม โครงสร้างโฟลเดอร์
                และการจัดเก็บไฟล์
          76.   อธิบายการจัดการโปรเจกท์ไฟล์ .ipj
          77.   อธิบายหลักการทางานเบื้องต้นของโปรแกรม
  59      80.   อธิบายหลักการขึ้นรูปโมเดลแบบ Top Down Design    88. ฝึกการเลือกระนาบในการขึ้นรูปโมเดล                 -
                และ Bottom Up Design                            89. ฝึกการหมุนมุมมองควบคุมการปรากฏของ
          81.   อธิบายการเริ่มต้นไฟล์ใหม่และการเรียกใช้เทม          พาร์ทและแอสเซมบลี
                เพล็ทไฟล์ฟอร์แมตต่างๆ                           90. ฝึกการตัดเฉือนภาพ(Slice Graphic)
          82.   อธิบายการเลือกระนาบในการขึ้นรูปโมเดล            91. ฝึกการควบคุมการปรากฏของวัตถุประเภท
          83.   อธิบายการหมุนมุมมองควบคุมการปรากฏของ                ต่างๆ โดยใช้ Object Visibility
                พาร์ทและแอสเซมบลี                               92. ฝึกการควบคุมการเปลี่ยนโหมดแสดงผล
          84.   อธิบายการตัดเฉือนภาพ(Slice Graphic)                  Visual Style
          85.   อธิบายการควบคุมการปรากฏของวัตถุประเภท           93. ฝึกการควบคุมแสง(Lighting)และเงา
                ต่างๆ โดยใช้ Object Visibility                      (Shadow)
          86.   อธิบายการควบคุมการเปลี่ยนโหมดแสดงผล
                Visual Style
          87. อธิบายการควบคุมแสง(Lighting)และเงา(Shadow)
  60      94. อธิบายการกาหนดสี(Color        Style)ให้กับพาร์ท 96. ฝึกการกาหนดสี(Color Style)ให้กับพาร์ท
              ฟีเจอร์และพื้นผิวของพาร์ท                           ฟีเจอร์และพื้นผิวของพาร์ท
          95. อธิบายการกาหนดวัสดุ(Material)ให้กับพาร์ท        97. ฝึกการกาหนดวัสดุ(Material)ให้กับพาร์ท
  61      98. อธิบายสเกทช์(Sketch)และการนาไปใช้งานประเภท 101. ฝึกการเขียนเส้นด้วยคาสั่ง Line, Circle, Arc,
              ต่างๆ                                               Rectangle, Spline, Ellipse, Point, Polygon,
          99. อธิบายหลักการเขียนสเกทช์ (Sketch)                   Text, Fillet, Chamfer

                                                               11
100. อธิบายการเขียนเส้นด้วยคาสั่ง Line, Circle, Arc,
                  Rectangle, Spline, Ellipse, Point, Polygon, Text, Fillet,
                  Chamfer
   62        102. อธิบายการใช้คาสั่ง Move, Copy, Rotate, Trim, 103. ฝึกการใช้คาสั่ง Move, Copy, Rotate, Trim,
                  Extend, Split, Scale, Stretch, Offset, Rectangular,       Extend, Split, Scale, Stretch, Offset,
                  Circular                                                  Rectangular, Circular
   63        104. อธิบายการใช้คาสั่ง Mirror, Centerline, Construction, 107. ฝึกการใช้คาสั่ง Mirror, Centerline,
                  Image, Points, ACAD                                       Construction, Image, Points, ACAD
             105. อธิบายหลักการสร้างสเกทช์ 3 มิติ                      108. ฝึกการใช้คาสั่ง Line (3D) , Helix, Arc (3D),
             106. อธิบายการใช้คาสั่ง Line (3D) , Helix, Arc (3D),           Spline, Point (3D), Bend
                  Spline, Point (3D), Bend


                                                                 แผนการสอนวันที่ 10
ชั่วโมงที่                       ภาคทฤษฎี                                                       ภาคปฏิบัติ                     หมายเหตุ
   64        109. อธิบายการบังคับสเกทช์ (Constrain Sketch)                     118. ฝึกการบังคับสเกทช์โดยอัตโนมัติ                -
             110. อธิบายการบังคับสเกทช์โดยอัตโนมัต(ิ Automatic                     (Automatic Dimensions and Constraints)
                  Dimensions and Constraints)                                  119. ฝึกการควบคุมการปรากฏและการซ่อนของ
             111. อธิบายการควบคุมการปรากฏและการซ่อนของ                              คอนสเตรนท์ (Constraints)บนสเกทช์
                  คอนสเตรนท์(Constraints)บนสเกทช์                              120. ฝึกการลบคอนสเตรนท์(Constraint)ออก
             112. อธิบายการลบคอนสเตรนท์(Constraint)ออกจาก                           จาก สเกทช์
                  สเกทช์                                                       121. ฝึกการบังคับจุดบนเส้นให้ตรงกัน
             113. อธิบายการบังคับจุดบนเส้นให้ตรงกัน(Coincident                     (Coincident Constraint)
                  Constraint)                                                  122. ฝึกการบังคับเส้นให้อยู่ในแนวเดียวกัน
             114. อธิบายการบังคับเส้นให้อยู่ในแนวเดียวกัน                           (Collinear Constraint)
                  (Collinear Constraint)                                       123. ฝึกการบังคับเส้นโค้งหรือวงกลมให้มีจุด
             115. อธิบายการบังคับเส้นโค้งหรือวงกลมให้มีจุด                          ศูนย์กลางเดียวกัน(Concentric Constraint)
                  ศูนย์กลางเดียวกัน(Concentric Constraint)                     124. ฝึกการบังคับวัตถุในโหมดจุดยึดอยู่กับที่
             116. อธิบายการบังคับวัตถุในโหมดจุดยึดอยู่กับที(่ Fix)                 (Fix)
             117. อธิบายการบังคับเส้นให้ขนาน(Parallel Constraint)              125. ฝึกอธิบายการบังคับเส้นให้ขนาน(Parallel
                                                                                    Constraint)
   65        126. อธิบายการบังคับเส้นให้ตงฉาก(Perpendicular
                                         ั้                                    134. ฝึกการบังคับเส้นให้ตั้งฉาก(Perpendicular
                  Constraint)                                                       Constraint)
             127. อธิบายการบังคับเส้นในแนวนอน(Horizontal                       135. ฝึกการบังคับเส้นในแนวนอน(Horizontal
                  Constraint)                                                       Constraint)
             128. อธิบายการบังคับเส้นในแนวตั้ง(Vertical Constraint)            136. ฝึกการบังคับเส้นในแนวตั้ง(Vertical
             129. อธิบายการบังคับเส้นให้สัมผัส(Tangent)                             Constraint)
             130. อธิบายการบังคับเส้นให้ราบเรียบต่อเนื่อง(Smooth               137. ฝึกการบังคับเส้นให้สัมผัส(Tangent)
                  G2)                                                          138. ฝึกการบังคับเส้นให้ราบเรียบต่อเนื่อง
             131. อธิบายการบังคับเส้นให้ได้สมมาตรกันในลักษณะ                        (Smooth G2)
                  กระจกเงา(Symmetric)                                          139. ฝึกการบังคับเส้นให้ได้สมมาตรกันใน
             132. อธิบายการบังคับเส้นให้มีความยาวหรือรัศมี                         ลักษณะกระจกเงา(Symmetric)
                                                                              12
เท่ากัน(Equal)                                140. ฝึกการบังคับเส้นให้มีความยาวหรือรัศมี
     133. อธิบายการปิด/เปิดโหมดการสร้าง Constraints โดย      เท่ากัน(Equal)
          อัตโนมัติ ด้วย Constraint Inference           141. ฝึกการปิด/เปิดโหมดการสร้าง Constraints
                                                             โดยอัตโนมัติ ด้วย Constraint Inference
66   142. อธิบายการบังคับสเกทช์ด้วยขนาด(Dimension       148. ฝึกการบังคับสเกทช์ด้วยขนาด(Dimension          -
         Constraints)                                         Constraints)
     143. อธิบายการบังคับสเกทช์ด้วยคาสั่ง Dimension       149. ฝึกการบังคับสเกทช์ด้วยคาสั่ง Dimension
     144. อธิบายการแก้ไขตัวเลขบอกขนาด                     150. ฝึกการแก้ไขตัวเลขบอกขนาด
     145. อธิบายการเปลี่ยนรูปแบบการปรากฏของตัวเลข         151. ฝึกการเปลี่ยนรูปแบบการปรากฏของ
          บอกขนาด                                          ตัวเลขบอกขนาด
     146. อธิบายการควบคุมการปรากฏหรือซ่อนเส้นบอก      152. ฝึกการควบคุมการปรากฏหรือซ่อนเส้น
          ขนาดในโหมดพาร์ท                                  บอกขนาดในโหมดพาร์ท
     147. อธิบายการแปลงเส้นบังคับขนาดให้กลายเป็นเส้น  153. ฝึกการแปลงเส้นบังคับขนาดให้กลายเป็น
          บอกขนาดด้วย Driven Dimension                     เส้นบอกขนาดด้วย Driven Dimension
67   154. อธิบายการกาหนดจุดกาเนิด ทิศทางแกน X และ     158. ฝึกการกาหนดจุดกาเนิด ทิศทางแกน X                -
          แกน Y ด้วย Edit Coordinate System                และแกน Y ด้วย Edit Coordinate System
     155. อธิบายการแสดงระดับความเป็นอิสระของสเกทช์    159. ฝึกการแสดงระดับความเป็นอิสระของ
          (Degree of Freedom)                              สเกทช์(Degree of Freedom)
     156. อธิบายการฉายเส้นลงบนระนาบสเกทช์ด้วย Project 160. ฝึกการฉายเส้นลงบนระนาบสเกทช์ด้วย
         Geometry                                             Project Geometry
     157. อธิบายการฉายเส้นลงบนระนาบสเกทช์ด้วย Project 161. ฝึกการฉายเส้นลงบนระนาบสเกทช์ด้วย
          Cut Edges                                        Project Cut Edges
68   162. อธิบายการเคลื่อนย้ายสเกทช์ไปยังระนาบใหม่ด้วย    165. ฝึกการเคลื่อนย้ายสเกทช์ไปยังระนาบใหม่       -
          Redefine Sketch                                      ด้วย Redefine Sketch
     163. อธิบายการแชร์สเกทช์ไปใช้งานด้วย Share Sketch    166. ฝึกการแชร์สเกทช์ไปใช้งานด้วย        Share
     164. อธิบายการคัดลอกสเกทช์ไปใช้งานบนระนาบใหม่            Sketch
         ด้วย Copy                                        167. ฝึกการคัดลอกสเกทช์ไปใช้งานบนระนาบ
                                                               ใหม่ด้วย Copy
69   168. อธิบายการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร         169. ฝึกการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร        -
         (Parameters)ของเส้นบังคับขนาด                         (Parameters)ของเส้นบังคับขนาด
70   170. อธิบายการสร้างฟีเจอร์แบบเพิ่มความหนาด้วย        175. ฝึกการสร้างฟีเจอร์แบบเพิ่มความหนาด้วย       -
          Extrude                                             Extrude
     171. อธิบายการสร้างฟีเจอร์แบบหมุนรอบแกนด้วย          176. ฝึกการสร้างฟีเจอร์แบบหมุนรอบแกนด้วย
          Revolve                                              Revolve
     172. อธิบายการสร้างฟีเจอร์แบบเชื่อมต่อหน้า           177. ฝึกการสร้างฟีเจอร์แบบเชื่อมต่อหน้า
          ตัดสเกทช์ด้วย Loft                                   ตัดสเกทช์ด้วย Loft
     173. อธิบายการสร้างฟีเจอร์แบบกวาดไปตามทางเดิน        178. ฝึกการสร้างฟีเจอร์แบบกวาดไปตาม
          ด้วย Sweep                                           ทางเดินด้วย Sweep
     174. อธิบายการสร้างฟีเจอร์แบบครีบด้วย Rib            179. ฝึกการสร้างฟีเจอร์แบบครีบด้วย Rib



                                                         13
Book1-1
Book1-1
Book1-1
Book1-1
Book1-1
Book1-1

More Related Content

What's hot

1แบบฟอร์มใบสมัครงานสคล.ภาคเหนือตอนบน
1แบบฟอร์มใบสมัครงานสคล.ภาคเหนือตอนบน1แบบฟอร์มใบสมัครงานสคล.ภาคเหนือตอนบน
1แบบฟอร์มใบสมัครงานสคล.ภาคเหนือตอนบนnoomyai Mashin
 
ใบงานที่ 2 ประเภทขององค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบงานที่ 2 ประเภทขององค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdfใบงานที่ 2 ประเภทขององค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบงานที่ 2 ประเภทขององค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdfNattapon
 
บันทึกข้อความ ขอเปลี่ยนหัวข้อโครงงาน กลุ่ม-อาจารย์ที่ปรึกษา
บันทึกข้อความ ขอเปลี่ยนหัวข้อโครงงาน กลุ่ม-อาจารย์ที่ปรึกษาบันทึกข้อความ ขอเปลี่ยนหัวข้อโครงงาน กลุ่ม-อาจารย์ที่ปรึกษา
บันทึกข้อความ ขอเปลี่ยนหัวข้อโครงงาน กลุ่ม-อาจารย์ที่ปรึกษาthanapat yeekhaday
 
ใบสมัคร "๑ อำเภอ ๑ ทุน รุ่น ๓"
ใบสมัคร "๑ อำเภอ ๑ ทุน รุ่น ๓"ใบสมัคร "๑ อำเภอ ๑ ทุน รุ่น ๓"
ใบสมัคร "๑ อำเภอ ๑ ทุน รุ่น ๓"Surathampitak School
 
ตัวอย่าง Workshop โปรแกรม Photoshop
ตัวอย่าง Workshop โปรแกรม Photoshopตัวอย่าง Workshop โปรแกรม Photoshop
ตัวอย่าง Workshop โปรแกรม PhotoshopWhitehack Nutee
 
ใบสมัคร
ใบสมัครใบสมัคร
ใบสมัครKaratz Mee
 
Sar ครู..
Sar ครู..Sar ครู..
Sar ครู..krunoony
 
ตย.รายงาน ฯ วท.กห.2
ตย.รายงาน ฯ วท.กห.2ตย.รายงาน ฯ วท.กห.2
ตย.รายงาน ฯ วท.กห.2i_cavalry
 
บันทึกข้อความเวียนข้อสอบ Pre o net ปี2555
บันทึกข้อความเวียนข้อสอบ Pre o net ปี2555บันทึกข้อความเวียนข้อสอบ Pre o net ปี2555
บันทึกข้อความเวียนข้อสอบ Pre o net ปี2555ทับทิม เจริญตา
 
ใบงานส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
ใบงานส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ใบงานส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
ใบงานส่วนประกอบคอมพิวเตอร์bimteach
 
ใบงานส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
ใบงานส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ใบงานส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
ใบงานส่วนประกอบคอมพิวเตอร์bimteach
 
แบบฟอร์มใบสมัครงาน แบบที่ 1
แบบฟอร์มใบสมัครงาน แบบที่ 1แบบฟอร์มใบสมัครงาน แบบที่ 1
แบบฟอร์มใบสมัครงาน แบบที่ 1Know Mastikate
 
แบบฟอร์ม ใบนำส่งเงิน(กง.4)
แบบฟอร์ม   ใบนำส่งเงิน(กง.4)แบบฟอร์ม   ใบนำส่งเงิน(กง.4)
แบบฟอร์ม ใบนำส่งเงิน(กง.4)i_cavalry
 
ความเรียงขั้นสูง
ความเรียงขั้นสูงความเรียงขั้นสูง
ความเรียงขั้นสูงAttaporn Saranoppakun
 
เอกสารออกนอกบริเวณโรงเรียน 1 2554
เอกสารออกนอกบริเวณโรงเรียน 1 2554เอกสารออกนอกบริเวณโรงเรียน 1 2554
เอกสารออกนอกบริเวณโรงเรียน 1 2554Narudol Pechsook
 

What's hot (20)

1แบบฟอร์มใบสมัครงานสคล.ภาคเหนือตอนบน
1แบบฟอร์มใบสมัครงานสคล.ภาคเหนือตอนบน1แบบฟอร์มใบสมัครงานสคล.ภาคเหนือตอนบน
1แบบฟอร์มใบสมัครงานสคล.ภาคเหนือตอนบน
 
ใบงานที่ 2 ประเภทขององค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบงานที่ 2 ประเภทขององค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdfใบงานที่ 2 ประเภทขององค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบงานที่ 2 ประเภทขององค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
 
บันทึกข้อความ ขอเปลี่ยนหัวข้อโครงงาน กลุ่ม-อาจารย์ที่ปรึกษา
บันทึกข้อความ ขอเปลี่ยนหัวข้อโครงงาน กลุ่ม-อาจารย์ที่ปรึกษาบันทึกข้อความ ขอเปลี่ยนหัวข้อโครงงาน กลุ่ม-อาจารย์ที่ปรึกษา
บันทึกข้อความ ขอเปลี่ยนหัวข้อโครงงาน กลุ่ม-อาจารย์ที่ปรึกษา
 
ใบสมัคร "๑ อำเภอ ๑ ทุน รุ่น ๓"
ใบสมัคร "๑ อำเภอ ๑ ทุน รุ่น ๓"ใบสมัคร "๑ อำเภอ ๑ ทุน รุ่น ๓"
ใบสมัคร "๑ อำเภอ ๑ ทุน รุ่น ๓"
 
ตัวอย่าง Workshop โปรแกรม Photoshop
ตัวอย่าง Workshop โปรแกรม Photoshopตัวอย่าง Workshop โปรแกรม Photoshop
ตัวอย่าง Workshop โปรแกรม Photoshop
 
ใบสมัคร
ใบสมัครใบสมัคร
ใบสมัคร
 
Sar ครู..
Sar ครู..Sar ครู..
Sar ครู..
 
ตย.รายงาน ฯ วท.กห.2
ตย.รายงาน ฯ วท.กห.2ตย.รายงาน ฯ วท.กห.2
ตย.รายงาน ฯ วท.กห.2
 
Portfolio
PortfolioPortfolio
Portfolio
 
Sar and portfolio
Sar and portfolioSar and portfolio
Sar and portfolio
 
บันทึกข้อความเวียนข้อสอบ Pre o net ปี2555
บันทึกข้อความเวียนข้อสอบ Pre o net ปี2555บันทึกข้อความเวียนข้อสอบ Pre o net ปี2555
บันทึกข้อความเวียนข้อสอบ Pre o net ปี2555
 
11
1111
11
 
ใบงานส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
ใบงานส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ใบงานส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
ใบงานส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
 
ใบงานส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
ใบงานส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ใบงานส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
ใบงานส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
 
ใบสมัคร 1
ใบสมัคร 1ใบสมัคร 1
ใบสมัคร 1
 
แบบฟอร์มใบสมัครงาน แบบที่ 1
แบบฟอร์มใบสมัครงาน แบบที่ 1แบบฟอร์มใบสมัครงาน แบบที่ 1
แบบฟอร์มใบสมัครงาน แบบที่ 1
 
แบบฟอร์ม ใบนำส่งเงิน(กง.4)
แบบฟอร์ม   ใบนำส่งเงิน(กง.4)แบบฟอร์ม   ใบนำส่งเงิน(กง.4)
แบบฟอร์ม ใบนำส่งเงิน(กง.4)
 
ความเรียงขั้นสูง
ความเรียงขั้นสูงความเรียงขั้นสูง
ความเรียงขั้นสูง
 
เอกสารออกนอกบริเวณโรงเรียน 1 2554
เอกสารออกนอกบริเวณโรงเรียน 1 2554เอกสารออกนอกบริเวณโรงเรียน 1 2554
เอกสารออกนอกบริเวณโรงเรียน 1 2554
 
บันทึกทัศนะศึกษา
บันทึกทัศนะศึกษาบันทึกทัศนะศึกษา
บันทึกทัศนะศึกษา
 

Viewers also liked

Estadística cáncer de mama en Chile
Estadística cáncer de mama en ChileEstadística cáncer de mama en Chile
Estadística cáncer de mama en ChileNico Sitja
 
Cancer de mama
Cancer de mamaCancer de mama
Cancer de mamaOmar Zàm
 
Epidemiología del Cáncer Dra. Ana Benavente
Epidemiología del Cáncer Dra. Ana BenaventeEpidemiología del Cáncer Dra. Ana Benavente
Epidemiología del Cáncer Dra. Ana Benaventeguested4b08
 
Cancer de mama completo
Cancer de mama completoCancer de mama completo
Cancer de mama completoHugo Pinto
 
Programa de prevención del cáncer de mama (Chile)
Programa de prevención del cáncer de mama (Chile)Programa de prevención del cáncer de mama (Chile)
Programa de prevención del cáncer de mama (Chile)Marcel Lorca
 

Viewers also liked (8)

Estadística cáncer de mama en Chile
Estadística cáncer de mama en ChileEstadística cáncer de mama en Chile
Estadística cáncer de mama en Chile
 
Cáncer mama
Cáncer mamaCáncer mama
Cáncer mama
 
Modificaciones locales
Modificaciones localesModificaciones locales
Modificaciones locales
 
Cancer de mama
Cancer de mamaCancer de mama
Cancer de mama
 
Epidemiología del Cáncer Dra. Ana Benavente
Epidemiología del Cáncer Dra. Ana BenaventeEpidemiología del Cáncer Dra. Ana Benavente
Epidemiología del Cáncer Dra. Ana Benavente
 
Cáncer de mama
Cáncer de mamaCáncer de mama
Cáncer de mama
 
Cancer de mama completo
Cancer de mama completoCancer de mama completo
Cancer de mama completo
 
Programa de prevención del cáncer de mama (Chile)
Programa de prevención del cáncer de mama (Chile)Programa de prevención del cáncer de mama (Chile)
Programa de prevención del cáncer de mama (Chile)
 

Similar to Book1-1

รายงานการฝึกอบรม
รายงานการฝึกอบรมรายงานการฝึกอบรม
รายงานการฝึกอบรมPaponpat Pimkot
 
แบบฟอร์มรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบฟอร์มรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์แบบฟอร์มรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบฟอร์มรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ณัฐพล บัวพันธ์
 
ใบขออนุญาตนักเรียนมาสาย 1 2554
ใบขออนุญาตนักเรียนมาสาย 1 2554ใบขออนุญาตนักเรียนมาสาย 1 2554
ใบขออนุญาตนักเรียนมาสาย 1 2554Narudol Pechsook
 
ใบสมัครโครงการอีนซีนอันดามันแฟมิลี่แรลลี่
ใบสมัครโครงการอีนซีนอันดามันแฟมิลี่แรลลี่ใบสมัครโครงการอีนซีนอันดามันแฟมิลี่แรลลี่
ใบสมัครโครงการอีนซีนอันดามันแฟมิลี่แรลลี่thelolitaworld
 
แบบทดสอบบทที่1สมบัติของเลขยกกำลัง
แบบทดสอบบทที่1สมบัติของเลขยกกำลังแบบทดสอบบทที่1สมบัติของเลขยกกำลัง
แบบทดสอบบทที่1สมบัติของเลขยกกำลังKru Wan Mirantee
 
แบบทดสอบบทที่1สมบัติของเลขยกกำลัง
แบบทดสอบบทที่1สมบัติของเลขยกกำลังแบบทดสอบบทที่1สมบัติของเลขยกกำลัง
แบบทดสอบบทที่1สมบัติของเลขยกกำลังKru Wan Mirantee
 
ใบความรู้ เค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ โดยครูละออง
ใบความรู้ เค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ โดยครูละอองใบความรู้ เค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ โดยครูละออง
ใบความรู้ เค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ โดยครูละอองอองเอง จ้า
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์usaneepor
 
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์weerapon0955652023
 
แบบฟอร์ม จ้างทำงานวิจัย (ร่าง Tor)
แบบฟอร์ม   จ้างทำงานวิจัย (ร่าง Tor) แบบฟอร์ม   จ้างทำงานวิจัย (ร่าง Tor)
แบบฟอร์ม จ้างทำงานวิจัย (ร่าง Tor) i_cavalry
 
หนังสือรับรอง บศ.2-2555
หนังสือรับรอง บศ.2-2555หนังสือรับรอง บศ.2-2555
หนังสือรับรอง บศ.2-2555Pichsukan Teawrat
 
แผนคอมฯ ม.2 4
แผนคอมฯ ม.2 4แผนคอมฯ ม.2 4
แผนคอมฯ ม.2 4Surapong Jakang
 
แผนคอมฯ ม.2 2
แผนคอมฯ ม.2 2แผนคอมฯ ม.2 2
แผนคอมฯ ม.2 2Surapong Jakang
 
ระเบียบวาระ 23 มค 56
ระเบียบวาระ 23 มค 56ระเบียบวาระ 23 มค 56
ระเบียบวาระ 23 มค 56Dhanee Chant
 
Siam it ใบสมัครแฟรนไชส์
Siam it ใบสมัครแฟรนไชส์Siam it ใบสมัครแฟรนไชส์
Siam it ใบสมัครแฟรนไชส์songwut petcharat
 

Similar to Book1-1 (20)

รายงานการฝึกอบรม
รายงานการฝึกอบรมรายงานการฝึกอบรม
รายงานการฝึกอบรม
 
แบบฟอร์มรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบฟอร์มรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์แบบฟอร์มรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบฟอร์มรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบขออนุญาตนักเรียนมาสาย 1 2554
ใบขออนุญาตนักเรียนมาสาย 1 2554ใบขออนุญาตนักเรียนมาสาย 1 2554
ใบขออนุญาตนักเรียนมาสาย 1 2554
 
ใบสมัครโครงการอีนซีนอันดามันแฟมิลี่แรลลี่
ใบสมัครโครงการอีนซีนอันดามันแฟมิลี่แรลลี่ใบสมัครโครงการอีนซีนอันดามันแฟมิลี่แรลลี่
ใบสมัครโครงการอีนซีนอันดามันแฟมิลี่แรลลี่
 
บันทึกส่ง
บันทึกส่งบันทึกส่ง
บันทึกส่ง
 
แบบทดสอบบทที่1สมบัติของเลขยกกำลัง
แบบทดสอบบทที่1สมบัติของเลขยกกำลังแบบทดสอบบทที่1สมบัติของเลขยกกำลัง
แบบทดสอบบทที่1สมบัติของเลขยกกำลัง
 
แบบทดสอบบทที่1สมบัติของเลขยกกำลัง
แบบทดสอบบทที่1สมบัติของเลขยกกำลังแบบทดสอบบทที่1สมบัติของเลขยกกำลัง
แบบทดสอบบทที่1สมบัติของเลขยกกำลัง
 
ใบความรู้ เค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ โดยครูละออง
ใบความรู้ เค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ โดยครูละอองใบความรู้ เค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ โดยครูละออง
ใบความรู้ เค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ โดยครูละออง
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่1แผนการจัดการเรียนรู้ที่1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่8
แผนการจัดการเรียนรู้ที่8แผนการจัดการเรียนรู้ที่8
แผนการจัดการเรียนรู้ที่8
 
ใบแจ้งซ่อม
ใบแจ้งซ่อมใบแจ้งซ่อม
ใบแจ้งซ่อม
 
แบบฟอร์ม จ้างทำงานวิจัย (ร่าง Tor)
แบบฟอร์ม   จ้างทำงานวิจัย (ร่าง Tor) แบบฟอร์ม   จ้างทำงานวิจัย (ร่าง Tor)
แบบฟอร์ม จ้างทำงานวิจัย (ร่าง Tor)
 
หนังสือรับรอง บศ.2-2555
หนังสือรับรอง บศ.2-2555หนังสือรับรอง บศ.2-2555
หนังสือรับรอง บศ.2-2555
 
แผนคอมฯ ม.2 4
แผนคอมฯ ม.2 4แผนคอมฯ ม.2 4
แผนคอมฯ ม.2 4
 
Typecom
TypecomTypecom
Typecom
 
แผนคอมฯ ม.2 2
แผนคอมฯ ม.2 2แผนคอมฯ ม.2 2
แผนคอมฯ ม.2 2
 
ระเบียบวาระ 23 มค 56
ระเบียบวาระ 23 มค 56ระเบียบวาระ 23 มค 56
ระเบียบวาระ 23 มค 56
 
Siam it ใบสมัครแฟรนไชส์
Siam it ใบสมัครแฟรนไชส์Siam it ใบสมัครแฟรนไชส์
Siam it ใบสมัครแฟรนไชส์
 

Book1-1

  • 1.
  • 2. ใบสมัครเข้ าอบรม(ฟรี) หลักสู ตรการใช้ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เพือการออกแบบ 2554 ่ รหัสผูสมัคร/อบรม ้ ของสานักพัฒนาอุตสาหกรรมสนับสนุน กรมส่ งเสริมอุตสาหกรรม .............................. วันที่........................ โดยวิทยากรทีมีชื่อเสียง อ.ภาณุพงษ์ ปัตติสิงห์ (ผู้เขียนตาราการใช้ งาน AutoCAD ทีใช้ อย่ างกว้ างขวางในปัจจุบัน) ่ ่ คาแนะนาในการกรอกรายละเอียด 1. กรุ ณากรอกรายละเอียดด้วย ตัวบรรจงเป็ นภาษาไทย เพื่อประโยชน์ของท่านในการจัดส่ งเอกสาร หรื อส่งข่าวเรื่ องการอบรมให้กบท่านในภายหลัง ั 2. กรุ ณานาส่ งเจ้าหน้าที่รับลงทะเบียนภายในวันที่กาหนด (เพื่อป้ องกันเอกสารสู ญหายโปรดโทรสอบถามการรับเอกสารของท่านอีกครั้งกับเจ้าหน้าที่) 3. โปรดระบุรายละเอียดให้มากที่สุดเพื่อประโยชน์ของท่าน ผู้สมัครมีความประสงค์ ทจะเข้ าอบรมใน ี่ รุ่นที.่ .............................(เป็ นหลัก) ว/ด/ป.............................................................. (ผู้สมัครโปรดระบุทั้งสองรุ่นให้ ครบ) รุ่นที.่ .............................(สารอง) ว/ด/ป.............................................................. ชื่อ-นามสกุล (นาย/นาง/นางสาว)………………………………………………………….………………...………… อายุ ………… ปี ชื่อ-นามสกุล (ภาษาอังกฤษ) ……………………………………………………………………………………………………………….. กรุ ณาเขียน หรื อพิมพ์ เป็ นอักษรตัวพิมพ์ใหญ่ สถานะปัจจุบัน  นักศึกษาใกล้จบ  นักศึกษาจบใหม่ ไม่เกิน 1 ปี  ทางาน ไม่เกิน 1 ปี  ว่างงาน  อื่นๆ (โปรดระบุ)............................................................ ทีอยู่ปัจจุบัน (ทีตดต่ อได้ สะดวก) ่ ่ ิ ชื่อสถานที่ติดต่อ......................................................เลขที่ …………. อาคาร………………………ชั้น ………….ซอย ………………………… ถนน.…………………………….…………ตาบล/แขวง ……………..……………….…… อาเภอ/เขต ………………...…………………………..… จังหวัด ………………………………………รหัสไปรษณี ย ์ …………...Tel: ……………………………..……Mobile………………………………… Fax: …………………..………….………..Email: ………………………………………………………..……………………….………………………… ทีอยู่ของสถาบันการศึกษา / ทีทางาน (ล่ าสุ ด) ่ ่ บริ ษท/สถาบันการศึกษา ……………………………………………………………...………….. ตาแหน่ง/ระดับชั้น………………..………..………... ั แผนก/คณะ/สายวิชา..................... …………………………..………..………... อายุงาน(โดยประมาณ)/ประสบการณ์ทางาน..………..………... เลขที่ ……….……. อาคาร..........………………………ชั้น ………….ซอย ………………………………ถนน.……...……………………….………… ตาบล/แขวง ……………..……………..…… อาเภอ/เขต ….………………………………..…จังหวัด ……….………………รหัสไปรษณี ย ์ ………... Tel: …………………………………………………Fax: ………………..………..Email: ………………………………… Website ……………………...… บุลคลทีอ้างอิงได้ ่ ชื่อ-นามสกุล……………………………………………………….……ความเกี่ยวข้อง………………………………………………………………..…… สถานที่ติดต่อของบุคคลที่อางอิงได้  ที่พกอาศัย  ที่ทางาน  สถานศึกษา  อื่นๆ (โปรดระบุ)................................................. ้ ั เลขที่ …………. อาคาร………………………ชั้น ………….ซอย …………………………ถนน.………………………..…………………….………… ตาบล/แขวง ……………..…………… อาเภอ/เขต ….…………………………..…จังหวัด ……………………….…………รหัสไปรษณี ย ์ ………... Tel: ………………………………Fax: ……………………..Email: ……………………………………………….……… Website ……………………...…
  • 3. ท่ านทราบข่ าวการอบรมหลักสู ตรนีจาก ้  Website (www.arit.co.th)  E-Mail  Fax. อื่นๆ(โปรดระบุ)................................................. โปรดระบุประสบการณ์ ด้านการใช้ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เพือการออกแบบของท่ าน ่ ...................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................... ภายหลังจากทีท่านอบรมหลักสู ตรนีจบแล้ ว ท่ านคิดว่ าจะนาเอาประโยชน์ ของโปรแกรมนีไปใช้ ต่อได้ อย่ างไร ่ ้ ้ ...................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................... ท่ านเคยผ่านการอบรมหลักสู ตรคอมพิวเตอร์ มาบ้ างหรือไม่ ถ้ ามีโปรดระบุชื่อหลักสู ตร ปี ทีอบรม ชื่อสถาบันทีเ่ ข้ าอบรม ่ 1. หลักสูตร ……………………………………………..……ปี ที่อบรม ……………………สถาบัน……………………….. 2. หลักสูตร ……………………………………………..……ปี ที่อบรม ……………………สถาบัน……………………….. 3. หลักสูตร ……………………………………………..……ปี ที่อบรม ……………………สถาบัน……………………….. หลักสู ตรคอมพิวเตอร์ อนๆทีท่านสนใจ ื่ ่ 1. หลักสูตร ………………………………………………………………………………………… 2. หลักสูตร ………………………………………………………………………………………... ประเภทของเครื่องดืม / อาหาร ทีท่านไม่ สามารถรับประทานได้ ่ ่ ……………………………………………………………………………………………….…………………………………………… หลักฐานในการสมัครทีส่งมอบให้ กบเจ้ าหน้ าทีลงทะเบียนของ ARG เรียบร้ อยแล้ วคือ ่ ั ่  รู ปถ่ายจานวน 2 รู ป (ลายเซ็นต์รับของเจ้าหน้าที่……………………....... วันที่……………………หมายเหตุ……….…………………)  สาเนาบัตรประชาชน (ลายเซ็นต์รับของเจ้าหน้าที่………………………… วันที่……………………หมายเหตุ……….…………………)  สาเนาทะเบียนบ้าน (ลายเซ็นต์รับของเจ้าหน้าที่………………………….. วันที่……………………หมายเหตุ……….…………………)  ประวัติส่วนตัว (ลายเซ็นต์รับของเจ้าหน้าที่………………………………… วันที่……………………หมายเหตุ……….…………………)  ใบสมัคร (ลายเซ็นต์รับของเจ้าหน้าที่………………………………………… วันที่……………………หมายเหตุ……….…………………)  เงินค้ าประกันสัญญา 3,000.- (ลายเซ็นต์รับของเจ้าหน้าที่……………..… วันที่……………………หมายเหตุ……….…………………) สาหรับเงินค้ าประกันจะเก็บต่อเมื่อได้รับการคัดเลือกให้เข้าอบรมได้ และจะคืนในเดือนที่ 3 หลังจากวันรับประกาศนียบัตรเท่านั้น ลงชื่อผู้สมัคร ลงชื่อเจ้ าหน้ าที่ กสอ. ลงชื่อเจ้ าหน้ าทีของ ARG ่ …………………………………………… …………………………………………… …………………………………………… (…………………………………………) (…………………………………………) (……………………………………………) วันที่............................................. วันที่............................................. วันที่............................................. ติดต่ อประสานงาน .... คุณสุ วรรณา แช่ มวงษ์ บริษัท กลุ่มแอดวานซ์ รีเสิ ร์ช จากัด ณ อาคาร เอสวีโอเอ ถ.พระราม 3 กทม. โทร.02-682-6350 ต่ อ 513 แฟกซ์ 02-682-6355, 02-294-8804 อีเมล์ suwannac@ar.co.th
  • 4.
  • 5.
  • 6. เรียนเชิญเข้าร่วมโครงการจัดฝึกอบรม หลักสูตรการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อการออกแบบ (ฟรี) เจ้าของโครงการ = สานักพัฒนาอุตสาหกรรมสนับสนุน กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม (กสอ.) ผู้ดาเนินงาน = กลุ่มบริษัท แอดวานซ์ รีเสิร์ช จากัด (ARG) รายละเอียดภายใน = 1. ข้อกาหนดของโครงการ 2. ข้อกาหนดของหลักสูตร ข้อกาหนดของโครงการ หลักการและเหตุผลในการดาเนินโครงการของ กสอ. จากปัญหาวิกฤตเศรษฐกิจโลกในปัจจุบัน ทาให้มูลค่าการส่งออกของประเทศไทยในไตรมาสที่ 2 ของปี 2552 มีมูลค่าการ ส่งออกเพียง 11,656.5 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ลดลงร้อยละ 26.6 ในขณะเดียวกันการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศก็มีมูลค่าการลงทุนเพียง 44,425.74 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 10.32 เมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปีก่อน ปัญหาวิกฤตเศรษฐกิจเหล่านี้ส่งผลโดยตรงกับ เศรษฐกิจไทยเนื่องจากโครงสร้างเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจที่ต้องพึ่งการค้าและการลงทุนจากต่างประเทศ ทางออกของประเทศไทยที่ จะผ่านพ้นวิกฤตินี้ไปได้ คือ การเปลี่ยนโยบายทางเศรษฐกิจให้ลดการพึ่งพาด้านการลงทุนและการค้าจากต่างประเทศลง หันมาพัฒนา โครงสร้างเศรษฐกิจของประเทศให้มีการพึ่งพาตนเองมากขึ้น เช่น การพัฒนาบุคลากรในภาคอุตสาหกรรม การพัฒนาทรัพยากรใน การ ผลิต การพัฒนากระบวนการผลิตและผลิตภัณฑ์ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น เป็นต้น บุคลากรภาคอุตสาหกรรม จึงเป็นปัจจัยที่สาคัญต่อการประกอบธุรกิจอุตสาหกรรมที่ช่วยผลักดันให้การประกอบธุรกิจดาเนิน ต่อไปได้ในทุกสภาวการณ์ โดยเฉพาะบุคลากรในสาขา การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อการออกแบบ ซึ่งจะต้องมีบุคลากรที่มีความรู้ ความเชี่ยวชาญในระดับวิศวกร ช่างเทคนิคชั้นสูง แรงงานมีฝีมือและบุคลากรสนับสนุนในด้านการบริหารจัดการองค์กร ซึ่งหากโรงงาน หรือธุรกิจใดมีบุคคลากรที่มีความรู้เป็นเลิศ และสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ได้ดี จะส่งผลให้การประกอบธุรกิจมีความเจริญก้าวหน้า อย่างต่อเนื่อง สามารถปรับตัวรับกับปัญหาอุปสรรคและสภาวการณ์โลกที่เปลี่ยนแปลงได้อย่างรวดเร็วได้ โดยที่ผ่านมา การพัฒนากาลังคนทางเทคโนโลยีเพื่อการพัฒนาอุตสาหกรรมการผลิตของไทยเป็นหน้าที่หลักของระบบการศึกษา โดยภาค การผลิตไม่ได้มีส่วนร่วมโดยตรงในกระบวนการพัฒนากาลังคน แนวโน้มการพัฒนากาลังคนของไทยจึงเป็นไปในรูปแบบกว้างๆ และ มุ่งผลิตกาลังคนออกมาจานวนมากๆ เพื่อสนองความต้องการของตลาดแรงงาน ตามแนวคิดการพัฒนาความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ และการสร้างงาน การเร่งกระจายความเจริญไปสู่ภาค ชนบทเพื่อลดความเหลื่อมล้าทางเศรษฐกิจและสังคมระหว่างชุมชนเมืองกับ ชนบท การพัฒนากาลังคนทางด้านการศึกษาดังกล่าวจึงมีนัยของการสร้างความเสมอภาคในการจัดการศึกษาให้แก่ผู้ด้อยโอกาส มากกว่าการมุ่งพัฒนากาลังคน เพื่อเสริมสร้างศักยภาพและขีดความสามารถทางเทคโนโลยีตามแผนก ารพัฒนาอุตสาหกรรมของ ประเทศ ส่งผลให้คุณภาพของผู้ที่จบการศึกษาอยู่ในระดับที่มีความสามารถเพียงพอต่อการรับรู้และสามารถปรับตัวเข้ากับเทคโนโลยี การผลิตหลากหลายได้ระดับหนึ่ง แต่ไม่มีขีดความสามารถในการพัฒนาทางเทคโนโลยีการผลิตของประเทศแต่อย่างใด ซึ่งบุคลากรที่ ยังขาดจะเป็นด้านวิจัยและพัฒนา ด้านการออกแบบ ด้านการควบคุมคุณภาพและการตลาด ดังนั้น เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมของบุคลากรที่จะเข้าสู่ภาคอุตสาหกรรมสาขา การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อการ ออกแบบ ให้มีศักยภาพเพียงพอที่จะปฏิบัติงานในอุตสาหกรรมเป้าหมายได้ เพื่อผลักดันให้การพัฒนาอุตสาหกรรมเป้าหมายดังกล่าว บรรลุผล กรมส่งเสริมอุตสาหกรรมจึงจะร่วมกับสถาบันการศึกษาและโรงงานธุรกิจอุตสาหกรรม พัฒนา หลักสูตรที่จะพัฒนาบุคลากร ก่อนเข้าสู่ภาคอุตสาหกรรม โดยจัดให้มีการพัฒนาทั้งภาคทฤษฎีในเชิงวิชาการ และการฝึกปฏิบัติจริงในโรงงานอุตสาหกรรม เพื่อเป็น การเรียนรู้และป้อนให้กับอุตสาหกรรมเป้าหมายได้อย่างเพียงพอ 1
  • 7. วัตถุประสงค์ของโครงการ กสอ. 1 เพื่อพัฒนาศักยภาพโดยการฝึกอบรม ให้กับนิสิต /นักศึกษาที่กาลังจะจบการศึกษา บัณฑิตจบใหม่ และบุคลากรจาก ภาคอุตสาหกรรมที่เพิ่งเข้าทางาน ตลอดจนบุคลากรจากภาคอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้อง ให้มีความรู้เรื่อง การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อ การออกแบบ 2. เพื่อ เป็นการ เตรียมความพร้อม ให้กับนิสิต /นักศึกษาที่กาลังจะจบการศึกษา บัณฑิตจบใหม่ และบุคลากรจาก ภาคอุตสาหกรรมที่เพิ่งเข้าทางาน ตลอดจนบุคลากรจากภาคอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้อง ให้มีความรู้และความเข้าใจในการดาเนินงานใน ภาคอุตสาหกรรมในอนาคต สามารถรองรับการขยายตัว และการเจริญเติบโตในการผลิต ให้มีความพร้อมในการปฏิบัติงาน โดยมี ความรู้ความเข้าใจ และมีทักษะเพื่อปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. เพื่อสร้างความต่อเนื่องและความเชื่อมโยงระหว่างผู้เชี่ ยวชาญ บุคลากรภาคการผลิต และผู้ประกอบการ ผ่าน เครือข่ายที่เป็นระบบให้เกิดเป็นฐานรากที่มั่นคงในด้านการผลิตที่เอื้อต่อสิ่งแวดล้อม สาหรับตลาดในอนาคตต่อไป คุณสมบัติของผู้เข้ารับการอบรมตามโครงการ กสอ. การฝึกอบรมหลักสูตร การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อการออกแบบ ให้แก่บุคลากรจานวน 70 ราย แบ่งเป็น 2 รุ่นๆละ 35 ราย โดยมีคุณสมบัติดังนี้ 1 นิสิตนักศึกษาที่ใกล้จะจบการศึกษาในระดับไม่ต่ากว่าอนุปริญญา/เทียบเท่า หรือ 2 บุคลากรที่เพิ่งจบการศึกษาในระดับไม่ต่ากว่าอนุปริญญา/เทียบเท่า ทั้งนี้ไม่เกิน 1 ปีหรือ 3 บุคลากร ที่เพิงเข้าทางานในภาคอุตสาหกรรมโดยมีระยะเวลาการทางานไม่เกิน 1 ปี ่ ผลลัพธ์ที่ต้องการ 1 บุคคลากรตามเป้าหมายโครงการ ผ่านการฝึกอบรม จานวนไม่น้อยกว่า 70 ราย 2 ผู้ผ่านการฝึกอบรมดังกล่าว ได้รับการประเมินผลความพึงพอใจ ตามแบบประเมินผลรับบริการของกรมส่งเสริม อุตสาหกรรม โดยมีคะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 85 3 ผู้ผ่านการฝึกอบรมดังกล่าว จะต้องผ่านทดสอบหลังการอบรมเรียบร้อย (Post-test) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 เงื่อนไขและวิธีในการเข้าร่วมการอบรมของโครงการ กสอ. 1. ผู้ที่จะสมัครจะต้องมีคุณสมบัติตามกลุ่มเป้าหมายที่ระบุตามข้อกาหนดของโครงการ โดยการอ้างอิงจากเอกสาร การศึกษา หรือ/ สถานที่ทางาน / หรือ บุคคลที่อ้างอิงได้ 2. การรับสมัครให้ผู้สมัครเตรียมหลักฐานให้ครบถ้วนตามข้อ 1, สาเนาบัตรประชาชน, สาเนาทะเบียนบ้าน, ประวัติ ส่วนตัว , ใบสมัคร, รูปถ่าย 1 นิ้ว ติดใบสมัคร 1 ใบ บัตรประจาตัว 1 ใบ จากนั้นนามายื่นที่ ARG ถ.พระราม 3 อาคารเอสวีโอเอ ชั้น 5 ภายในวันที่กาหนดไว้ในแต่ละรุ่น โดยผ่านช่องทางอีเมล์ , แฟกซ์, จดหมาย หรือมายื่นเอกสารด้วยตนเอง เท่านั้น  รุ่นที่ 1 ปิดรับสมัครวันที่ 4 มีนาคม 2554  รุ่นที่ 2 ปิดรับสมัครวันที่ 15 มีนาคม 2554 3. หลังการสมัครในแต่ละรุ่นเสร็จเรียบร้อย – ให้ผู้สมัครรอเรียกตัวเพื่อนัดมาสัมภาษณ์ (ตามวันที่กาหนด) โดยจะแจ้ง ให้ทราบผ่านทางอีเมล์, เว็บไซต์ , และโทรแจ้งโดยตรง 4. หลังสอบสัมภาษณ์ ผู้สมัครติดตามการประกาศรายชื่อผู้ที่ได้รับคัดเลือก (ตัวจริง-ตัวสารอง) ในแต่ละรุ่น ตามวันที่ กาหนดไว้ ผ่านช่องทางเว็บไซด์ , อีเมล์, และโทรแจ้งโดยตรง หรือสามารถโทรมาสอบถามได้ด้วยตนเองที่คุณสุวรรณา แช่มวงษ์ โทร . 02-682-6350 ต่อ 513 5. ผู้ที่ผ่านการคัดเลือก (ตัวจริง) จะต้องติดต่อยืนยันการเข้าร่วมการอบรมกลับมาที่ ARG อีกครั้ง พร้อมกับวาง เงินค้า ประกันในการเข้าอบรม 3,000.-/ท่าน ภายในระยะเวลาที่กาหนดมิฉะนั้นจะถือว่าปฏิเสธการเข้าร่วมการอบรม ทาง ARG ก็จะเรียก 2
  • 8. รายชื่อสารองมาแทน (การรับเงินค้าประกันคืน จะสงวนสิทธิ์เฉพาะผู้เข้าอบรมที่ อบรมครบ 15 วัน (หรือไม่ต่ากว่า 80%ของเวลาเรียน) นอกเหนือจากนี้จะพิจารณาตามความเหมาะสม) 6. เมื่อผู้เข้าอบรมมาเข้าเรียนครบตามจานวนวันของหลักสูตร 15 วัน หรืออย่างน้อยต้องเข้าเรียนไม่ต่ากว่า 80% ของ เวลาเรียนทั้งหมด จึงจะถือว่าผ่านการอบรมตามข้อกาหนดของโครงการ และมีสิทธิที่จะได้รับเงินค้าประกันคืนครบตามจานวน (รวมถึง ในกรณีที่มีเหตุสุดวิสัย ผู้เข้าอบรมจะต้องแสดงหลักฐาน, และติดต่อกับเจ้าหน้าที่ ARG เพื่อให้ออกจดหมายรับรองแทนการเข้าอบรม) 7. ในการอบรม จะมีการทดสอบทักษะผู้เรียน อย่างน้อย 2 ครั้ง คือก่อนอบรม (Pre-test) และหลังการอบรม (Post-test) จากนั้นเมื่อจบการอบรมไปแล้ว ไม่เกิน 3 เดือน ทางผู้จัดอบรมจะโทรไปสอบถามความคืบหน้ากับผู้เข้าอบรมอีกครั้ง 8. ระยะเวลาของการคืนเงินค้าประกันให้กับผู้เข้าอบรม จะต้องหลังจากที่ผู้จัดอบรมได้โทรไปสอบถามความคืนหน้า กับผู้เข้าอบรมอีกครั้งหลังจากที่เรียนจบไปแล้ว สิ่งที่ผู้เข้าอบรมจะได้รับ 1. เอกสารประกอบการอบรม, สมุด, ปากกา 2. ใบประกาศนียบัตร 3. อาหารว่าง 2 มื้อ, อาหารเที่ยง 1 มื้อ / ต่อท่าน / วัน 4. ผู้เข้าอบรมจะได้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ 1 ท่าน/เครื่อง 3
  • 9. ข้อกาหนดของหลักสูตร หลักสูตรการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อการออกแบบด้วย AutoCAD 2010 และ Inventor 2011 ระดับต้น-ระดับกลาง-ระดับสูง หลักการและเหตุผล การพัฒนาเพิ่มขีดความสามารถซอฟท์แวร์ช่วยในการออกแบบด้วยคอมพิวเตอร์ดาเนินไปอย่างต่อเนื่อง จึงมีความจาเป็นที่ จะต้องพัฒนาบุคลากรที่จะเริ่มเข้าสู่อุตสาหกรรมการออกแบบด้วยคอมพิวเตอร์ให้มีความรู้ความสามารถและทักษะในการใช้ซอฟท์แวร์ ช่วยในการออกแบบและพร้อมที่จะสามารถปฏิบัติงานจริงได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ ถึงแม้ว่าในปัจจุบัน ในอุตสาหกรรมต่างๆ ได้มีการ นาซอฟท์แวร์คอมพิวเตอร์ช่วยในการออกแบบเวอร์ชั่นใหม่ๆ เข้ามาใช้งานอยู่เสมอๆ แต่ผู้ปฏิบัติงานและผู้ที่จะเริ่มเข้าสู่อุตสาหกรรม การออกแบบยังคงใช้เทคโนโลยีเดิมๆ ในการออกแบบชิ้นงาน จึงยังมิได้ใช้ประโยชน์สูงสุดจากฟีเจอร์ใหม่ๆ ของซอฟแวร์ ซึ่งจะช่วย เพิ่มคุณภาพและลดระยะเวลาในการทางานให้สั้นลง จึงทาให้การลงทุนกับซอฟท์แวร์ใหม่ๆ ยังมิได้ผลคุ้มค่าเท่าที่ควร หลักสูตรนี้จะ ตอบสนองความต้องการในอุตสาหกรรมการออกแบบได้โดยตรง โดยจะมีการฝึกอบรมให้ผู้ที่ยังไม่เคยใช้ซอฟท์แวร์ช่วยในการ ออกแบบมาก่อนหรือผู้เคยใช้ซอฟท์แวร์ช่วยในการออกออกแบบมาบ้างรู้จักวิธีการใช้ซอฟท์แวร์ช่วยในการออกแบบโดยใช้ประโยชน์ จากฟีเจอร์เดิมและรวมถึงเทคโนโลยีใหม่ๆ ครอบคลุมซอฟท์แวร์ช่วยในการออกแบบทุกๆ เวอร์ชั่น ผู้ผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรนี้จะมี ความรู้ มีทักษะ ความพร้อมและความมั่นใจที่จะก้าวเข้าสู่อุตสาหกรรมการออกแบบด้วยคอมพิวเตอร์ทั้งทางด้าน 2 มิติและ 3 มิติ ตอบสนองต่อความต้องการของตลาดแรงงานในอุตสาหกรรมการออกแบบและอุตสาหกรรมการผลิตประเภทต่างๆ ทั้ งในประเทศและ ต่างประเทศ วัตถุประสงค์ของหลักสูตร 1. เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความสามารถในการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการออกแบบได้ระยะเวลาอันสั้น 2. เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมรู้จักวิธีการใช้คาสั่งทั้งหมดทีจาเป็นต่อการออกแบบและการ1เขียนแบบใน AutoCAD 2010 และ ่ Inventor 2011 3. เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมรู้จักเทคนิคในการใช้คาสั่งต่างๆ อย่างเหมาะสมและสามารถที่จะนาเทคนิคไปประยุกต์ใช้ในงานเขียน แบบและงานออกแบบแบบจาลอง 3 มิติด้วยตนเอง 4. เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้ความเข้าใจสามารถเริ่มทางานในอุตสาหกรรมประเภทต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5. เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้ในงานออกแบบตรงตามความต้องการของตลาดแรงงานในประเทศและต่างประเทศ คุณสมบัติของผู้เข้ารับการอบรม 1. ไม่จาเป็นต้องมีพื้นฐานในการใช้ AutoCAD และ Inventor มาก่อน 2. มีพื้นฐานการใช้งานระบบปฏิบัติการวินโดว์ อาทิ เช่น การจัดเก็บไฟล์ การคัดลอกไฟล์ เป็นต้น 3. มีความมุ่งมั่นและตั้งใจ พร้อมที่จะรับความรู้และเทคโนโยลีใหม่ในด้านการออกแบบด้วยคอมพิวเตอร์ 4
  • 10. เนื้อหาของหลักสูตร แผนการสอนวันที่ 1 ชั่วโมงที่ ภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ หมายเหตุ 1  ประเมินผลก่อนฝึกอบรม AutoCAD 2010 และ - ประเมินผลก่อน Inventor 2011 ฝึกอบรมใช้เวลา 30  ความเป็นมาของ AutoCAD ตั้งแต่อดีตจนถึง นาที ปัจจุบัน อธิบาย ฟีเจอร์ใหม่และอินเตอร์เฟสใหม่ นาเสนอด้วย Power ของ AutoCAD 2010 และการนาฟีเจอร์ใหม่ไป Point Presentation ประยุกต์ใช้งาน แนะนาการใช้แผ่น  อธิบายการปรับแต่งสภาพแวดล้อม Windows ใน DVD-ROM ช่วยสอน ส่วนที่เกี่ยวข้องกับ AutoCAD 2010 แสดงตัวอย่าง และ  อธิบายการปรับแต่งสภาพแวดล้อมของ AutoCAD แสดงขั้นตอน 2010 และกล่าวถึงวิธีการใน AutoCAD เวอร์ชั่น วิธีการอย่างละเอียด ก่อนๆ โดยนาเข้า (Import)และส่งออก(Export)ค่า การปรับแต่งสภาพแวดล้อมจากคอมพิวเตอร์ เครื่องหนึ่งไปใช้งานในคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น เพื่อ ความรวดเร็วและเพื่อช่วยให้เกิดความคล่องตัวใน การใช้โปรแกรม 2 -  ฝึกการปรับสภาพแวดล้อม ผู้เข้ารับการ  ฝึกการปรับแต่งสภาพแวดล้อม AutoCAD ฝึกอบรมจะต้อง 2010 และการนาเข้า(Import)และส่งออก ผ่านการฝึกใน (Export)ค่าการปรับแต่งสภาพแวดล้อม หัวข้อนี้ มิฉะนั้นจะ จากคอมพิวเตอร์เครื่องหนึงไปใช้งานใน ่ เป็นอุปสรรคต่อการ คอมพิวเตอร์เครื่องอื่น ฝึกปฏิบัติในหัวข้อ ต่อๆ ไป 3  อธิบายการสร้างเทมเพล็ทไฟล์ต้นแบบ .dwt เพื่อ  ฝึกการสร้างเทมเพล็ทไฟล์ต้นแบบ .dwt - เก็บค่าเริ่มต้นต่างๆ 4  อธิบายโครงสร้างการจัดระบบไฟล์และโฟลเดอร์ - - ต่างๆ ที่ควรรู้จักของ AutoCAD 2010  อธิบายการใช้งานริบบอน(Ribbon  อธิบายการใช้งานบรรทัดแสดงสถานะ(Status bar) รูปแบบใหม่  อธิบายการใช้งานเมนูบราวเซอร์(Menu browser) และการค้นหาคาสั่ง 5  อธิบายการเลือกวัตถุ(Object selection)  ฝึกการเลือกวัตถุแบบต่างๆ - 6  อธิบายการใช้ออฟเจกท์สแน๊ป(OSNAP)  ฝึกการใช้ออฟเจกท์สแน๊ป(OSNAP) -  อธิบายการใช้โพล่าร์สแน๊ป(POLAR) อธิบายการ  ฝึกการใช้โพล่าร์สแน๊ป(POLAR) ใช้แทร็คกิ้ง(OTRACK)ช่วยในการ แทร็คจุด  ฝึกการใช้แทร็คกิ้ง(OTRACK) 5
  • 11. อธิบายการใช้งานไดนามิกอินพุท(Dynamic Input)  ฝึกการใช้ไดนามิกอินพุท(Dynamic Input) 7  อธิบายการเปิดโหมดแสดงความหนาเส้น  ฝึกการเปิดโหมดแสดงความหนาเส้น - (LWT)และการตั้งค่าเริ่มต้น (LWT)และการตั้งค่าเริ่มต้น  อธิบายการกาหนดจุดกริด(GRID)และการบังคับ  ฝึกการกาหนดจุดกริด(GRID)และการ ระยะกระโดดของเคอร์เซอร์(SNAP) บังคับ  อธิบายการใช้ปุ่มต่างๆ บนคีย์บอร์ดและเมาส์  ฝึกการกาหนดขอบเขตลิมต(Drawing ิ  อธิบายการกาหนดขอบเขตลิมิต(Drawing limits) limits)  อธิบายการใช้คาสั่งในการควบคุมมุมมอง ZOOM  ฝึกการใช้คาสั่ง ZOOM และ PAN และ PAN แผนการสอนวันที่ 2 ชั่วโมงที่ ภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ หมายเหตุ 8  อธิบายการใช้คาสั่งในการเขียนเส้น LINE, ARC, - - CIRCLE, PLINE, RECTANG, POLYGON, SPLINE, ELLIPSE, BOUNDARY, WIPEOUT, POINT, และ MLINE 9 -  ฝึกการใช้คาสั่ง LINE, ARC, CIRCLE, - PLINE, RECTANG, POLYGON, SPLINE, ELLIPSE, BOUNDARY, WIPEOUT, POINT, และ MLINE 10-11  อธิบายการใช้คาสั่งในการแก้ไขปรับแต่งเส้น - - MOVE, COPY, ROTATE, SCALE, MIRROR, OFFSET, ARRAY, STRETCH, TRIM, EXTEND, BREAK, LENGTHEN, FILLET, CHAMFER, และ EXPLODE 12-14 -  ฝึกการใช้คาสั่ง MOVE, COPY, - ROTATE, SCALE, MIRROR, OFFSET, ARRAY, STRETCH, TRIM, EXTEND, BREAK, LENGTHEN, FILLET, CHAMFER, และEXPLODE แผนการสอนวันที่ 3 ชั่วโมงที่ ภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ หมายเหตุ 15  อธิบายการกาหนดรูปแบบ(Text style)และการ  ฝึกการเขียนตัวอักษรตอนที่ 1 - เขียนตัวอักษรด้วยคาสั่ง Single Line Text และ Multiline Text 16 -  ฝึกการเขียนตัวอักษรตอนที่ 2 - 17  อธิบายการกาหนดรูปแบบ(Dimension style)และ - - การเขียนเส้นบอกขนาด(Dimensioning) 6
  • 12. 18-19 -  ฝึกการใช้คาสั่งทั้งหมดสาหรับการเขียน - เส้นบอกขนาด 20  อธิบายการระบายลวดลายแฮทช์(Hatch)และการ  ฝึกการเขียนลวดลายแฮทช์และระบายสีไล่ - ระบายสีไล่ระดับ(Gradient) ระดับ(Gradient)  อธิบายการสร้างเลเยอร์และการกาหนดคุณสมบัติ  ฝึกการสร้างเลเยอร์และการกาหนด ต่างๆ ของเลเยอร์ การใช้งาน Layer Properties คุณสมบัติต่างๆ ของเลเยอร์ Manager ใหม่และฟีเจอร์ที่เพิ่มขึ้น รวมทั้งคาสั่งใน  ฝึกการสร้างบล็อค(Blocks) เอกซ์เรฟ กลุ่ม Layer Tools และ Layer State Manager (Xrefs หรือ DWG Reference)  อธิบายการสร้างบล็อค(Blocks) เอกซ์เรฟ(Xrefs หรือ DWG Reference) และความสัมพันธ์กับคาสั่ง UNITS  อธิบายการใช้งานเอกซ์เทอนัลเรฟเฟอเรนต์ (External Reference)อย่างละเอียด 21  อธิบายการใช้งานหน้าต่าง DesignCenter, และการ  ฝึกการใช้ DesignCenter, Properties และ - ใช้งานหน้าต่าง Properties Tool Palettes  อธิบายการใช้ Tool Palettes ช่วยในการสอดแทรก บล็อค อิมเมจ แฮทช์ สีไล่ระดับ และคาสั่ งต่างๆ ออกมาใช้งาน แผนการสอนวันที่ 4 ชั่วโมงที่ ภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ หมายเหตุ 22  อธิบายหลักการเขียนแบบเครื่องกล I  แบบฝึกหัดงานเขียนแบบเครื่องกล I - 23 1. อธิบายการใช้คาสั่งสารพัดประโยชน์ต่างๆ อาทิ 2. ฝึกการใช้คาสั่ง ‘CAL, DISTANCE, - ‘CAL, DISTANCE, AREA, MASSPROP, AREA, MASSPROP, DRAWORDER, DRAWORDER, DIVIDE, MEASURE, DIVIDE, MEASURE, MATCHPROP MATCHPROP 24  อธิบายหลักการเขียนแบบเครื่องกล II  แบบฝึกหัดงานเขียนแบบเครื่องกล II - 25  อธิบายหลักการเบื้องต้นและการใช้งาน 3. ฝึกการใช้คาสั่งและปุ่มไอคอนควบคุม - Annotation Scale Annotation Scale 26  อธิบายหลักการเขียนแบบเครื่องกล III  แบบฝึกหัดงานเขียนแบบเครื่องกล III 27 4. อธิบายหลักการเบื้องต้นและการใช้งาน Parametric 5. ฝึกการใช้คาสั่งในกลุ่ม Parametric - 28  อธิบายหลักการเขียนแบบไฟฟ้า  แบบฝึกหัดงานเขียนแบบไฟฟ้า - แผนการสอนวันที่ 5 ชั่วโมงที่ ภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ หมายเหตุ 29-30  อธิบายหลักการเขียนแบบสถาปัตยกรรม I  แบบฝึกหัดงานเขียนแบบบ้าน - 31 6. อธิบายการใช้ Page Setup Manager ในการตั้งค่า  ฝึกการจัดหน้ากระดาษ กาหนดมาตราส่วน - หน้ากระดาษในเลเอาท์เปเปอร์สเปส และการควบคุมความหนาเส้น 7. อธิบายการสร้างวิวพอร์ทและการกาหนดมาตรา 7
  • 13. ส่วนให้กับวิวพอร์ทใน Layouts 8. อธิบายการควบคุมความหนาเส้น เพื่อเตรียมพร้อม ในการพิมพ์แบบแปลน 32-34  อธิบายหลักการเขียนแบบสถาปัตยกรรม II  แบบฝึกหัดงานเขียนแบบอาคาร - 35  อธิบายการพิมพ์แบบแปลนด้วยคาสั่ง PLOT 9. ฝึกพิมพ์แบบแปลน -  อธิบายการใช้ Plot Stamp เพื่อพิมพ์ข้อความที่ ต้องการลงบนขอบกระดาษ แผนการสอนวันที่ 6 ชั่วโมงที่ ภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ หมายเหตุ 36 10. อธิบายและแสดงขั้นตอนในการทาแบบฝึกหัดงาน 11. แบบฝึกหัดงานสร้างเทมเพล็ท - สร้างเทมเพล็ท(Template)ไฟล์ต้นแบบ (Template)ไฟล์ต้นแบบ 37 12. อธิบายการใช้งาน Annotation Scale เชิงลึกอย่าง 14. ฝึกการใช้งาน Annotation Scale - ละเอียด การสร้างวัตถุที่สามารถปรับสเกลโดย อัตโนมัติ(Annotative objects) อาทิ เช่น Text, Dimension, Leader, Tolerance, Multileader, Block, Attribute และ Hatch ที่สามารถปรับสเกล โดยอัตโนมัติ 13. อธิบายการควบคุมการปรากฏของวัตถุที่สามารถ ปรับสเกลโดยอัตโนมัต(Annotative objects) การ ิ เพิ่มและแก้ไขสเกลให้แก่วัตถุที่สามารถปรับสเกล โดยอัตโนมัติและการกาหนดทิศทางการหันเห ให้แก่วัตถุที่สามารถปรับสเกลโดยอัตโนมัติ ในเลเอาท์เปเปอร์สเปส 38 15. อธิบายหลักการใช้งานพาราเมตริกดรอวิ่ง 18. ฝึกการใช้งาน Geometric constraints และ - (Parametric drawing) การบังคับวัตถุด้วยรูปทรง Dimensional constraints Geometric constraints และ การบังคับวัตถุด้วย เส้นบอกขนาด 16. อธิบายการบังคับวัตถุด้วยรูปทรงด้วยตนเอง Geometric constraints การควบคุมการปรากฏ ของสัญลักษณ์ Geometric constraints การลบ สัญลักษณ์บังคับรูปทรง Geometric constraints 17. อธิบายประเภทการบังคับขนาดวัตถุแบบ Dynamic และ Annotational การบังคับวัตถุด้วยเส้นบอก ขนาด Dimensional constraints การควบคุมการ ปรากฏของเส้นบอกขนาด Dimensional constraints การสร้างความสัมพันธ์และการสร้าง สูตรด้วย Parameter manager การเปลี่ยนประเภท เส้นบอกขนาดระหว่าง Dynamic และ Annotational การแปลงเส้นบอกขนาดธรรมดาให้ 8
  • 14. เป็น Dimensional constraints 39 19. อธิบายหลักการสร้างไดนามิกบล็อคและการใช้ - - Block Editor ช่วยในการสร้างไดนามิกบล็อค 20. อธิบายเครื่องมือช่วยในการสร้างไดนามิกบล็อค พารามิเตอร์(Parameters) แอคชั่น(Actions) พารามิเตอร์เซท(Parameter sets) และพาราเมตริก (Parametric) 21. อธิบายตัวอย่างการสร้างไดนามิกบล็อค โดยใช้ พาราเมตริก พารามิเตอร์และแอคชั่น 40 22. อธิบาย Point Parameter, Linear Parameter, Polar 24. ฝึกการใช้พารามิเตอร์และแอคชั่นหลายๆ - Parameter, XY Parameter, Rotation Parameter, แบบร่วมกัน ตัวอย่างการสร้างไดนามิกบ Alignment Parameter, Flip Parameter, Visibility ล็อค โดยใช้พาราเมตริก แสดงตัวอย่าง Parameter, Lookup Parameter, Block Table การสร้างไดนามิกบล็อค โดยใช้ Parameter และ Base Point Parameter พารามิเตอร์ แอคชั่นและพาราเมตริก 23. อธิบายการเชื่อมโยงความสัมพันธ์แบบลูกโซ่ การ ร่วมกัน เชื่อมโยงความสัมพันธ์แบบศูนย์กลาง 41  อธิบายการใช้ Sheet Set Manager ตั้งแต่เริ่มต้น  ฝึกการใช้คาสั่งต่างๆ ในกลุ่ม Sheet Set - การสร้างตารางรายการแบบ การสร้างบล็อค สัญลักษณ์ควบคุมการเปลี่ยนแปลงมาตราส่วนของ วิวพอร์ท การบันทึกมุมมองวิว (View)เพื่อใช้งาน ใน Sheet Set การใช้ Sheet Set Manager ในการ สร้างภาพฉายบนเลเอาท์ การพิมพ์แบบแปลนครั้ง ละหลายๆ แผ่นจาก Sheet Set Manager 42 25. อธิบายการใช้คาสั่งในกลุ่ม Express Tools เฉพาะ 26. ฝึกการใช้คาสั่งในกลุ่ม Express Tools - คาสั่งที่ใช้งานบ่อยๆ ในงานเขียนแบบ 2 มิติ แผนการสอนวันที่ 7 ชั่วโมงที่ ภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ หมายเหตุ 43 27. อธิบายการใช้ ควิกวิวเลเอาท์(Quick View Layout) 36. ฝึกการสร้างแอคชั่นมาโครและการใช้งาน - และควิกวิวดรอวิ่ง(Quick View Drawing) ตัวอย่างที่ 1 Limits Zoom Grid ตัวอย่างที่ 28. อธิบายการใช้งานสเตอริ่งวิล(Steering Wheel) 2 Move ตัวอย่างที่ 3 Mirror และตัวอย่างที่ 29. อธิบายการใช้งานสโลโมชั่น(Slow Motion) 4 Boundary Area Erase Dtext Txt2mtxt 30. อธิบายการสร้างไฟล์ .DWFx เพื่อนาไปใช้งานบน อินเตอร์เนต 31. อธิบายการใช้งานแอคชั่นเรคคอร์ดเดอร์(Usage of action recorder) 32. อธิบายการบันทึกแอคชั่นมาโคร 33. อธิบายการแก้ไขแอคชั่นมาโคร 34. อธิบายการรันแอคชั่นมาโคร 35. อธิบายการสารองแอคชั่นมาโคร 9
  • 15. อธิบายการกาหนดคุณสมบัติควิกพร็อบเพอร์ต(Quick ี้ properties) 44 37. อธิบายการแปลง Layout ให้เป็น Model ด้วยคาสั่ง 39. ฝึกการใช้คาสั่ง Exportlayout Exportlayout 40. ฝึกการสร้างคาสั่ง LTSCALE ตัวอย่างการ 38. อธิบายการสร้างคาสั่งใหม่ สร้างคาสั่ง 6-SIDED POLYGON ตัวอย่าง การสร้างคาสั่ง ANSI HATCH และ ตัวอย่างการสร้างคาสั่ง LIMITS, ZOOM ALL และ GRID ON 45 41. อธิบายการแก้ไขปรับแต่งและเพิ่มเติมเมนูบาร์และ 45. ฝึกการแก้ไขปรับแต่งและเพิ่มเติมเมนูบาร์ - บราวเซอร์(Menu browser) และบราวเซอร์(Menu browser) 42. อธิบายการแก้ไขปรับแต่งและเพิ่มเติมปุ่มไอคอน 46. ฝึกการแก้ไขปรับแต่งและเพิ่มเติมปุ่ม บนทูลบาร์(Toolbars) ไอคอนบนทูลบาร์(Toolbars) 43. อธิบายการแก้ไขปรับแต่งและเพิ่มเติมริบบอน 47. ฝึกการแก้ไขปรับแต่งและเพิ่มเติมริบบอน 44. อธิบายการแก้ไขปรับแต่งและเพิ่มเติมควิก 48. ฝึกการแก้ไขปรับแต่งและเพิ่มเติมควิก แอคเซสทูลบาร์(Quick access toolbar) แอคเซสทูลบาร์(Quick access toolbar) 46 49. อธิบายการแก้ไขปรับแต่งและเพิ่มเติมคีย์ลัด 55. ฝึกการแก้ไขปรับแต่งและเพิ่มเติมคีย์ลัด - 50. อธิบายการแก้ไขปรับแต่งและเพิ่มเติมคาสั่งย่อ 56. ฝึกการแก้ไขปรับแต่งและเพิ่มเติมคาสั่งย่อ 51. อธิบายการแก้ไขปรับแต่งและเพิ่มเติมโรลโอเวอร์ 57. ฝึกการแก้ไขและเพิ่มเติมโรลโอเวอร์ 52. อธิบายการแก้ไขปรับแต่งการดับเบิ้ลคลิก 58. ฝึกการแก้ไขปรับแต่งการดับเบิ้ลคลิก 53. อธิบายการแก้ไขปรับแต่งการกาหนดคาสั่งให้ปุ่ม 59. ฝึกการแก้ไขปรับแต่งการกาหนดคาสั่งให้ ของเมาส์ ปุ่มของเมาส์ 54. อธิบายการแก้ไขปรับแต่งและเพิ่มเติมทูลพาเลทซ์ 60. ฝึกการแก้ไขและเพิ่มเติมทูลพาเลทซ์ 47  อธิบายหลักการเขียนแบบเครื่องกล IV  แบบฝึกหัดงานเขียนแบบเครื่องกล IV - 48 61. อธิบายการสร้างลวดลายแฮทช์ .pat ด้วยโปรแกรม 65. ฝึกการสร้างลวดลายแฮทช์ .pat - Hatch Manager 66. ฝึกการสร้างรูปแบบเส้น(Linetype) 62. อธิบายการสร้างรูปแบบเส้น(Linetype)ด้วยตนเอง ประเภทต่างๆ 63. อธิบายการสร้าง Linetype เส้นประรูปแบบพิเศษ 64. อธิบายการสร้าง Linetype โดยใช้ตัวอักษรเป็น ส่วนประกอบ อธิบายการสร้าง Linetype โดยใช้เชฟ(Shape)เป็น ส่วนประกอบ 49  อธิบายหลักการเขียนแบบเครื่องกล V  แบบฝึกหัดงานเขียนแบบเครื่องกล V - แผนการสอนวันที่ 8 ชั่วโมงที่ ภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ หมายเหตุ 50  อธิบายหลักการเขียนแบบเครื่องกล VI  แบบฝึกหัดงานเขียนแบบเครื่องกล VI - 51-54  อธิบายหลักการเขียนแบบสถาปัตยกรรม III  แบบฝึกหัดงานเขียนแบบบ้านเดี่ยว - 55  สรุปการใช้โปรแกรม AutoCAD 2010 - -  ถามตอบปัญหาการใช้โปรแกรม 56  ทดสอบและประเมินผลการใช้ AutoCAD 2010 - จบหลักสูตร 10
  • 16. AutoCAD แผนการสอนวันที่ 9 ชั่วโมงที่ ภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ หมายเหตุ 57 67. แนะนาเบื้องต้นในการใช้โปรแกรม Inventor 2011 - เริ่มหลักสูตร 68. อธิบายความสามารถของโมดูลต่างๆ ของ Inventor 2011 โปรแกรม 69. อธิบายความต้องการทางด้านฮาร์ดแวร์และ ซอฟท์แวร์(System Requirement) 70. อธิบายการติดตั้งโปรแกรม Autodesk Inventor Professional 2011 71. อธิบายการแก้ไขปัญหาการติดตั้งโปรแกรม (Trouble Shooting) 58 72. อธิบายการปรับสภาพแวดล้อมเพื่อเตรียมความ 78. ฝึกการปรับสภาพแวดล้อมเพื่อเตรียม - พร้อมก่อนการใช้โปรแกรม ความพร้อมก่อนการใช้โปรแกรม 73. อธิบายยูสเซอร์อินเตอร์เฟสและการจัดการไฟล์ 79. ฝึกการจัดการโปรเจกท์ไฟล์ .ipj 74. อธิบายไฟล์ประเภทต่างๆ ของ Autodesk Inventor 75. อธิบายโครงสร้างโปรแกรม โครงสร้างโฟลเดอร์ และการจัดเก็บไฟล์ 76. อธิบายการจัดการโปรเจกท์ไฟล์ .ipj 77. อธิบายหลักการทางานเบื้องต้นของโปรแกรม 59 80. อธิบายหลักการขึ้นรูปโมเดลแบบ Top Down Design 88. ฝึกการเลือกระนาบในการขึ้นรูปโมเดล - และ Bottom Up Design 89. ฝึกการหมุนมุมมองควบคุมการปรากฏของ 81. อธิบายการเริ่มต้นไฟล์ใหม่และการเรียกใช้เทม พาร์ทและแอสเซมบลี เพล็ทไฟล์ฟอร์แมตต่างๆ 90. ฝึกการตัดเฉือนภาพ(Slice Graphic) 82. อธิบายการเลือกระนาบในการขึ้นรูปโมเดล 91. ฝึกการควบคุมการปรากฏของวัตถุประเภท 83. อธิบายการหมุนมุมมองควบคุมการปรากฏของ ต่างๆ โดยใช้ Object Visibility พาร์ทและแอสเซมบลี 92. ฝึกการควบคุมการเปลี่ยนโหมดแสดงผล 84. อธิบายการตัดเฉือนภาพ(Slice Graphic) Visual Style 85. อธิบายการควบคุมการปรากฏของวัตถุประเภท 93. ฝึกการควบคุมแสง(Lighting)และเงา ต่างๆ โดยใช้ Object Visibility (Shadow) 86. อธิบายการควบคุมการเปลี่ยนโหมดแสดงผล Visual Style 87. อธิบายการควบคุมแสง(Lighting)และเงา(Shadow) 60 94. อธิบายการกาหนดสี(Color Style)ให้กับพาร์ท 96. ฝึกการกาหนดสี(Color Style)ให้กับพาร์ท ฟีเจอร์และพื้นผิวของพาร์ท ฟีเจอร์และพื้นผิวของพาร์ท 95. อธิบายการกาหนดวัสดุ(Material)ให้กับพาร์ท 97. ฝึกการกาหนดวัสดุ(Material)ให้กับพาร์ท 61 98. อธิบายสเกทช์(Sketch)และการนาไปใช้งานประเภท 101. ฝึกการเขียนเส้นด้วยคาสั่ง Line, Circle, Arc, ต่างๆ Rectangle, Spline, Ellipse, Point, Polygon, 99. อธิบายหลักการเขียนสเกทช์ (Sketch) Text, Fillet, Chamfer 11
  • 17. 100. อธิบายการเขียนเส้นด้วยคาสั่ง Line, Circle, Arc, Rectangle, Spline, Ellipse, Point, Polygon, Text, Fillet, Chamfer 62 102. อธิบายการใช้คาสั่ง Move, Copy, Rotate, Trim, 103. ฝึกการใช้คาสั่ง Move, Copy, Rotate, Trim, Extend, Split, Scale, Stretch, Offset, Rectangular, Extend, Split, Scale, Stretch, Offset, Circular Rectangular, Circular 63 104. อธิบายการใช้คาสั่ง Mirror, Centerline, Construction, 107. ฝึกการใช้คาสั่ง Mirror, Centerline, Image, Points, ACAD Construction, Image, Points, ACAD 105. อธิบายหลักการสร้างสเกทช์ 3 มิติ 108. ฝึกการใช้คาสั่ง Line (3D) , Helix, Arc (3D), 106. อธิบายการใช้คาสั่ง Line (3D) , Helix, Arc (3D), Spline, Point (3D), Bend Spline, Point (3D), Bend แผนการสอนวันที่ 10 ชั่วโมงที่ ภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ หมายเหตุ 64 109. อธิบายการบังคับสเกทช์ (Constrain Sketch) 118. ฝึกการบังคับสเกทช์โดยอัตโนมัติ - 110. อธิบายการบังคับสเกทช์โดยอัตโนมัต(ิ Automatic (Automatic Dimensions and Constraints) Dimensions and Constraints) 119. ฝึกการควบคุมการปรากฏและการซ่อนของ 111. อธิบายการควบคุมการปรากฏและการซ่อนของ คอนสเตรนท์ (Constraints)บนสเกทช์ คอนสเตรนท์(Constraints)บนสเกทช์ 120. ฝึกการลบคอนสเตรนท์(Constraint)ออก 112. อธิบายการลบคอนสเตรนท์(Constraint)ออกจาก จาก สเกทช์ สเกทช์ 121. ฝึกการบังคับจุดบนเส้นให้ตรงกัน 113. อธิบายการบังคับจุดบนเส้นให้ตรงกัน(Coincident (Coincident Constraint) Constraint) 122. ฝึกการบังคับเส้นให้อยู่ในแนวเดียวกัน 114. อธิบายการบังคับเส้นให้อยู่ในแนวเดียวกัน (Collinear Constraint) (Collinear Constraint) 123. ฝึกการบังคับเส้นโค้งหรือวงกลมให้มีจุด 115. อธิบายการบังคับเส้นโค้งหรือวงกลมให้มีจุด ศูนย์กลางเดียวกัน(Concentric Constraint) ศูนย์กลางเดียวกัน(Concentric Constraint) 124. ฝึกการบังคับวัตถุในโหมดจุดยึดอยู่กับที่ 116. อธิบายการบังคับวัตถุในโหมดจุดยึดอยู่กับที(่ Fix) (Fix) 117. อธิบายการบังคับเส้นให้ขนาน(Parallel Constraint) 125. ฝึกอธิบายการบังคับเส้นให้ขนาน(Parallel Constraint) 65 126. อธิบายการบังคับเส้นให้ตงฉาก(Perpendicular ั้ 134. ฝึกการบังคับเส้นให้ตั้งฉาก(Perpendicular Constraint) Constraint) 127. อธิบายการบังคับเส้นในแนวนอน(Horizontal 135. ฝึกการบังคับเส้นในแนวนอน(Horizontal Constraint) Constraint) 128. อธิบายการบังคับเส้นในแนวตั้ง(Vertical Constraint) 136. ฝึกการบังคับเส้นในแนวตั้ง(Vertical 129. อธิบายการบังคับเส้นให้สัมผัส(Tangent) Constraint) 130. อธิบายการบังคับเส้นให้ราบเรียบต่อเนื่อง(Smooth 137. ฝึกการบังคับเส้นให้สัมผัส(Tangent) G2) 138. ฝึกการบังคับเส้นให้ราบเรียบต่อเนื่อง 131. อธิบายการบังคับเส้นให้ได้สมมาตรกันในลักษณะ (Smooth G2) กระจกเงา(Symmetric) 139. ฝึกการบังคับเส้นให้ได้สมมาตรกันใน 132. อธิบายการบังคับเส้นให้มีความยาวหรือรัศมี ลักษณะกระจกเงา(Symmetric) 12
  • 18. เท่ากัน(Equal) 140. ฝึกการบังคับเส้นให้มีความยาวหรือรัศมี 133. อธิบายการปิด/เปิดโหมดการสร้าง Constraints โดย เท่ากัน(Equal) อัตโนมัติ ด้วย Constraint Inference 141. ฝึกการปิด/เปิดโหมดการสร้าง Constraints โดยอัตโนมัติ ด้วย Constraint Inference 66 142. อธิบายการบังคับสเกทช์ด้วยขนาด(Dimension 148. ฝึกการบังคับสเกทช์ด้วยขนาด(Dimension - Constraints) Constraints) 143. อธิบายการบังคับสเกทช์ด้วยคาสั่ง Dimension 149. ฝึกการบังคับสเกทช์ด้วยคาสั่ง Dimension 144. อธิบายการแก้ไขตัวเลขบอกขนาด 150. ฝึกการแก้ไขตัวเลขบอกขนาด 145. อธิบายการเปลี่ยนรูปแบบการปรากฏของตัวเลข 151. ฝึกการเปลี่ยนรูปแบบการปรากฏของ บอกขนาด ตัวเลขบอกขนาด 146. อธิบายการควบคุมการปรากฏหรือซ่อนเส้นบอก 152. ฝึกการควบคุมการปรากฏหรือซ่อนเส้น ขนาดในโหมดพาร์ท บอกขนาดในโหมดพาร์ท 147. อธิบายการแปลงเส้นบังคับขนาดให้กลายเป็นเส้น 153. ฝึกการแปลงเส้นบังคับขนาดให้กลายเป็น บอกขนาดด้วย Driven Dimension เส้นบอกขนาดด้วย Driven Dimension 67 154. อธิบายการกาหนดจุดกาเนิด ทิศทางแกน X และ 158. ฝึกการกาหนดจุดกาเนิด ทิศทางแกน X - แกน Y ด้วย Edit Coordinate System และแกน Y ด้วย Edit Coordinate System 155. อธิบายการแสดงระดับความเป็นอิสระของสเกทช์ 159. ฝึกการแสดงระดับความเป็นอิสระของ (Degree of Freedom) สเกทช์(Degree of Freedom) 156. อธิบายการฉายเส้นลงบนระนาบสเกทช์ด้วย Project 160. ฝึกการฉายเส้นลงบนระนาบสเกทช์ด้วย Geometry Project Geometry 157. อธิบายการฉายเส้นลงบนระนาบสเกทช์ด้วย Project 161. ฝึกการฉายเส้นลงบนระนาบสเกทช์ด้วย Cut Edges Project Cut Edges 68 162. อธิบายการเคลื่อนย้ายสเกทช์ไปยังระนาบใหม่ด้วย 165. ฝึกการเคลื่อนย้ายสเกทช์ไปยังระนาบใหม่ - Redefine Sketch ด้วย Redefine Sketch 163. อธิบายการแชร์สเกทช์ไปใช้งานด้วย Share Sketch 166. ฝึกการแชร์สเกทช์ไปใช้งานด้วย Share 164. อธิบายการคัดลอกสเกทช์ไปใช้งานบนระนาบใหม่ Sketch ด้วย Copy 167. ฝึกการคัดลอกสเกทช์ไปใช้งานบนระนาบ ใหม่ด้วย Copy 69 168. อธิบายการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร 169. ฝึกการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร - (Parameters)ของเส้นบังคับขนาด (Parameters)ของเส้นบังคับขนาด 70 170. อธิบายการสร้างฟีเจอร์แบบเพิ่มความหนาด้วย 175. ฝึกการสร้างฟีเจอร์แบบเพิ่มความหนาด้วย - Extrude Extrude 171. อธิบายการสร้างฟีเจอร์แบบหมุนรอบแกนด้วย 176. ฝึกการสร้างฟีเจอร์แบบหมุนรอบแกนด้วย Revolve Revolve 172. อธิบายการสร้างฟีเจอร์แบบเชื่อมต่อหน้า 177. ฝึกการสร้างฟีเจอร์แบบเชื่อมต่อหน้า ตัดสเกทช์ด้วย Loft ตัดสเกทช์ด้วย Loft 173. อธิบายการสร้างฟีเจอร์แบบกวาดไปตามทางเดิน 178. ฝึกการสร้างฟีเจอร์แบบกวาดไปตาม ด้วย Sweep ทางเดินด้วย Sweep 174. อธิบายการสร้างฟีเจอร์แบบครีบด้วย Rib 179. ฝึกการสร้างฟีเจอร์แบบครีบด้วย Rib 13