SlideShare a Scribd company logo
1 of 29
Download to read offline
โครงงานวิชาการศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้
เรื่อง สีจากครีมเทียม
โดย
นาย. เจษฎา อินเต้ ชั้น ม.5/10 เลขที่ 6
นาย. สุรสีห์ จันทนา ชั้น ม.5/10 เลขที่ 16
นาย. คงเดช ลิทา ชั้น ม.5/10 เลขที่ 25
นาย. เทพรัตน์ แน่นหนา ชั้น ม.5/10 เลขที่ 26
นาย. อภิชาติ ดารงค์ไชย ชั้น ม.5/10 เลขที่ 29
ครูที่ปรึกษาโครงงาน
คุณครู ภัทรวดี ภักดี
รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาการศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้
โรงเรียนพนัสพิทยาคาร อาเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี
ภาคเรียนที่ 1/ปีการศึกษา 2557
โครงงานวิชาการศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้
เรื่อง สีจากครีมเทียม
โดย
นาย. เจษฎา อินเต้ ชั้น ม.5/10 เลขที่ 6
นาย. สุรสีห์ จันทนา ชั้น ม.5/10 เลขที่ 16
นาย. คงเดช ลิทา ชั้น ม.5/10 เลขที่ 25
นาย. เทพรัตน์ แน่นหนา ชั้น ม.5/10 เลขที่ 26
นาย. อภิชาติ ดารงค์ไชย ชั้น ม.5/10 เลขที่ 29
ครูที่ปรึกษาโครงงาน
คุณครู ภัทรวดี ภักดี
รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาการศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้
โรงเรียนพนัสพิทยาคาร อาเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี
ภาคเรียนที่ 1/ปีการศึกษา 2557
กโครงงานเรื่อง สีจากครีมเทียม
ชื่อโครงงาน สีจากครีมเทียม
ชื่อผู้จัดทา นาย. เจษฎา อินเต้
นาย. สุรสีห์ จันทนา
นาย. คงเดช ลิทา
นาย. เทพรัตน์ แน่นหนา
นาย. อภิชาติ ดารงค์ไชย
อาจารย์ที่ปรึกษา คุณครู ภัทรวดี ภักดี
คุณครู วัฒนา พุ่มบัว
บทคัดย่อ
โครงงานเล่มนี้เป็นโครงงาน เกี่ยวกับ วิชาการศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ เรื่อง สีจาก
ครีมเทียม ซึ่งโครงงานเล่มนี้เป็นการคิดและสร้างสีขึ้นมาใหม่จากส่วนผสมที่ไม่เป็นประโยชน์
ต่อร่างกาย คือ ครีมเทียม และ น้าตาลทรายขาว เพื่อที่จะนามาสร้างประโยชน์และทดแทนสีที่มีอยู่
แล้วแต่ให้คุณสมบัติที่ใกล้เคียงและยังช่วยลดต้นทุนในการใช้สีที่มีราคาแพง เพื่อให้สอดคล้องกับ
หลักเศรษฐกิจพอเพียงและ เพื่อให้ตรงกับวัตถุประสงค์ที่ได้กล่าวไว้ในโครงงานเล่มนี้นี้ โดยการ
ผลิตและสร้างขึ้นโดยใช้การเปรียบเทียบอัตราส่วนผสมก่อน เพื่อที่จะได้ส่วนผสมที่เหมาะสมและ
พอดีในการผลิตสีในโครงงานนี้ซึ่งผลการเปรียบเทียบที่ได้จะพบว่าการใช้อัตราส่วนผสม ครีม
เทียม : น้าตาลทรายขาว : น้า : สี ในปริมาณอัตราส่วน ( 3 ช้อนชา : 2 ช้อนชา : 2 ช้อนชา :
ช้อนชา ) เป็นอัตราส่วนที่ทาให้เนื้อผิวสีที่ลักษณะดีที่สุด โดยจากผลการทดสอบและเปรียบเทียบ
ลักษณะเนื้อผิวสี กับ สีน้า ปรากฏว่าผลที่ได้ สีจากครีมเทียมที่ได้สร้างขึ้นมีลักษณะเนื้อผิวสีและ
คุณสมบัติคล้ายกับสีจากน้าทุกประการ แต่มีลักษณะบางประการที่แตกต่างกันออกไปคือ การแห้ง
ตัวของเนื้อสี ซึ่งสีน้าจะมีสมบัติ และคุณลักษณะของสีที่แห้งได้เร็วกว่าสีจากครีมเทียม เนื่องจากใน
ส่วนผสมของสีจากครีมเทียมมีสัดส่วนผสมของไขมัน จึงทาให้สีมีคุณสมบัติที่แห้งช้า แต่สีจากครีม
เทียมมีลักษณะและคุณสมบัติที่ให้ความมันเงาได้ดีกว่าสีน้า เพราะว่าสีจากครีมเทียมนั้นมีความมัน
เงามาจากส่วนผสมในครีมเทียมคือ ไขมัน และ คุณสมบัติในตัวของน้าตาลทรายขาว ที่ให้ความมัน
เงาแก่ส่วนผสมรวมถึงทาให้ ส่วนผสมทุกอัตราส่วนรวมเข้ากันได้ง่ายให้เป็นเนื้อเดียว ดังนั้น สีที่ได้
สร้างขึ้นจากครีมเทียมในโครงงานนี้สามารถที่จะนามาใช้และทดแทนสีน้าได้และยังช่วยลดต้นทุน
จากการใช้สีที่มีราคาแพงได้ โดยให้คุณสมบัติที่ใกล้เคียงกัน
ขโครงงานเรื่อง สีจากครีมเทียม
กิตติกรรมประกาศ
โครงงานเรื่องเป็นการสร้างผลิตภัณฑ์สีที่ได้จากส่วนผสมที่ไม่มีคุณประโยชน์ต่อร่างกาย
คือ ครีมเทียม และน้าตาลทรายขาว และเพื่อทดสอบคุณภาพของสีที่ได้จากการผลิตขึ้น และใน
โครงงานนี้ ที่สาเร็จลุล่วงไปด้วยดีก็เพราะได้รับแรงบันดาลใจมาจากคุณครูผู้สอนในรายวิชาศิลปะ
เกี่ยวกับการสอนสีน้าและได้รับการช่วย เหลือจาก พ่อ แม่ และความร่วมมือกันในการแบ่งหน้าที่
กันในทา งานของคณะผู้จัดทาและ ส่วนประกอบที่สาคัญของโครงงานนี้ที่ขาดไม่ได้คือ คุณครูซึ่ง
เป็นผู้ที่ให้คาปรึกษาและให้คาแนะนาตลอดเวลาของการดาเนินงานตามจุดประสงค์ของโครงงานที่
ได้กาหนดไว้
คณะผู้จัดทาจึงกราบขอขอบพระคุณทุกท่านที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับโครงงานเรื่องนี้ที่ให้ทั้ง
ความช่วยเหลือและให้คาแนะนาเกี่ยวกับการแก้ไขปัญหาต่างๆที่เกิดขึ้นในช่วงระยะที่ได้จัดทา
โครงงานจนกระทั่งสิ้นสุดโครงงานและคณะผู้จัดทาหวังว่าโครงงาน เรื่อง สีจากครีมเทียม นี้น่าจะ
เกิดประโยชน์ต่อผู้ที่มีความสนใจและศึกษาในทางด้านสีของวิชาศิลปะ ไม่มากก็น้อยถ้าผิดพลาด
ประการใด คณะผู้จัดทาขออภัยมา ณ ที่นี้
คณะผู้จัดทา
คโครงงานเรื่อง สีจากครีมเทียม
สารบัญ
เรื่อง หน้า
บทคัดย่อ ก
กิตติประกาศ ข
สารบัญ ค - ง
สารบัญตาราง จ
สารบัญรูปภาพ ฉ
บทที่ 1 บทนา 1 - 2
ที่มาและความสาคัญของปัญหา
วัตถุประสงค์ของการศึกษา
สมมติฐานของการศึกษา
ตัวแปรที่ศึกษา
ขอบเขตของการศึกษา
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 3 - 6
ครีมเทียม
น้าตาลทรายขาว
สีผสมอาหาร
บทที่ 3 อุปกรณ์และวิธีการดาเนินการทาโครงงาน 7 - 8
วัสดุอุปกรณ์
วิธีการผลิตสี
บทที่ 4 ผลการทดลองและวิเคราะห์ผล 9 - 10
ผลการทดลองและวิเคราะห์ผล
งโครงงานเรื่อง สีจากครีมเทียม
เรื่อง หน้า
บทที่ 5 สรุป อภิปรายผลการทดลองและข้อเสนอแนะ 11 - 12
สรุปผลการผลิตและเปรียบเทียบคุณภาพสีจากครีมเทียม
อภิปรายผล
ข้อเสนอแนะ
บรรณานุกรม 13
ภาคผนวช 14 - 21
จโครงงานเรื่อง สีจากครีมเทียม
สารบัญตาราง
ตารางที่ หน้า
1. ตารางแสดงผลการหาส่วนผสมที่เหมาะสมในการผลิตสีจากครีมเทียม 9
2. ตารางแสดงผลการทดลองเปรียบเทียบคุณภาพสีจากครีมเทียมที่ผลิตขึ้น
ในอัตราส่วนผสมที่เหมาะสม กับ สีกาแฟ ที่ระบายลงบนพื้นผิวกระดาษ 100 ปอนด์ 10

ฉโครงงานเรื่อง สีจากครีมเทียม
สารบัญรูปภาพ
ภาพที่ หน้า
1. ส่วนผสมของสีจากครีมเทียม 1 ( ครีมเทียม 3 ช้อนชา ) 15
2. ส่วนผสมของสีจากครีมเทียม 2 ( น้าตาล 2 ช้อนชา ) 15
3. ส่วนผสมของสีจากครีมเทียม 3 ( น้า 21/3 ) 16
4. ส่วนผสมของสีจากครีมเทียม 4 ( สีผสมอาหาร 1/3 ) 16
5. ขั้นตอนการทาครีมเทียม 1 18
6. ขั้นตอนการทาครีมเทียม 2 18
7. คณะผู้จัดทา 20
8. ขั้นตอนการทดสอบคุณภาพสีจากครีมเทียมและสีน้า 1 20
9. ขั้นตอนการทดสอบคุณภาพสีจากครีมเทียมและสีน้า 2 21
10. ผลการทดสอบคุณภาพสีจากครีมเทียมและสีน้า 21
1โครงงานเรื่อง สีจากครีมเทียม
บทที่ 1
บทนา
ที่มาและความสาคัญของปัญหา
ครีมเทียม หรือที่เรียกติดปากกันว่า คอฟฟี่เมต ซึ่งในปัจจุบันได้ถูกนามาใช้เป็นส่วนผสมใน
สัดส่วนหนึ่งของเครื่องดื่มประเภทที่ต้องการความหวานไม่มากจากน้าตาล เช่น กาแฟ นมสด และ
อื่นๆ เนื่องจากช่วยเพิ่มรสชาติของเครื่องดื่มนั้นๆให้มีรสชาติที่กลมกล่อมมากขึ้น ซึ่งครีมเทียมนั้น
ได้ทามาจากการนาไขมันไม่อิ่มตัว มาอัดไฮโดรเจนเข้าไปเพื่อทาให้มีการแข็งตัวจนเป็นไขซึ่งจะ
สามารถนามาทาเป็นผงได้ ( รศ.ดร.วิสิฐ จะวะสิต,2535 ) และยังมีอีกส่วนผสมหนึ่งที่ถูกนามาใช้
กันมากใน กาแฟ นมสด และอื่นๆ คือ น้าตาลทรายซึ่งส่วนมากจะนิยมใช้น้าตาลทรายขาวเป็นส่วน
ใหญ่ เพราะมีคุณสมบัติที่มีความละเอียดและขาวใสและยังมีคุณสมบัติทาให้ส่วนผสมอื่นๆเข้ากัน
ได้ดีและยังทาหน้าที่ทาให้เปลือกนอกของ สีผลิตภัณฑ์มีความมันเงาและสะท้อนแสงมากยิ่งขึ้น
( วรพงษ์ พฤกษารักษ์, 2551 ) แต่ส่วนผสมทั้งสองชนิดต่างก็มีคุณสมบัติในตัวที่ต่างกันแต่ใน
ส่วนผสมทั้งสองชนิดนั้นต่างก็มีผลเสียที่ตามมาเหมือนกัน คือ ทาให้ คอลเลสเตอรอล และระดับ
น้าตาลในเลือดสูงขึ้นหากบริโภคเป็นจานวนมากติดต่อกันเป็นเวลานานจนเกินความจาเป็นของ
ร่างกาย ทั้ง ไขมันในครีมเทียม และ น้าตาล ซึ่งอาจก่อให้เกิดความความผิดปกติกับร่างกาย คือ ทา
ให้ร่างกายมีน้าหนักและไขมันส่วนเกินเพิ่มมากขึ้นจนอาจก่อให้เกิดโรคแทรกซ้อนที่ตามมาเป็น
จานวนมากทั้งโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ และอื่นๆ ( เดลินิวส์
,2557 )
เนื่องจากครีมเทียม และน้าตาลทรายขาวมีผลเสียที่มากมายจึงทาให้คณะผู้จัดทาได้เล็งเห็น
ความสาคัญของโครงงานนี้จึงได้คิดที่จะนา ครีมเทียมและน้าตาลทรายขาวมาสร้างประโยชน์ใน
รูปแบบอื่นๆ ซึ่งคณะผู้จัดทาได้ปรึกษาและคิดกันว่าจะนาผลิตภัณฑ์ทั้งสองชนิด มาผลิตและแปร
รูปออกมาให้เป็นสีที่ได้จากการใช้ส่วนผสมของ ครีมเทียมและน้าตาลทรายขาวเป็นหลัก โดยให้สี
ที่ได้ในการผลิตสีขึ้นมาในโครงงานนี้มีคุณสมบัติเหมือนกับสีน้าทุกประการแต่มีคุณสมบัติที่
แตกต่างออกไปคือ ให้ความมันเงา และเพื่อให้ช่วยลดต้นทุนจากการใช้สีที่มีราคาแพงในปัจจุบัน
2โครงงานเรื่อง สีจากครีมเทียม
วัตถุประสงค์ของการศึกษา
1.เพื่อนาผลิตภัณฑ์ที่มีผลกระทบต่อร่างกายหากสะสมอยู่ในร่างกายเป็นจานวนมากมาย
สร้างประโยชน์ในด้านอื่นให้ดีขึ้น และเพื่อให้สอดคล้องกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
2.เพื่อนาครีมเทียมและน้าตาลทรายขาวมาผลิตแปรรูปเป็นสีที่มีลักษณะเนื้อสีเป็นสีน้าแต่มี
ลักษณะเนื้อผิวมีความมันเงา
3.เพื่อหาอัตราส่วนที่เหมาะสมในการผลิตสีจากครีมเทียม
4.เพื่อทดสอบคุณภาพและเปรียบเทียบสีที่มีส่วนผสมจากครีมเทียมและน้าตาลทรายขาว
5.เพื่อลดต้นทุนจากใช้สีที่มีราคาแพงตามท้องตลาดในปัจจุบัน
สมมุติฐานของการศึกษา
ถ้าเนื้อแป้งสามารถนามาผลิตและแปรรูปเป็นสีน้าได้ดังนั้น หากนาครีมเทียมที่มีลักษณะ
เนื้อผิวคล้ายแป้งมา ผลิตและแปรรูปทดแทนเนื้อแป้ ง อาจได้เนื้อสีมีคุณสมบัติใกล้เคียงกัน
ขอบเขตของการศึกษา
เพื่อผลิตและแปรรูปจากผลิตภัณฑ์ครีมเทียมและน้าตาลทรายขาวให้เป็นสีที่มีลักษณะเนื้อ
สีเป็นสีน้าแต่มีลักษณะเนื้อผิวมีความมันเงาโดยใช้วิธีการนาครีมเทียมและน้าตาลทรายขาวมาผสม
ให้เข้ากันในสัดส่วนที่พอเหมาะเพื่อให้ได้สีและลักษณะเนื้อผิวมีความมันเงาตามลักษณะที่กาหนด
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. ได้สีที่มีลักษณะเนื้อสีเป็นสีน้าแต่มีลักษณะเนื้อผิวมีความมันเงา
2. ได้สร้างผลิตภัณฑ์สีมีประโยชน์ต่อผู้ที่มีรายได้น้อยและผู้ที่สนใจ และ ต้องการความ
แปลกใหม่จากสีที่มีความมันเงา
3. นาผลจากการแปรรูปผลิตภัณฑ์ที่ได้มาคิดต่อยอดและอาจพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์สีที่ดียิ่งขึ้น
ในโอกาสและโครงงานต่อไป
3โครงงานเรื่อง สีจากครีมเทียม
บทที่ 2
เอกสารงานที่เกี่ยวข้อง
ครีมเทียม
ครีมเทียม เป็นผลิตภัณฑ์ประเภทอาหารแห้ง (dried food) ทาแห้งด้วยเครื่องทาแห้งแบบ
พ่นฝอย (spray drier) มีลักษณะเป็นผง ช่วยเพิ่มกลิ่นและรสกาแฟให้ชวนดื่มมากขึ้น ซึ่งครีมเทียม
เป็นผลิตภัณฑ์เลียนแบบครีมจากน้านมโคที่ได้รับความนิยมเพิ่มขึ้น ครีมเทียมมีราคาถูก สะดวกใน
การใช้ และเป็นของแห้งทาให้เก็บรักษาไว้ได้นานโดยผลิตมาจากการนาส่วนประกอบไขมันจาก
น้ามันปาล์ม โปรตีนนมที่แยกออกจากน้านมโค น้าตาลทรายและน้า กลับมาผสมรวมกัน โดยต้องมี
ส่วนประกอบอื่นอีก ในการทาส่วนผสมหลักดังกล่าวสามารถรวมเป็นเนื้อเดียวคล้ายคลึงกับครีมแท้
แล้วจึงนาไปทาให้แห้งเป็นผงละเอียดส่วนประกอบของครีมเทียม ซึ่งในครีมเทียมมีส่วนประกอบ
คล้ายครีม จากน้านมโคคือ มีส่วนประกอบหลักเป็นไขมัน โปรตีนและน้าตาล น้านมโคประกอบ
ด้วยไขมันนมร้อยละ 4.1 ซึ่งเป็นไตรกลีเซอไรด์ที่มีกรดไขมันอิ่มตัวสายสั้นๆประมาณร้อยละ 6.9
ของปริมาณไขมันนมทั้งหมด มีโปรตีนนมร้อยละ 3.6 ซึ่งเป็น โปรตีนหลายชนิดผสมรวมกัน โดย
มีโปรตีนเคซีน (casein) เป็นโปรตีนหลักประมาณร้อยละ 80 ของปริมาณโปรตีนนมทั้งหมด ซึ่ง
โปรตีนจะช่วยเสริมไขมันในการทาให้ครีมเทียมมีสีขาวเมื่อกระจายตัวในน้าและให้ความข้นได้เนื้อ
นอกจากนี้ยังให้กลิ่นรสของโปรตีน และมีน้าตาลแล็กโทสซึ่งเป็นน้าตาลตามธรรมชาติที่พบใน
น้านมประมาณร้อยละ 5 ส่วนการบรรจุหีบห่อและการเก็บรักษาครีมเทียม ครีมเทียมเป็นของแห้งที่
ดูดความชื้นแล้วจับตัวเป็นก้อนง่าย จึงต้องบรรจุในภาชนะที่ป้ องกันอากาศและความชื้น ที่นิยมใช้
คือ ขวดแก้ว ถุงอะลูมิเนียมฟอยล์ และถุงกระดาษเคลือบไข ครีมเทียมมีโอกาสเสื่อมเสียจาก
ปฏิกิริยาออกซิเดชันน้ามันทาให้เกิดกลิ่นหืน ปฏิกิริยาออกซิเดชันของโปรตีนทาให้สีคล้า อากาศใน
ภาชนะก่อนเปิดใช้ครั้งแรกมีจากัด ดังนั้นปัญหาของปฏิกิริยาออกซิเดชันในช่วงนี้จึงน้อย แต่ควร
หลีกเลี่ยงสภาวะที่มีอุณหภูมิสูง เพราะอุณหภูมิช่วยเร่งปฏิกิริยาออกซิเดชัน และเมื่อเปิดใช้แล้วควร
ปิดผนึกให้สนิท คุณลักษณะของผลิตภัณฑ์
4โครงงานเรื่อง สีจากครีมเทียม
ส่วนผสมหลัก
น้าเชื่อมกลูโคส (glucose syrup)
ไขมันปาล์ม
โซเดียมเคซิเนต
สีผสมอาหาร
แต่งกลิ่นสังเคราะห์ (flavoring agent)
สารป้ องกันการเกาะตัว (bulking agent)
ประโยชน์ของครีมเทียม
1.) ทาให้กาแฟมีรสชาติเข้มข้นขึ้น
2.) ละลายทันที
3.) เพิ่มความ หอม มัน
4.) ทาให้สีดูน่ารับประทานมากขึ้น
โทษของครีมเทียม
1.) ทาให้น้าหนักและไขมันส่วนเกินเพิ่มขึ้น
2.) ภาวะการทางานของตับผิดปกติ
3.) เสี่ยงต่อการเป็นโรคเบาหวาน
4.) เสี่ยงต่อการเป็นโรคความดันโลหิตสูง
5.) เสี่ยงต่อการเป็นโรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด
6.) คอลเลสเตอรอลสูง
5โครงงานเรื่อง สีจากครีมเทียม
น้าตาลทราย
น้าตาลทรายมีชื่อทางเคมีว่าซูโคส (Sucrose) ซึ่งเป็นน้าตาลโมเลกุลคู่ ระหว่าง ฟรุกโตส
รวมกับกลูโคส นิยมนามาทาอาหารและเครื่องดื่มแทบทุกชนิดและนิยมใช้ในทุกประเทศ น้าตาล
ทรายนอกจากจะได้จากอ้อยแล้ง ยังสามารถผลิตมาจากพืชชนิดอื่นได้ด้วย เช่น ต้นบีท อินทผลัม
ข้าวฟ่างและต้นชูการ์เมเปิล เป็นต้น น้าตาลทรายมีให้เลือกใช้ทั้งแบบน้าตาลทรายแดงและน้าตาล
ทรายขาว น้าตาลทรายแดงเกิดจากน้าอ้อยที่ไม่ผ่านการฟอกสี มีรสหวานตามธรรมชาติ ในขณะที่
น้าตาลทรายขาวจะผ่านการฟอกสีให้มีสีขาวอ่อนๆ น่ารับประทานมากขึ้น
กระบวนการผลิตน้าตาลทราย
โดยทั่วไปการผลิตน้าตาลทรายมี 5 ขั้นตอนด้วยกันคือ
1. กระบวนการสกัดน้าอ้อย (Juice Extraction)
2. การทาความสะอาดหรือทาใสน้าอ้อย (Juice Purification)
3. การต้มน้าอ้อย (Evaporation)
4. การเคี่ยว (Crystallization)
5. การปั่นแยกผลึกน้าตาล (Centrifugaling)
เมื่อครบ 5 ขั้นตอนข้างต้นแล้วจะได้น้าตาลดิบออกมา จะต้องนาน้าตาลดิบดังกล่าวมาผ่าน
กระบวนการเพื่อให้ได้น้าตาลทรายขาวดังนี้
1. การปั่นละลาย (Affinated Centrifugaling)
2. การทาความสะอาดและฟอกสี (Clarification)
3. การเคี่ยว (Crystallization)
4. การปั่นแยกผลึกน้าตาล (Centrifugaling)
5. การอบ (Drying)
เมื่อจบกระบวนการอบแห้งแล้วก็สามารถบรรจุกระสอบเพื่อจาหน่ายได้ทันทีจะเห็นว่า
การผลิตน้าตายทรายมีขั้นตอนที่ซับซ้อนและใช้เวลาพอสมควร
6โครงงานเรื่อง สีจากครีมเทียม
สรรพคุณของน้าตาล
1. น้าตาลทรายแดงมีคุณสมบัติร้อนและมีรสหวาน มีสรรพคุณช่วยบารุงกาลัง
2. ช่วยทาให้เลือดไหลเวียนได้สะดวกมากยิ่งขึ้น (น้าตาลทรายแดง)
3. น้าตาลทรายขาวและน้าตาลทรายกรวดมีสรรพคุณช่วยดับร้อน ถอนพิษ แก้อาการอักเสบ
4. ช่วยรักษาปากเป็นแผล มีอาการเจ็บคอ ไอมีเสมหะเหลือง
5. น้าเชื่อมที่ได้จากน้าตาลทรายขาว สามารถใช้เป็นยารักษาบาดแผลเน่าเปื่อยได้เพราะน้าเชื่อม
สามารถเปลี่ยนสภาพกรดและด่างบริเวณปากแผลได้ทาให้เซลล์ผิวหนังถูกกระตุ้นกาไหลเวียนของ
โลหิตทางานดีขึ้น และยังเป็นอาหารที่ถูกนาไปใช้หล่อเลี้ยงผิวหนังบริเวณนั้นอีกด้วย ทาให้เชื้อโรค
ไม่สามารถเจริญเติบโตได้และบาดแผลก็จะหายเร็วขึ้น
6. ช่วยแก้อาการปวด
7. สาหรับสตรีที่อยู่ในระหว่างมีประจาเดือนถูกความเย็น มีอาการปวดประจาเดือนปวดท้อง
น้อยหรือปวดเอว ประจาเดือนเป็นลิ่ม การดื่มน้าผสมกับน้าตาลทรายแดงอุ่นๆ 1 แก้ว ก็จะทาให้
สบายขึ้นได้
สีผสมอาหาร
คือสีที่ใช้ผสมในอาหารเพื่อเพิ่มความดึงดูดใจแต่งแต้มสีสันและทาให้อาหารน่า
รับประทานมากยิ่งขึ้น การใช้สีผสมอาหารช่วยให้การผลิตอาหารหรือผลิตภัณฑ์อาหารเป็นที่พอใจ
ของผู้บริโภค และเป็นการสร้างจุดเด่นของผลิตภัณฑ์อาหารอีกด้วย
7โครงงานเรื่อง สีจากครีมเทียม
บทที่ 3
อุปกรณ์และวิธีการดาเนินการทาโครงงาน
วัสดุ อุปกรณ์
1. ครีมเทียม
2. น้าตาลทรายขาว
3. สีผสมอาหาร
4. หม้อนึ่ง
5. กระปุกแก้วขนาดเล็ก
6. ช้อน
7. แก้วนาความร้อนขนาดเล็ก
วิธีการผลิตสี
การผลิตสีจากครีมเทียมในโครงงานมีลักษณะขั้นตอนดังนี้
ขั้นตอนที่ 1 การเตรียมส่วนผสมเพื่อเปรียบเทียบอัตราส่วนที่เหมาะสมในการผลิตสีจาก
ครีมเทียมและผลิตสีจากครีมเทียม
ขั้นตอนที่ 2 การหาอัตราส่วนที่เหมาะสมในการผลิตสีจากครีมเทียม
ขั้นตอนที่ 3 การทดสอบคุณภาพและเปรียบเทียบสีที่ได้จากผลิตขึ้นในสัดส่วนที่ต่างกัน
8โครงงานเรื่อง สีจากครีมเทียม
ขั้นตอนที่ 1 การเตรียมส่วนผสมและผลิตสีจากครีมเทียม
วิธีทา
1.1 นาน้าตาทรายขาวมาเทรวม กับน้าสะอาดในแก้วที่นาความร้อนในปริมาณ ( น้าตาล
ทรายขาว 2 ช้อนชา ต่อน้าสะอาด 2 ช้อนชา )
1.2 จากนั้นนาครีมเทียมมาเทลงในแก้วเดียวกันในปริมาณ 4 ช้อนชา
1.3 นาสีผสมอาหารสีที่ต้องการมาเทใส่ในแก้วเดิมในปริมาณ ช้อนชา
1.4 นาหม้อนึ่งขนาดเล็กมาตั้งไฟในปริมาณไฟที่อ่อนๆ จากนั้นนาแก้วที่ใส่ส่วนผสมไว้มา
ตั้งในส่วนถาดบนของหม้อนึ่ง
1.5 ปิดฝาหม้อทิ้งไว้ 10 นาทีแล้วจึงเปิดฝาหม้อใช้ช้อนคนส่วนผสมให้เข้ากัน แล้วจึงปิดฝา
หม้อทิ้งไว้อีก 5 นาที แล้วจึงใช้ช้อนคนส่วนผสมในแก้วจนให้มีลักษณะเนื้อผิวเป็นเนื้อเดียวกัน
แล้วจึงค่อยปิดไฟพักให้เย็น
1.6 จากนั้นนาสีที่ได้มาใส่กระปุกแก้วขนาดเล็กที่ได้จัดเตรียมไว้
ขั้นตอนที่ 2 การหาอัตราส่วนที่เหมาะสมในการผลิตสีจากครีมเทียม
วิธีทา
ทาการผลิตสีเหมือนกับวิธีการทาของขั้นตอนที่ 1 แต่เปลี่ยนแปลงปริมาณส่วนผสมของ
ครีมเทียมจาก 4 ช้อนชาเป็น 3 ช้อนชา โดยมีอัตราส่วนผสมของน้าตาลทรายขาวกับน้าและสีผสม
อาหารคงอยู่ในอัตราส่วนปริมาณเดิม
ขั้นตอนที่ 3 การทดสอบคุณภาพและเปรียบเทียบสีที่ได้จากผลิตขึ้นในสัดส่วนที่ต่างกัน
วิธีทา
นากระดาษ 100 ปอนด์ขนาด A4 มาแล้วจึงวาดรูปช่องตารางจานวน 3 ช่องจากนั้นระบาย
สีที่ได้ในแต่ละสัดส่วนลงในช่องตารางที่วาดไว้ในกระดาษ ทิ้งไว้30 นาที แล้วจึงบันทึกผลที่ได้
จากการทดลอง
9โครงงานเรื่อง สีจากครีมเทียม
บทที่ 4
ผลการทดลองและวิเคราะห์ผล
จากการผลิตสีจากครีมเทียม ในโครงงานนี้โดยการใช้วิธีการนาเอาครีมเทียมและน้าตาล
ทรายขาวมาผสมให้เข้ากันในสัดส่วนที่พอเหมาะเพื่อให้ได้สีที่มีลักษณะเนื้อสีและลักษณะเนื้อผิวมี
คุณสมบัติคล้ายสีน้าแต่มีคุณสมบัติที่แตกต่างออกไปคือ ความมันเงา
ตอนที่ 1 จากการลงมือผลิตสีจากครีมเทียมในอัตราส่วนของครีมเทียมที่ต่างกันได้ผลดังนี้
ตารางที่ 1 แสดงผลการหาส่วนผสมที่เหมาะสมในการผลิตสีจากครีมเทียม
ส่วน
ผสม
ที่
อัตราส่วนของ
ครีมเทียม : น้าตาล: น้า: สี
( ช้อนชา )
ลักษณะเนื้อสี
ความมันเงา
จากสี
ความเข้มของสี
ด้าน มันเงา จาง เข้ม
1 4 : 2 : 2 :
มีลักษณะเนื้อสีข้น
เหนียวมากเกินไป
/ /
2 3 : 2 : 2 :
มีลักษณะเนื้อสี
เหลวและข้น
พอเหมาะ
/ /
3 2 : 2 : 2 :
มีลักษณะเนื้อสี
เหลวข้น
/ /
จากตารางแสดงผลการหาส่วนผสมที่เหมาะสมในการผลิตสีจากครีมเทียมสรุปได้ว่าการ
ใช้ส่วนผสม 2 เป็นอัตราส่วนที่เหมาะจะนามาผลิตและสร้างสีขึ้นมาใหม่จาก ครีมเทียมและน้าตาล
ทรายขาวได้ดีที่สุด เนื่องจากมีลักษณะเนื้อสีเหลวและข้นในอัตราส่วนที่พอเหมาะรวมถึงมีความมัน
เงาและสีที่เข้มในสัดส่วนที่พอดีซึ่งมีคุณสมบัติลักษณะเนื้อสีตรงตามจุดประสงค์หลักของโครงงาน
เล่มนี้
10โครงงานเรื่อง สีจากครีมเทียม
ตอนที่ 2 จากการทดลองระบายสีจากครีมเทียม และสีน้าลงบนแผ่นกระดาษ 100 ปอนด์
ตารางที่ 2 แสดงผลการทดลองเปรียบเทียบคุณภาพสีจากครีมเทียมที่ผลิตขึ้นในอัตราส่วนผสมที่เหมาะสม กับ สี
น้า
ชนิดของสี
ลักษณะเนื้อสีและการระบายเมื่อถูกระบายลงบนกระดาษ 100 ปอนด์
ความยากง่ายใน
การระบายสี
ความเข้มของสี
คุณภาพการยึด
ติดเนื้อกระดาษ
การแห้งของเนื้อ
สี
ลักษณะเนื้อผิวสี ลักษณะความมัน
เงาของเนื้อสี
ระบายง่าย
ไม่ข้นเหนียว
ระบายยาก
ข้นเหนียว
สีสดเข้ม
สีซีดจาง
เกาะติดดี
เหาะติดไม่ดี
แห้งเร็ว
แห้งช้า
ผิวเรียบเนียน
ผิวขรุขระ
เนื้อผิวมันเงา
เนื้อผิวไม่มันเงา
สีจากครีมเทียม / / / / / /
สีน้า / / / / / /
จากตารางแสดงผลการทดลองเปรียบเทียบคุณภาพสีจากครีมเทียมที่ผลิตขึ้นในอัตรา
ส่วนผสมที่เหมาะสม กับ สีน้า ที่ระบายลงบนพื้นผิวกระดาษ 100 ปอนด์ สรุปได้ว่า สีจากครีมเทียม
มีลักษณะเนื้อผิวสีคล้ายกับสีน้าทุกลักษณะทั้งความยากง่ายในการระบายสี ความเข้มของสี คุณภาพ
การยึดติดเนื้อกระดาษ รวมถึงลักษณะของสีผิว แต่มีลักษณะบางประการที่แตกต่างกันออกไปคือ
การแห้งตัวของเนื้อสี ซึ่งสีน้าจะมีสมบัติ และคุณลักษณะของสีที่แห้งได้เร็วกว่าสีจากครีมเทียม และ
ยังมีลักษณะอีกข้อที่แต่ต่างกันออกไปจากตารางทดลองคุณภาพสีคือ ความมันเงาของเนื้อสี ซึ่ง
สีจากครีมเทียมจะมีลักษณะและคุณสมบัติที่ให้ความมันเงาแก่เนื้อสีได้ดีกว่าสีน้า ดังนั้น สีจากครีม
เทียมสามารถที่จะนามาใช้และทดแทนสีน้า ได้โดยมีคุณภาพและลักษณะผิวสีที่มีความเหมือนและ
คล้ายเคียงกัน
11โครงงานเรื่อง สีจากครีมเทียม
บทที่ 5
สรุป อภิปรายผลการทดลองและข้อเสนอแนะ
สรุปผลการผลิตและเปรียบเทียบคุณภาพสีจากครีมเทียม
การศึกษาการผลิตและเปรียบเทียบส่วนผสมที่เหมาะสมในการผลิตสีจากครีมเทียมใน
โครงงานนี้ พบว่า อัตราส่วน ครีมเทียม : น้าตาลทรายขาว : น้า : สี ในปริมาณอัตราส่วน ( 3 ช้อนชา
: 2 ช้อนชา : 2 ช้อนชา : ช้อนชา ตามลาดับ ) เป็นอัตราส่วนผสมที่มีความเหมาะสมมากที่จะ
นามาใช้เป็นอัตราส่วนผสมของสีจากครีมเทียม ซึ่งจะทาให้ได้สีที่มีลักษณะเหลวและข้นใน
อัตราส่วนที่พอเหมาะรวมถึงมีความมันเงาและสีที่เข้ม และพอนา สีที่ผลิตขึ้นมาทดลองระบายลง
บนกระดาษ 100 ปอนด์เพื่อเปรียบเทียบคุณภาพสีกับสีน้า พบว่าลักษณะการระบายสี รวมถึง
คุณสมบัติเปรียบเทียบสีจากตารางเห็นได้ว่ามีคุณสมบัติที่ใกล้เคียงกับสีน้าทุกประการ แต่มีลักษณะ
บางประการที่แตกต่างกันออกไปคือ การแห้งตัวของเนื้อสี ซึ่งสีน้าจะมีสมบัติ และคุณลักษณะของ
สีที่แห้งได้เร็วกว่าสีจากครีมเทียม และยังมีลักษณะอีกข้อที่แต่ต่างกันออกไปจากตารางทดลอง
คุณภาพสีคือ ความมันเงาของเนื้อสี ซึ่งสีจากครีมเทียมจะมีลักษณะและคุณสมบัติที่ให้ความมันเงา
แก่เนื้อสีได้ดีกว่าสีน้า ดั้งนั้นจะเห็นได้ว่า สีจากครีมเทียมสามารถที่จะนามาใช้และทดแทนสีน้าได้
โดยให้คุณสมบัติสีที่มีความใกล้เคียงกัน
อภิปรายผล
จากการศึกษาการผลิตและเปรียบเทียบส่วนผสมสีในโครงงานนี้ พบว่า สีจากครีมเทียมมี
คุณสมบัติใกล้เคียงกับสีน้าทุกประการ แต่มีลักษณะบางประการที่แตกต่างกันออกไปคือ การแห้ง
ตัวของเนื้อสี ซึ่งสีน้าจะมีสมบัติ และคุณลักษณะของสีที่แห้งได้เร็วกว่าสีจากครีมเทียม เนื่องจากใน
ส่วนผสมของสีจากครีมเทียมมีสัดส่วนผสมของไขมัน จึงทาให้สีมีคุณสมบัติที่แห้งช้า แต่สีจากครีม
เทียมมีลักษณะและคุณสมบัติที่ให้ความมันเงาได้ดีกว่าสีน้า เพราะว่าสีจากครีมเทียมนั้นมีความมัน
เงามาจากส่วนผสมในครีมเทียมคือ ไขมัน และ คุณสมบัติในตัวของน้าตาลทรายขาว ที่ให้ความมัน
เงาแก่ส่วนผสมรวมถึงทาให้ ส่วนผสมทุกอัตราส่วนรวมเข้ากันได้ง่ายให้เป็นเนื้อเดียว ดังนั้น สีจาก
ครีมเทียมสามารถที่จะนามาใช้และทดแทนสีจากกาแฟได้และยังอาจจะช่วยลดต้นทุนจากการใช้สีที่
มีราคาแพงได้ โดยให้คุณสมบัติที่ใกล้เคียงกัน
12โครงงานเรื่อง สีจากครีมเทียม
ข้อเสนอแนะ
1. การนาสีจากครีมเทียมไปใช้หากเป็นไปได้ควรที่จะผสมนาร้อนก่อนในอัตราส่วน
สีจากครีมเทียม : น้าร้อน ในปริมาณ ( 5 : 1 ตามลาดับ )
2. เพื่อให้ได้ที่เข้มควรที่จะผสมสีผสมอาหารให้มากขึ้นจาก ช้อนชา เป็น ช้อนชา
3. เนื่องจากสีจากครีมเทียมมีส่วนผสมของน้าตาลจึงทาให้เมื่อใช้และระบายลงบนพื้นผิว
กระดาษแล้วหากนาวางไว้ในที่ต่าบนพื้น อาจจะมดแมลงขึ้นในผลงานหากเป็นไปได้ ควรที่จะผสม
ผงผ้องกันและกาจัดแมลงมด ( ยี่ห้อผงอีร่าพลัส ) ในสัดส่วน ช้อนชา
4. หลังจากใช้สีจากครีมเทียมระบายลงในผลงานแล้วควรที่จะใช้แล๊คเกอร์พ่นทับลงใน
ผลงานเพื่อทาให้สีแห้งและแข็งตัวได้เร็วขึ้น
13โครงงานเรื่อง สีจากครีมเทียม
บรรณานุกรม
“กระบวนการผลิตน้าตาลทราย.” [online]. เข้าถึงได้จาก:http://www.thaisugarmillers.com/tsmc-
02-02.html
“ครีมเทียมในกาแฟ.” [online]. เข้าถึงได้จาก:http://www.thaibio.com/index.php?route=news/
news&news_id=18
ฟรินน์ดอทคอม. “น้าตาล (Sugar) คือ.” [online]. เข้าถึงได้จาก:http://frynn.com/%E0%B8%
99%E0%B9%89%E0%B8%B3%E0%B8%95%E0%B8%B2%E0%B8%A5/
ศาสตราจารย์เกียรติคุณดร.นิธิยา รัตนาปนนท์ และผศ.ดร.พิมพ์เพ็ญ พรเฉลิมพงศ์. “ครีมเทียม/
ครีมเทียม.” [online]. เข้าถึงได้จาก:http://www.foodnetworksolution.com/wiki/word/
3636/%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8
%97% E0 %B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%A1-
%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8% B5%E0 %B8 %A1%E0%B9%
80%E0%B8%97 %E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%A1
ศาสตราจารย์เกียรติคุณดร.นิธิยา รัตนาปนนท์ และผศ.ดร.พิมพ์เพ็ญ พรเฉลิมพงศ์. “Food color /
สีผสมอาหาร.” [online]. เข้าถึงได้จาก:http://www.foodnetworksolution.com/wiki/word/
2950/food-color-%E0%B8%AA%E0%B8%B5%E0%B8%9C%E0% B8%AA%E0
%B8%A1% E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%A3
ภาคผนวก
( ส่วนผสมของสีจากครีมเทียม )
15โครงงานเรื่อง สีจากครีมเทียม
ส่วนผสมของสีจากครีมเทียม 1 ( ครีมเทียม 3 ช้อนชา )
ส่วนผสมของสีจากครีมเทียม 2 ( น้าตาล 2 ช้อนชา )
16โครงงานเรื่อง สีจากครีมเทียม
ส่วนผสมของสีจากครีมเทียม 3 ( น้า 2 )
ส่วนผสมของสีจากครีมเทียม 4 ( สีผสมอาหาร )
ภาคผนวก
( ขั้นตอนการทาสีจากครีมเทียม )
18โครงงานเรื่อง สีจากครีมเทียม
ขันตอนการท้าครีมเทียม 1
ขันตอนการท้าครีมเทียม 2
ภาคผนวก
( ขั้นตอนการเปรียบเทียบสีจากครีมเทียม )
20โครงงานเรื่อง สีจากครีมเทียม
คณะผู้จัดท้า
ขันตอนการทดสอบคุณภาพสีจากครีมเทียมและสีน้า 1
21โครงงานเรื่อง สีจากครีมเทียม
ขันตอนการทดสอบคุณภาพสีจากครีมเทียมและสีน้า 2
ผลการทดสอบคุณภาพสีจากครีมเทียมและสีน้า

More Related Content

Featured

Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Kurio // The Social Media Age(ncy)
 
Good Stuff Happens in 1:1 Meetings: Why you need them and how to do them well
Good Stuff Happens in 1:1 Meetings: Why you need them and how to do them wellGood Stuff Happens in 1:1 Meetings: Why you need them and how to do them well
Good Stuff Happens in 1:1 Meetings: Why you need them and how to do them well
Saba Software
 

Featured (20)

Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
 
How to have difficult conversations
How to have difficult conversations How to have difficult conversations
How to have difficult conversations
 
Introduction to Data Science
Introduction to Data ScienceIntroduction to Data Science
Introduction to Data Science
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best Practices
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project management
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
 
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
 
12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work
 
ChatGPT webinar slides
ChatGPT webinar slidesChatGPT webinar slides
ChatGPT webinar slides
 
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike RoutesMore than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
 
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
 
Barbie - Brand Strategy Presentation
Barbie - Brand Strategy PresentationBarbie - Brand Strategy Presentation
Barbie - Brand Strategy Presentation
 
Good Stuff Happens in 1:1 Meetings: Why you need them and how to do them well
Good Stuff Happens in 1:1 Meetings: Why you need them and how to do them wellGood Stuff Happens in 1:1 Meetings: Why you need them and how to do them well
Good Stuff Happens in 1:1 Meetings: Why you need them and how to do them well
 

สีจากครีมเทียม

  • 1. โครงงานวิชาการศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ เรื่อง สีจากครีมเทียม โดย นาย. เจษฎา อินเต้ ชั้น ม.5/10 เลขที่ 6 นาย. สุรสีห์ จันทนา ชั้น ม.5/10 เลขที่ 16 นาย. คงเดช ลิทา ชั้น ม.5/10 เลขที่ 25 นาย. เทพรัตน์ แน่นหนา ชั้น ม.5/10 เลขที่ 26 นาย. อภิชาติ ดารงค์ไชย ชั้น ม.5/10 เลขที่ 29 ครูที่ปรึกษาโครงงาน คุณครู ภัทรวดี ภักดี รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาการศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ โรงเรียนพนัสพิทยาคาร อาเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี ภาคเรียนที่ 1/ปีการศึกษา 2557
  • 2. โครงงานวิชาการศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ เรื่อง สีจากครีมเทียม โดย นาย. เจษฎา อินเต้ ชั้น ม.5/10 เลขที่ 6 นาย. สุรสีห์ จันทนา ชั้น ม.5/10 เลขที่ 16 นาย. คงเดช ลิทา ชั้น ม.5/10 เลขที่ 25 นาย. เทพรัตน์ แน่นหนา ชั้น ม.5/10 เลขที่ 26 นาย. อภิชาติ ดารงค์ไชย ชั้น ม.5/10 เลขที่ 29 ครูที่ปรึกษาโครงงาน คุณครู ภัทรวดี ภักดี รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาการศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ โรงเรียนพนัสพิทยาคาร อาเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี ภาคเรียนที่ 1/ปีการศึกษา 2557
  • 3. กโครงงานเรื่อง สีจากครีมเทียม ชื่อโครงงาน สีจากครีมเทียม ชื่อผู้จัดทา นาย. เจษฎา อินเต้ นาย. สุรสีห์ จันทนา นาย. คงเดช ลิทา นาย. เทพรัตน์ แน่นหนา นาย. อภิชาติ ดารงค์ไชย อาจารย์ที่ปรึกษา คุณครู ภัทรวดี ภักดี คุณครู วัฒนา พุ่มบัว บทคัดย่อ โครงงานเล่มนี้เป็นโครงงาน เกี่ยวกับ วิชาการศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ เรื่อง สีจาก ครีมเทียม ซึ่งโครงงานเล่มนี้เป็นการคิดและสร้างสีขึ้นมาใหม่จากส่วนผสมที่ไม่เป็นประโยชน์ ต่อร่างกาย คือ ครีมเทียม และ น้าตาลทรายขาว เพื่อที่จะนามาสร้างประโยชน์และทดแทนสีที่มีอยู่ แล้วแต่ให้คุณสมบัติที่ใกล้เคียงและยังช่วยลดต้นทุนในการใช้สีที่มีราคาแพง เพื่อให้สอดคล้องกับ หลักเศรษฐกิจพอเพียงและ เพื่อให้ตรงกับวัตถุประสงค์ที่ได้กล่าวไว้ในโครงงานเล่มนี้นี้ โดยการ ผลิตและสร้างขึ้นโดยใช้การเปรียบเทียบอัตราส่วนผสมก่อน เพื่อที่จะได้ส่วนผสมที่เหมาะสมและ พอดีในการผลิตสีในโครงงานนี้ซึ่งผลการเปรียบเทียบที่ได้จะพบว่าการใช้อัตราส่วนผสม ครีม เทียม : น้าตาลทรายขาว : น้า : สี ในปริมาณอัตราส่วน ( 3 ช้อนชา : 2 ช้อนชา : 2 ช้อนชา : ช้อนชา ) เป็นอัตราส่วนที่ทาให้เนื้อผิวสีที่ลักษณะดีที่สุด โดยจากผลการทดสอบและเปรียบเทียบ ลักษณะเนื้อผิวสี กับ สีน้า ปรากฏว่าผลที่ได้ สีจากครีมเทียมที่ได้สร้างขึ้นมีลักษณะเนื้อผิวสีและ คุณสมบัติคล้ายกับสีจากน้าทุกประการ แต่มีลักษณะบางประการที่แตกต่างกันออกไปคือ การแห้ง ตัวของเนื้อสี ซึ่งสีน้าจะมีสมบัติ และคุณลักษณะของสีที่แห้งได้เร็วกว่าสีจากครีมเทียม เนื่องจากใน ส่วนผสมของสีจากครีมเทียมมีสัดส่วนผสมของไขมัน จึงทาให้สีมีคุณสมบัติที่แห้งช้า แต่สีจากครีม เทียมมีลักษณะและคุณสมบัติที่ให้ความมันเงาได้ดีกว่าสีน้า เพราะว่าสีจากครีมเทียมนั้นมีความมัน เงามาจากส่วนผสมในครีมเทียมคือ ไขมัน และ คุณสมบัติในตัวของน้าตาลทรายขาว ที่ให้ความมัน เงาแก่ส่วนผสมรวมถึงทาให้ ส่วนผสมทุกอัตราส่วนรวมเข้ากันได้ง่ายให้เป็นเนื้อเดียว ดังนั้น สีที่ได้ สร้างขึ้นจากครีมเทียมในโครงงานนี้สามารถที่จะนามาใช้และทดแทนสีน้าได้และยังช่วยลดต้นทุน จากการใช้สีที่มีราคาแพงได้ โดยให้คุณสมบัติที่ใกล้เคียงกัน
  • 4. ขโครงงานเรื่อง สีจากครีมเทียม กิตติกรรมประกาศ โครงงานเรื่องเป็นการสร้างผลิตภัณฑ์สีที่ได้จากส่วนผสมที่ไม่มีคุณประโยชน์ต่อร่างกาย คือ ครีมเทียม และน้าตาลทรายขาว และเพื่อทดสอบคุณภาพของสีที่ได้จากการผลิตขึ้น และใน โครงงานนี้ ที่สาเร็จลุล่วงไปด้วยดีก็เพราะได้รับแรงบันดาลใจมาจากคุณครูผู้สอนในรายวิชาศิลปะ เกี่ยวกับการสอนสีน้าและได้รับการช่วย เหลือจาก พ่อ แม่ และความร่วมมือกันในการแบ่งหน้าที่ กันในทา งานของคณะผู้จัดทาและ ส่วนประกอบที่สาคัญของโครงงานนี้ที่ขาดไม่ได้คือ คุณครูซึ่ง เป็นผู้ที่ให้คาปรึกษาและให้คาแนะนาตลอดเวลาของการดาเนินงานตามจุดประสงค์ของโครงงานที่ ได้กาหนดไว้ คณะผู้จัดทาจึงกราบขอขอบพระคุณทุกท่านที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับโครงงานเรื่องนี้ที่ให้ทั้ง ความช่วยเหลือและให้คาแนะนาเกี่ยวกับการแก้ไขปัญหาต่างๆที่เกิดขึ้นในช่วงระยะที่ได้จัดทา โครงงานจนกระทั่งสิ้นสุดโครงงานและคณะผู้จัดทาหวังว่าโครงงาน เรื่อง สีจากครีมเทียม นี้น่าจะ เกิดประโยชน์ต่อผู้ที่มีความสนใจและศึกษาในทางด้านสีของวิชาศิลปะ ไม่มากก็น้อยถ้าผิดพลาด ประการใด คณะผู้จัดทาขออภัยมา ณ ที่นี้ คณะผู้จัดทา
  • 5. คโครงงานเรื่อง สีจากครีมเทียม สารบัญ เรื่อง หน้า บทคัดย่อ ก กิตติประกาศ ข สารบัญ ค - ง สารบัญตาราง จ สารบัญรูปภาพ ฉ บทที่ 1 บทนา 1 - 2 ที่มาและความสาคัญของปัญหา วัตถุประสงค์ของการศึกษา สมมติฐานของการศึกษา ตัวแปรที่ศึกษา ขอบเขตของการศึกษา ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 3 - 6 ครีมเทียม น้าตาลทรายขาว สีผสมอาหาร บทที่ 3 อุปกรณ์และวิธีการดาเนินการทาโครงงาน 7 - 8 วัสดุอุปกรณ์ วิธีการผลิตสี บทที่ 4 ผลการทดลองและวิเคราะห์ผล 9 - 10 ผลการทดลองและวิเคราะห์ผล
  • 6. งโครงงานเรื่อง สีจากครีมเทียม เรื่อง หน้า บทที่ 5 สรุป อภิปรายผลการทดลองและข้อเสนอแนะ 11 - 12 สรุปผลการผลิตและเปรียบเทียบคุณภาพสีจากครีมเทียม อภิปรายผล ข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม 13 ภาคผนวช 14 - 21
  • 7. จโครงงานเรื่อง สีจากครีมเทียม สารบัญตาราง ตารางที่ หน้า 1. ตารางแสดงผลการหาส่วนผสมที่เหมาะสมในการผลิตสีจากครีมเทียม 9 2. ตารางแสดงผลการทดลองเปรียบเทียบคุณภาพสีจากครีมเทียมที่ผลิตขึ้น ในอัตราส่วนผสมที่เหมาะสม กับ สีกาแฟ ที่ระบายลงบนพื้นผิวกระดาษ 100 ปอนด์ 10 
  • 8. ฉโครงงานเรื่อง สีจากครีมเทียม สารบัญรูปภาพ ภาพที่ หน้า 1. ส่วนผสมของสีจากครีมเทียม 1 ( ครีมเทียม 3 ช้อนชา ) 15 2. ส่วนผสมของสีจากครีมเทียม 2 ( น้าตาล 2 ช้อนชา ) 15 3. ส่วนผสมของสีจากครีมเทียม 3 ( น้า 21/3 ) 16 4. ส่วนผสมของสีจากครีมเทียม 4 ( สีผสมอาหาร 1/3 ) 16 5. ขั้นตอนการทาครีมเทียม 1 18 6. ขั้นตอนการทาครีมเทียม 2 18 7. คณะผู้จัดทา 20 8. ขั้นตอนการทดสอบคุณภาพสีจากครีมเทียมและสีน้า 1 20 9. ขั้นตอนการทดสอบคุณภาพสีจากครีมเทียมและสีน้า 2 21 10. ผลการทดสอบคุณภาพสีจากครีมเทียมและสีน้า 21
  • 9. 1โครงงานเรื่อง สีจากครีมเทียม บทที่ 1 บทนา ที่มาและความสาคัญของปัญหา ครีมเทียม หรือที่เรียกติดปากกันว่า คอฟฟี่เมต ซึ่งในปัจจุบันได้ถูกนามาใช้เป็นส่วนผสมใน สัดส่วนหนึ่งของเครื่องดื่มประเภทที่ต้องการความหวานไม่มากจากน้าตาล เช่น กาแฟ นมสด และ อื่นๆ เนื่องจากช่วยเพิ่มรสชาติของเครื่องดื่มนั้นๆให้มีรสชาติที่กลมกล่อมมากขึ้น ซึ่งครีมเทียมนั้น ได้ทามาจากการนาไขมันไม่อิ่มตัว มาอัดไฮโดรเจนเข้าไปเพื่อทาให้มีการแข็งตัวจนเป็นไขซึ่งจะ สามารถนามาทาเป็นผงได้ ( รศ.ดร.วิสิฐ จะวะสิต,2535 ) และยังมีอีกส่วนผสมหนึ่งที่ถูกนามาใช้ กันมากใน กาแฟ นมสด และอื่นๆ คือ น้าตาลทรายซึ่งส่วนมากจะนิยมใช้น้าตาลทรายขาวเป็นส่วน ใหญ่ เพราะมีคุณสมบัติที่มีความละเอียดและขาวใสและยังมีคุณสมบัติทาให้ส่วนผสมอื่นๆเข้ากัน ได้ดีและยังทาหน้าที่ทาให้เปลือกนอกของ สีผลิตภัณฑ์มีความมันเงาและสะท้อนแสงมากยิ่งขึ้น ( วรพงษ์ พฤกษารักษ์, 2551 ) แต่ส่วนผสมทั้งสองชนิดต่างก็มีคุณสมบัติในตัวที่ต่างกันแต่ใน ส่วนผสมทั้งสองชนิดนั้นต่างก็มีผลเสียที่ตามมาเหมือนกัน คือ ทาให้ คอลเลสเตอรอล และระดับ น้าตาลในเลือดสูงขึ้นหากบริโภคเป็นจานวนมากติดต่อกันเป็นเวลานานจนเกินความจาเป็นของ ร่างกาย ทั้ง ไขมันในครีมเทียม และ น้าตาล ซึ่งอาจก่อให้เกิดความความผิดปกติกับร่างกาย คือ ทา ให้ร่างกายมีน้าหนักและไขมันส่วนเกินเพิ่มมากขึ้นจนอาจก่อให้เกิดโรคแทรกซ้อนที่ตามมาเป็น จานวนมากทั้งโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ และอื่นๆ ( เดลินิวส์ ,2557 ) เนื่องจากครีมเทียม และน้าตาลทรายขาวมีผลเสียที่มากมายจึงทาให้คณะผู้จัดทาได้เล็งเห็น ความสาคัญของโครงงานนี้จึงได้คิดที่จะนา ครีมเทียมและน้าตาลทรายขาวมาสร้างประโยชน์ใน รูปแบบอื่นๆ ซึ่งคณะผู้จัดทาได้ปรึกษาและคิดกันว่าจะนาผลิตภัณฑ์ทั้งสองชนิด มาผลิตและแปร รูปออกมาให้เป็นสีที่ได้จากการใช้ส่วนผสมของ ครีมเทียมและน้าตาลทรายขาวเป็นหลัก โดยให้สี ที่ได้ในการผลิตสีขึ้นมาในโครงงานนี้มีคุณสมบัติเหมือนกับสีน้าทุกประการแต่มีคุณสมบัติที่ แตกต่างออกไปคือ ให้ความมันเงา และเพื่อให้ช่วยลดต้นทุนจากการใช้สีที่มีราคาแพงในปัจจุบัน
  • 10. 2โครงงานเรื่อง สีจากครีมเทียม วัตถุประสงค์ของการศึกษา 1.เพื่อนาผลิตภัณฑ์ที่มีผลกระทบต่อร่างกายหากสะสมอยู่ในร่างกายเป็นจานวนมากมาย สร้างประโยชน์ในด้านอื่นให้ดีขึ้น และเพื่อให้สอดคล้องกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 2.เพื่อนาครีมเทียมและน้าตาลทรายขาวมาผลิตแปรรูปเป็นสีที่มีลักษณะเนื้อสีเป็นสีน้าแต่มี ลักษณะเนื้อผิวมีความมันเงา 3.เพื่อหาอัตราส่วนที่เหมาะสมในการผลิตสีจากครีมเทียม 4.เพื่อทดสอบคุณภาพและเปรียบเทียบสีที่มีส่วนผสมจากครีมเทียมและน้าตาลทรายขาว 5.เพื่อลดต้นทุนจากใช้สีที่มีราคาแพงตามท้องตลาดในปัจจุบัน สมมุติฐานของการศึกษา ถ้าเนื้อแป้งสามารถนามาผลิตและแปรรูปเป็นสีน้าได้ดังนั้น หากนาครีมเทียมที่มีลักษณะ เนื้อผิวคล้ายแป้งมา ผลิตและแปรรูปทดแทนเนื้อแป้ ง อาจได้เนื้อสีมีคุณสมบัติใกล้เคียงกัน ขอบเขตของการศึกษา เพื่อผลิตและแปรรูปจากผลิตภัณฑ์ครีมเทียมและน้าตาลทรายขาวให้เป็นสีที่มีลักษณะเนื้อ สีเป็นสีน้าแต่มีลักษณะเนื้อผิวมีความมันเงาโดยใช้วิธีการนาครีมเทียมและน้าตาลทรายขาวมาผสม ให้เข้ากันในสัดส่วนที่พอเหมาะเพื่อให้ได้สีและลักษณะเนื้อผิวมีความมันเงาตามลักษณะที่กาหนด ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ได้สีที่มีลักษณะเนื้อสีเป็นสีน้าแต่มีลักษณะเนื้อผิวมีความมันเงา 2. ได้สร้างผลิตภัณฑ์สีมีประโยชน์ต่อผู้ที่มีรายได้น้อยและผู้ที่สนใจ และ ต้องการความ แปลกใหม่จากสีที่มีความมันเงา 3. นาผลจากการแปรรูปผลิตภัณฑ์ที่ได้มาคิดต่อยอดและอาจพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์สีที่ดียิ่งขึ้น ในโอกาสและโครงงานต่อไป
  • 11. 3โครงงานเรื่อง สีจากครีมเทียม บทที่ 2 เอกสารงานที่เกี่ยวข้อง ครีมเทียม ครีมเทียม เป็นผลิตภัณฑ์ประเภทอาหารแห้ง (dried food) ทาแห้งด้วยเครื่องทาแห้งแบบ พ่นฝอย (spray drier) มีลักษณะเป็นผง ช่วยเพิ่มกลิ่นและรสกาแฟให้ชวนดื่มมากขึ้น ซึ่งครีมเทียม เป็นผลิตภัณฑ์เลียนแบบครีมจากน้านมโคที่ได้รับความนิยมเพิ่มขึ้น ครีมเทียมมีราคาถูก สะดวกใน การใช้ และเป็นของแห้งทาให้เก็บรักษาไว้ได้นานโดยผลิตมาจากการนาส่วนประกอบไขมันจาก น้ามันปาล์ม โปรตีนนมที่แยกออกจากน้านมโค น้าตาลทรายและน้า กลับมาผสมรวมกัน โดยต้องมี ส่วนประกอบอื่นอีก ในการทาส่วนผสมหลักดังกล่าวสามารถรวมเป็นเนื้อเดียวคล้ายคลึงกับครีมแท้ แล้วจึงนาไปทาให้แห้งเป็นผงละเอียดส่วนประกอบของครีมเทียม ซึ่งในครีมเทียมมีส่วนประกอบ คล้ายครีม จากน้านมโคคือ มีส่วนประกอบหลักเป็นไขมัน โปรตีนและน้าตาล น้านมโคประกอบ ด้วยไขมันนมร้อยละ 4.1 ซึ่งเป็นไตรกลีเซอไรด์ที่มีกรดไขมันอิ่มตัวสายสั้นๆประมาณร้อยละ 6.9 ของปริมาณไขมันนมทั้งหมด มีโปรตีนนมร้อยละ 3.6 ซึ่งเป็น โปรตีนหลายชนิดผสมรวมกัน โดย มีโปรตีนเคซีน (casein) เป็นโปรตีนหลักประมาณร้อยละ 80 ของปริมาณโปรตีนนมทั้งหมด ซึ่ง โปรตีนจะช่วยเสริมไขมันในการทาให้ครีมเทียมมีสีขาวเมื่อกระจายตัวในน้าและให้ความข้นได้เนื้อ นอกจากนี้ยังให้กลิ่นรสของโปรตีน และมีน้าตาลแล็กโทสซึ่งเป็นน้าตาลตามธรรมชาติที่พบใน น้านมประมาณร้อยละ 5 ส่วนการบรรจุหีบห่อและการเก็บรักษาครีมเทียม ครีมเทียมเป็นของแห้งที่ ดูดความชื้นแล้วจับตัวเป็นก้อนง่าย จึงต้องบรรจุในภาชนะที่ป้ องกันอากาศและความชื้น ที่นิยมใช้ คือ ขวดแก้ว ถุงอะลูมิเนียมฟอยล์ และถุงกระดาษเคลือบไข ครีมเทียมมีโอกาสเสื่อมเสียจาก ปฏิกิริยาออกซิเดชันน้ามันทาให้เกิดกลิ่นหืน ปฏิกิริยาออกซิเดชันของโปรตีนทาให้สีคล้า อากาศใน ภาชนะก่อนเปิดใช้ครั้งแรกมีจากัด ดังนั้นปัญหาของปฏิกิริยาออกซิเดชันในช่วงนี้จึงน้อย แต่ควร หลีกเลี่ยงสภาวะที่มีอุณหภูมิสูง เพราะอุณหภูมิช่วยเร่งปฏิกิริยาออกซิเดชัน และเมื่อเปิดใช้แล้วควร ปิดผนึกให้สนิท คุณลักษณะของผลิตภัณฑ์
  • 12. 4โครงงานเรื่อง สีจากครีมเทียม ส่วนผสมหลัก น้าเชื่อมกลูโคส (glucose syrup) ไขมันปาล์ม โซเดียมเคซิเนต สีผสมอาหาร แต่งกลิ่นสังเคราะห์ (flavoring agent) สารป้ องกันการเกาะตัว (bulking agent) ประโยชน์ของครีมเทียม 1.) ทาให้กาแฟมีรสชาติเข้มข้นขึ้น 2.) ละลายทันที 3.) เพิ่มความ หอม มัน 4.) ทาให้สีดูน่ารับประทานมากขึ้น โทษของครีมเทียม 1.) ทาให้น้าหนักและไขมันส่วนเกินเพิ่มขึ้น 2.) ภาวะการทางานของตับผิดปกติ 3.) เสี่ยงต่อการเป็นโรคเบาหวาน 4.) เสี่ยงต่อการเป็นโรคความดันโลหิตสูง 5.) เสี่ยงต่อการเป็นโรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด 6.) คอลเลสเตอรอลสูง
  • 13. 5โครงงานเรื่อง สีจากครีมเทียม น้าตาลทราย น้าตาลทรายมีชื่อทางเคมีว่าซูโคส (Sucrose) ซึ่งเป็นน้าตาลโมเลกุลคู่ ระหว่าง ฟรุกโตส รวมกับกลูโคส นิยมนามาทาอาหารและเครื่องดื่มแทบทุกชนิดและนิยมใช้ในทุกประเทศ น้าตาล ทรายนอกจากจะได้จากอ้อยแล้ง ยังสามารถผลิตมาจากพืชชนิดอื่นได้ด้วย เช่น ต้นบีท อินทผลัม ข้าวฟ่างและต้นชูการ์เมเปิล เป็นต้น น้าตาลทรายมีให้เลือกใช้ทั้งแบบน้าตาลทรายแดงและน้าตาล ทรายขาว น้าตาลทรายแดงเกิดจากน้าอ้อยที่ไม่ผ่านการฟอกสี มีรสหวานตามธรรมชาติ ในขณะที่ น้าตาลทรายขาวจะผ่านการฟอกสีให้มีสีขาวอ่อนๆ น่ารับประทานมากขึ้น กระบวนการผลิตน้าตาลทราย โดยทั่วไปการผลิตน้าตาลทรายมี 5 ขั้นตอนด้วยกันคือ 1. กระบวนการสกัดน้าอ้อย (Juice Extraction) 2. การทาความสะอาดหรือทาใสน้าอ้อย (Juice Purification) 3. การต้มน้าอ้อย (Evaporation) 4. การเคี่ยว (Crystallization) 5. การปั่นแยกผลึกน้าตาล (Centrifugaling) เมื่อครบ 5 ขั้นตอนข้างต้นแล้วจะได้น้าตาลดิบออกมา จะต้องนาน้าตาลดิบดังกล่าวมาผ่าน กระบวนการเพื่อให้ได้น้าตาลทรายขาวดังนี้ 1. การปั่นละลาย (Affinated Centrifugaling) 2. การทาความสะอาดและฟอกสี (Clarification) 3. การเคี่ยว (Crystallization) 4. การปั่นแยกผลึกน้าตาล (Centrifugaling) 5. การอบ (Drying) เมื่อจบกระบวนการอบแห้งแล้วก็สามารถบรรจุกระสอบเพื่อจาหน่ายได้ทันทีจะเห็นว่า การผลิตน้าตายทรายมีขั้นตอนที่ซับซ้อนและใช้เวลาพอสมควร
  • 14. 6โครงงานเรื่อง สีจากครีมเทียม สรรพคุณของน้าตาล 1. น้าตาลทรายแดงมีคุณสมบัติร้อนและมีรสหวาน มีสรรพคุณช่วยบารุงกาลัง 2. ช่วยทาให้เลือดไหลเวียนได้สะดวกมากยิ่งขึ้น (น้าตาลทรายแดง) 3. น้าตาลทรายขาวและน้าตาลทรายกรวดมีสรรพคุณช่วยดับร้อน ถอนพิษ แก้อาการอักเสบ 4. ช่วยรักษาปากเป็นแผล มีอาการเจ็บคอ ไอมีเสมหะเหลือง 5. น้าเชื่อมที่ได้จากน้าตาลทรายขาว สามารถใช้เป็นยารักษาบาดแผลเน่าเปื่อยได้เพราะน้าเชื่อม สามารถเปลี่ยนสภาพกรดและด่างบริเวณปากแผลได้ทาให้เซลล์ผิวหนังถูกกระตุ้นกาไหลเวียนของ โลหิตทางานดีขึ้น และยังเป็นอาหารที่ถูกนาไปใช้หล่อเลี้ยงผิวหนังบริเวณนั้นอีกด้วย ทาให้เชื้อโรค ไม่สามารถเจริญเติบโตได้และบาดแผลก็จะหายเร็วขึ้น 6. ช่วยแก้อาการปวด 7. สาหรับสตรีที่อยู่ในระหว่างมีประจาเดือนถูกความเย็น มีอาการปวดประจาเดือนปวดท้อง น้อยหรือปวดเอว ประจาเดือนเป็นลิ่ม การดื่มน้าผสมกับน้าตาลทรายแดงอุ่นๆ 1 แก้ว ก็จะทาให้ สบายขึ้นได้ สีผสมอาหาร คือสีที่ใช้ผสมในอาหารเพื่อเพิ่มความดึงดูดใจแต่งแต้มสีสันและทาให้อาหารน่า รับประทานมากยิ่งขึ้น การใช้สีผสมอาหารช่วยให้การผลิตอาหารหรือผลิตภัณฑ์อาหารเป็นที่พอใจ ของผู้บริโภค และเป็นการสร้างจุดเด่นของผลิตภัณฑ์อาหารอีกด้วย
  • 15. 7โครงงานเรื่อง สีจากครีมเทียม บทที่ 3 อุปกรณ์และวิธีการดาเนินการทาโครงงาน วัสดุ อุปกรณ์ 1. ครีมเทียม 2. น้าตาลทรายขาว 3. สีผสมอาหาร 4. หม้อนึ่ง 5. กระปุกแก้วขนาดเล็ก 6. ช้อน 7. แก้วนาความร้อนขนาดเล็ก วิธีการผลิตสี การผลิตสีจากครีมเทียมในโครงงานมีลักษณะขั้นตอนดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 การเตรียมส่วนผสมเพื่อเปรียบเทียบอัตราส่วนที่เหมาะสมในการผลิตสีจาก ครีมเทียมและผลิตสีจากครีมเทียม ขั้นตอนที่ 2 การหาอัตราส่วนที่เหมาะสมในการผลิตสีจากครีมเทียม ขั้นตอนที่ 3 การทดสอบคุณภาพและเปรียบเทียบสีที่ได้จากผลิตขึ้นในสัดส่วนที่ต่างกัน
  • 16. 8โครงงานเรื่อง สีจากครีมเทียม ขั้นตอนที่ 1 การเตรียมส่วนผสมและผลิตสีจากครีมเทียม วิธีทา 1.1 นาน้าตาทรายขาวมาเทรวม กับน้าสะอาดในแก้วที่นาความร้อนในปริมาณ ( น้าตาล ทรายขาว 2 ช้อนชา ต่อน้าสะอาด 2 ช้อนชา ) 1.2 จากนั้นนาครีมเทียมมาเทลงในแก้วเดียวกันในปริมาณ 4 ช้อนชา 1.3 นาสีผสมอาหารสีที่ต้องการมาเทใส่ในแก้วเดิมในปริมาณ ช้อนชา 1.4 นาหม้อนึ่งขนาดเล็กมาตั้งไฟในปริมาณไฟที่อ่อนๆ จากนั้นนาแก้วที่ใส่ส่วนผสมไว้มา ตั้งในส่วนถาดบนของหม้อนึ่ง 1.5 ปิดฝาหม้อทิ้งไว้ 10 นาทีแล้วจึงเปิดฝาหม้อใช้ช้อนคนส่วนผสมให้เข้ากัน แล้วจึงปิดฝา หม้อทิ้งไว้อีก 5 นาที แล้วจึงใช้ช้อนคนส่วนผสมในแก้วจนให้มีลักษณะเนื้อผิวเป็นเนื้อเดียวกัน แล้วจึงค่อยปิดไฟพักให้เย็น 1.6 จากนั้นนาสีที่ได้มาใส่กระปุกแก้วขนาดเล็กที่ได้จัดเตรียมไว้ ขั้นตอนที่ 2 การหาอัตราส่วนที่เหมาะสมในการผลิตสีจากครีมเทียม วิธีทา ทาการผลิตสีเหมือนกับวิธีการทาของขั้นตอนที่ 1 แต่เปลี่ยนแปลงปริมาณส่วนผสมของ ครีมเทียมจาก 4 ช้อนชาเป็น 3 ช้อนชา โดยมีอัตราส่วนผสมของน้าตาลทรายขาวกับน้าและสีผสม อาหารคงอยู่ในอัตราส่วนปริมาณเดิม ขั้นตอนที่ 3 การทดสอบคุณภาพและเปรียบเทียบสีที่ได้จากผลิตขึ้นในสัดส่วนที่ต่างกัน วิธีทา นากระดาษ 100 ปอนด์ขนาด A4 มาแล้วจึงวาดรูปช่องตารางจานวน 3 ช่องจากนั้นระบาย สีที่ได้ในแต่ละสัดส่วนลงในช่องตารางที่วาดไว้ในกระดาษ ทิ้งไว้30 นาที แล้วจึงบันทึกผลที่ได้ จากการทดลอง
  • 17. 9โครงงานเรื่อง สีจากครีมเทียม บทที่ 4 ผลการทดลองและวิเคราะห์ผล จากการผลิตสีจากครีมเทียม ในโครงงานนี้โดยการใช้วิธีการนาเอาครีมเทียมและน้าตาล ทรายขาวมาผสมให้เข้ากันในสัดส่วนที่พอเหมาะเพื่อให้ได้สีที่มีลักษณะเนื้อสีและลักษณะเนื้อผิวมี คุณสมบัติคล้ายสีน้าแต่มีคุณสมบัติที่แตกต่างออกไปคือ ความมันเงา ตอนที่ 1 จากการลงมือผลิตสีจากครีมเทียมในอัตราส่วนของครีมเทียมที่ต่างกันได้ผลดังนี้ ตารางที่ 1 แสดงผลการหาส่วนผสมที่เหมาะสมในการผลิตสีจากครีมเทียม ส่วน ผสม ที่ อัตราส่วนของ ครีมเทียม : น้าตาล: น้า: สี ( ช้อนชา ) ลักษณะเนื้อสี ความมันเงา จากสี ความเข้มของสี ด้าน มันเงา จาง เข้ม 1 4 : 2 : 2 : มีลักษณะเนื้อสีข้น เหนียวมากเกินไป / / 2 3 : 2 : 2 : มีลักษณะเนื้อสี เหลวและข้น พอเหมาะ / / 3 2 : 2 : 2 : มีลักษณะเนื้อสี เหลวข้น / / จากตารางแสดงผลการหาส่วนผสมที่เหมาะสมในการผลิตสีจากครีมเทียมสรุปได้ว่าการ ใช้ส่วนผสม 2 เป็นอัตราส่วนที่เหมาะจะนามาผลิตและสร้างสีขึ้นมาใหม่จาก ครีมเทียมและน้าตาล ทรายขาวได้ดีที่สุด เนื่องจากมีลักษณะเนื้อสีเหลวและข้นในอัตราส่วนที่พอเหมาะรวมถึงมีความมัน เงาและสีที่เข้มในสัดส่วนที่พอดีซึ่งมีคุณสมบัติลักษณะเนื้อสีตรงตามจุดประสงค์หลักของโครงงาน เล่มนี้
  • 18. 10โครงงานเรื่อง สีจากครีมเทียม ตอนที่ 2 จากการทดลองระบายสีจากครีมเทียม และสีน้าลงบนแผ่นกระดาษ 100 ปอนด์ ตารางที่ 2 แสดงผลการทดลองเปรียบเทียบคุณภาพสีจากครีมเทียมที่ผลิตขึ้นในอัตราส่วนผสมที่เหมาะสม กับ สี น้า ชนิดของสี ลักษณะเนื้อสีและการระบายเมื่อถูกระบายลงบนกระดาษ 100 ปอนด์ ความยากง่ายใน การระบายสี ความเข้มของสี คุณภาพการยึด ติดเนื้อกระดาษ การแห้งของเนื้อ สี ลักษณะเนื้อผิวสี ลักษณะความมัน เงาของเนื้อสี ระบายง่าย ไม่ข้นเหนียว ระบายยาก ข้นเหนียว สีสดเข้ม สีซีดจาง เกาะติดดี เหาะติดไม่ดี แห้งเร็ว แห้งช้า ผิวเรียบเนียน ผิวขรุขระ เนื้อผิวมันเงา เนื้อผิวไม่มันเงา สีจากครีมเทียม / / / / / / สีน้า / / / / / / จากตารางแสดงผลการทดลองเปรียบเทียบคุณภาพสีจากครีมเทียมที่ผลิตขึ้นในอัตรา ส่วนผสมที่เหมาะสม กับ สีน้า ที่ระบายลงบนพื้นผิวกระดาษ 100 ปอนด์ สรุปได้ว่า สีจากครีมเทียม มีลักษณะเนื้อผิวสีคล้ายกับสีน้าทุกลักษณะทั้งความยากง่ายในการระบายสี ความเข้มของสี คุณภาพ การยึดติดเนื้อกระดาษ รวมถึงลักษณะของสีผิว แต่มีลักษณะบางประการที่แตกต่างกันออกไปคือ การแห้งตัวของเนื้อสี ซึ่งสีน้าจะมีสมบัติ และคุณลักษณะของสีที่แห้งได้เร็วกว่าสีจากครีมเทียม และ ยังมีลักษณะอีกข้อที่แต่ต่างกันออกไปจากตารางทดลองคุณภาพสีคือ ความมันเงาของเนื้อสี ซึ่ง สีจากครีมเทียมจะมีลักษณะและคุณสมบัติที่ให้ความมันเงาแก่เนื้อสีได้ดีกว่าสีน้า ดังนั้น สีจากครีม เทียมสามารถที่จะนามาใช้และทดแทนสีน้า ได้โดยมีคุณภาพและลักษณะผิวสีที่มีความเหมือนและ คล้ายเคียงกัน
  • 19. 11โครงงานเรื่อง สีจากครีมเทียม บทที่ 5 สรุป อภิปรายผลการทดลองและข้อเสนอแนะ สรุปผลการผลิตและเปรียบเทียบคุณภาพสีจากครีมเทียม การศึกษาการผลิตและเปรียบเทียบส่วนผสมที่เหมาะสมในการผลิตสีจากครีมเทียมใน โครงงานนี้ พบว่า อัตราส่วน ครีมเทียม : น้าตาลทรายขาว : น้า : สี ในปริมาณอัตราส่วน ( 3 ช้อนชา : 2 ช้อนชา : 2 ช้อนชา : ช้อนชา ตามลาดับ ) เป็นอัตราส่วนผสมที่มีความเหมาะสมมากที่จะ นามาใช้เป็นอัตราส่วนผสมของสีจากครีมเทียม ซึ่งจะทาให้ได้สีที่มีลักษณะเหลวและข้นใน อัตราส่วนที่พอเหมาะรวมถึงมีความมันเงาและสีที่เข้ม และพอนา สีที่ผลิตขึ้นมาทดลองระบายลง บนกระดาษ 100 ปอนด์เพื่อเปรียบเทียบคุณภาพสีกับสีน้า พบว่าลักษณะการระบายสี รวมถึง คุณสมบัติเปรียบเทียบสีจากตารางเห็นได้ว่ามีคุณสมบัติที่ใกล้เคียงกับสีน้าทุกประการ แต่มีลักษณะ บางประการที่แตกต่างกันออกไปคือ การแห้งตัวของเนื้อสี ซึ่งสีน้าจะมีสมบัติ และคุณลักษณะของ สีที่แห้งได้เร็วกว่าสีจากครีมเทียม และยังมีลักษณะอีกข้อที่แต่ต่างกันออกไปจากตารางทดลอง คุณภาพสีคือ ความมันเงาของเนื้อสี ซึ่งสีจากครีมเทียมจะมีลักษณะและคุณสมบัติที่ให้ความมันเงา แก่เนื้อสีได้ดีกว่าสีน้า ดั้งนั้นจะเห็นได้ว่า สีจากครีมเทียมสามารถที่จะนามาใช้และทดแทนสีน้าได้ โดยให้คุณสมบัติสีที่มีความใกล้เคียงกัน อภิปรายผล จากการศึกษาการผลิตและเปรียบเทียบส่วนผสมสีในโครงงานนี้ พบว่า สีจากครีมเทียมมี คุณสมบัติใกล้เคียงกับสีน้าทุกประการ แต่มีลักษณะบางประการที่แตกต่างกันออกไปคือ การแห้ง ตัวของเนื้อสี ซึ่งสีน้าจะมีสมบัติ และคุณลักษณะของสีที่แห้งได้เร็วกว่าสีจากครีมเทียม เนื่องจากใน ส่วนผสมของสีจากครีมเทียมมีสัดส่วนผสมของไขมัน จึงทาให้สีมีคุณสมบัติที่แห้งช้า แต่สีจากครีม เทียมมีลักษณะและคุณสมบัติที่ให้ความมันเงาได้ดีกว่าสีน้า เพราะว่าสีจากครีมเทียมนั้นมีความมัน เงามาจากส่วนผสมในครีมเทียมคือ ไขมัน และ คุณสมบัติในตัวของน้าตาลทรายขาว ที่ให้ความมัน เงาแก่ส่วนผสมรวมถึงทาให้ ส่วนผสมทุกอัตราส่วนรวมเข้ากันได้ง่ายให้เป็นเนื้อเดียว ดังนั้น สีจาก ครีมเทียมสามารถที่จะนามาใช้และทดแทนสีจากกาแฟได้และยังอาจจะช่วยลดต้นทุนจากการใช้สีที่ มีราคาแพงได้ โดยให้คุณสมบัติที่ใกล้เคียงกัน
  • 20. 12โครงงานเรื่อง สีจากครีมเทียม ข้อเสนอแนะ 1. การนาสีจากครีมเทียมไปใช้หากเป็นไปได้ควรที่จะผสมนาร้อนก่อนในอัตราส่วน สีจากครีมเทียม : น้าร้อน ในปริมาณ ( 5 : 1 ตามลาดับ ) 2. เพื่อให้ได้ที่เข้มควรที่จะผสมสีผสมอาหารให้มากขึ้นจาก ช้อนชา เป็น ช้อนชา 3. เนื่องจากสีจากครีมเทียมมีส่วนผสมของน้าตาลจึงทาให้เมื่อใช้และระบายลงบนพื้นผิว กระดาษแล้วหากนาวางไว้ในที่ต่าบนพื้น อาจจะมดแมลงขึ้นในผลงานหากเป็นไปได้ ควรที่จะผสม ผงผ้องกันและกาจัดแมลงมด ( ยี่ห้อผงอีร่าพลัส ) ในสัดส่วน ช้อนชา 4. หลังจากใช้สีจากครีมเทียมระบายลงในผลงานแล้วควรที่จะใช้แล๊คเกอร์พ่นทับลงใน ผลงานเพื่อทาให้สีแห้งและแข็งตัวได้เร็วขึ้น
  • 21. 13โครงงานเรื่อง สีจากครีมเทียม บรรณานุกรม “กระบวนการผลิตน้าตาลทราย.” [online]. เข้าถึงได้จาก:http://www.thaisugarmillers.com/tsmc- 02-02.html “ครีมเทียมในกาแฟ.” [online]. เข้าถึงได้จาก:http://www.thaibio.com/index.php?route=news/ news&news_id=18 ฟรินน์ดอทคอม. “น้าตาล (Sugar) คือ.” [online]. เข้าถึงได้จาก:http://frynn.com/%E0%B8% 99%E0%B9%89%E0%B8%B3%E0%B8%95%E0%B8%B2%E0%B8%A5/ ศาสตราจารย์เกียรติคุณดร.นิธิยา รัตนาปนนท์ และผศ.ดร.พิมพ์เพ็ญ พรเฉลิมพงศ์. “ครีมเทียม/ ครีมเทียม.” [online]. เข้าถึงได้จาก:http://www.foodnetworksolution.com/wiki/word/ 3636/%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8 %97% E0 %B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%A1- %E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8% B5%E0 %B8 %A1%E0%B9% 80%E0%B8%97 %E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%A1 ศาสตราจารย์เกียรติคุณดร.นิธิยา รัตนาปนนท์ และผศ.ดร.พิมพ์เพ็ญ พรเฉลิมพงศ์. “Food color / สีผสมอาหาร.” [online]. เข้าถึงได้จาก:http://www.foodnetworksolution.com/wiki/word/ 2950/food-color-%E0%B8%AA%E0%B8%B5%E0%B8%9C%E0% B8%AA%E0 %B8%A1% E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%A3
  • 23. 15โครงงานเรื่อง สีจากครีมเทียม ส่วนผสมของสีจากครีมเทียม 1 ( ครีมเทียม 3 ช้อนชา ) ส่วนผสมของสีจากครีมเทียม 2 ( น้าตาล 2 ช้อนชา )
  • 24. 16โครงงานเรื่อง สีจากครีมเทียม ส่วนผสมของสีจากครีมเทียม 3 ( น้า 2 ) ส่วนผสมของสีจากครีมเทียม 4 ( สีผสมอาหาร )