SlideShare a Scribd company logo
1 of 36
Download to read offline
ด น ต รี สา ก ล ห ร ร ษ า
The Magic Of MUSIC
หลักทฤษฏีเบื้องต้น
• เมื่อพูดถึงทฤษฎีดนตรี หรืออะไรก็ตามที่ขึ้นต้นว่า “ทฤษฎี” ผู้เรียนก็คง
จะท้อกันตั้งแต่เริ่มต้นแล้ว บางคนเล่น มาเป็นปีแต่ไม่รู้อะไรเลย
เกี่ยวกับทฤษฎี ถามว่าเล่นได้ไหม..... เล่นได้ครับ แต่แค่พอเล่นได้
เท่านั้น เล่นไป ร้องไป
• ตีคอร์ดได้ อาจจะเกาเป็นแพทเทิลได้บ้าง แต่จะให้เก่งอย่าง คงเป็นไป
ไม่ได้แน่ ฉะนั้น ผมบอกได้เลยครับว่า หากเพื่อนๆสนใจอยากเล่นกีต้าร์
อย่างจริงๆจังๆ แล้ว ก็คงหนีไม่พ้นทฤษฎีดนตรีแน่นอน แต่สิ่งที่ผม
อยากจะบอก เพื่อนๆก็คือ ทฤษฎีดนตรี ไม่ใช่ของยากอะไรเลย หากเรา
ค่อยๆทาความเข้าใจมันตั้งแต่ชั่วโมงแรก ศึกษาไปทีละนิด
• ความรู้จะถูกเพิ่มพูนขึ้นเรื่อยๆแบบไม่รู้ตัว และความได้เปรียบของคนที่
มีความรู้ด้านทฤษฎีดนตรี คือ ไม่ว่าจะอยากเล่นเครื่องดนตรีชิ้นไหน ก็
เริ่มเล่นได้ไม่ยาก แค่เรียนรู้ธรรมชาติของเครื่องดนตรีชนิดนั้นๆใน
เบื้องต้น ประกอบกับการฝึกฝนและนาเอาความรู้ทางทฤษฎีมา
ประยุกต์ใช้ ก็ทาให้เราเพลิดเพลินกับเครื่องดนตรีแต่ละชนิดได้ในเวลา
อันสั้น
• ตัวโน๊ตทั้งหมด ตามที่เราคุ้นเคยคือ โด เร มี ฟา ซอล ลา ที โด ซึ่งโน้ตแต่ละ
ตัวจะถูกเรียกอีกชื่อหนึ่งโดยนาเอา ตัวอักษรภาษาอังกฤษมาตั้ง ดังนี้
• C = โด
• D = เร
• E = มี
• F = ฟา
• G = ซอล
• A = ลา
• B = ที
• ครับ จาก C ไป D นั้น ห่างกัน 1 เสียงเต็ม (ต้องจาเพิ่มขึ้นมานั่นก็คือ E
กับ F ติดกัน และ B กับ C ติดกัน
• ทาไมถึงห่าง 1 เสียงเต็ม ? ก็เพราะมันมีตัวคั่นคือ C# หรือ Db
• ส่วน E กับ F ห่างกัน ครึ่งเสียง เพราะไม่มีตัวคั่น และ B กับ C
ก็ห่างกันครึ่งเสียง
โน๊ตคู่ไหนห่างกันครึ่งเสียงบ้าง
• C สูงขึ้นไปครึ่งเสียง = C# C ลดลงครึ่งเสียง = B
• D สูงขึ้นไปครึ่งเสียง = D# D ลดลงครึ่งเสียง = Db
• E สูงขึ้นไปครึ่งเสียง = F E ลดลงครึ่งเสียง = Eb
• F สูงขึ้นไปครึ่งเสียง = F# F ลดลงครึ่งเสียง = E
• G สูงขึ้นไปครึ่งเสียง = G# G ลดลงครึ่งเสียง = Gb
• A สูงขึ้นไปครึ่งเสียง = A# A ลดลงครึ่งเสียง = Ab
• B สูงขึ้นไปครึ่งเสียง = C B ลดลงครึ่งเสียง = Bb
การเล่นกีต้าร์เบื้องต้น
• การจับคอร์ดนั้นให้นั่งในท่าที่ถนัด ใช้มือกาหลวม ๆ ที่คอกีตาร์ ถ้าเป็น
การจับคอร์ดที่ไม่ใช้คอร์ดทาบ จะใช้นิ้วโป้งประคอง ด้านหลังคอกีต้าร์
เพื่อให้กระชับมั่นคงและช่วยให้มีแรงกดสายมากขึ้น การจับสายนั้น
จะต้องโก่งนิ้วที่จับสายอยู่ พยายามให้ปลายนิ้วที่กดสายตั้งฉากกับฟิง
เกอร์บอร์ด มากที่สุด เพราะถ้านิ้วราบไปกับคอกีต้าร์จะทาให้โดนสาย
อื่นทาให้เสียงบอด ส่วนตาแหน่งการกดให้กดลงในช่องกลางระหว่าง
เฟร็ต หรือ ค่อนลงมานิดหน่อย แต่นิ้วยังไม่โดนเฟร็ต ถ้านิ้วโดนเฟร็ต
ขณะกดสายจะทาให้เสียงบอร์ด
ขั้นตอนในการฝึกหัดและเรียนรู้กีตาร์
• . คุณต้องมีความรู้สึกว่าอยากจะเล่นจริง ๆ อย่างน้อยอาจจะมีแนวเพลง
ในดวงใจ หรือศิลปินที่อยากจะเล่นให้ได้เหมือนเขา เพราะจะทาให้มี
กาลังใจในการฝึก แต่อย่าอคติกับสิ่งใดสิ่งหนึ่งเช่นไม่ชอบตีคอร์ดจะ
เล่นลี๊ดอย่างเดียว หรือจะหัดแต่เพลงหนัก ๆ โดยไม่แคร์ถึงพื้นฐานที่ควร
รู้มาถึงจะเล่นอย่างนั้นอย่างนี้ให้ได้ดังใจเลย จาไว้นับเลขก็ต้องเริ่มจาก
ศูนย์ก่อนจะไปเป็นหนึ่ง..สอง...สาม ใจเย็น ๆ อย่ารีบร้อน ค่อย ๆ ฝึกฝน
หาความรู้เพิ่มเติมเรื่อย ๆ
• คุณต้องมีกีตาร์เป็นของตัวเอง เพื่อสะดวกในการฝึกหัด ดูเรื่องการเลือก
ซื้อกีตาร์ได้ในการเลือกซื้อกีตาร์และสายกีตาร์ นอกจากนี้รวมถึง
อุปกรณ์เสริมต่าง ๆ เท่าที่จาเป็นเช่น ปิ๊ค, ถุงหรือกล่องใส่กีตาร์, น้ายา
และผ้าเพื่อทาความสะอาด เป็นต้น ดูรายละเอียดเรื่องอุปกรณ์เสริมใน
การเล่นกีตาร์ได้
• มีความรู้เบื้องต้นในการตั้งสายก่อน เพราะถ้าสายคุ้นเพี้ยนเล่นยังไงก็ไม่
เพราะแน่ จึงต้องมีความรู้ในการตั้งสายแบบต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นตั้งด้วยมือ
เปล่าหรือการใช้เครื่องตั้งสายช่วยก็ตาม และเมื่อเป็นแล้วสิ่งหนึ่งที่ควรทา
เสมอคือทุกครั้งที่คุณหยิบกีตาร์มาเล่นควรจะเช็คเสียงก่อนว่าเพี้ยนมั๊ยถ้า
เพี้ยนก็ตั้งใหม่ เพราะสิ่งนี้จะฝึกให้คุณคุ้นเคยกับเสียงของแต่ละสาย ซึ่งจะ
ทาให้คุณตั้งสายได้รวดเร็วขึ้น ได้เสียงที่ถูกต้องสมบูรณ และยังมีประโยชน์
ต่อไปในการแกะเพลงอีกด้วย รวมถึงการศึกษาคอร์ดเบื้องต้นต่าง ๆ เช่นC,
Am, Dm, G7 เป็นต้นอาจจะดูจากหนังสือเพลงว่าจับอย่างไรใช้นิ้วไหนจับวาง
นิ้วยังไง ขั้นแรกไม่ต้องสนใจคอร์ดอื่น ๆ ฝึกแค่ 3 - 4 คอร์ดให้คุ้นเคยก่อน หา
เพลงที่ประกอบด้วยคอร์ดง่าย ๆ ดังกล่าวเล่น
• จากนั้นฝึกตีคอร์ดแบบง่าย ๆ ก่อนกับเพลงง่าย ๆ ที่ใช้คอร์ดที่เรารู้จัก
และจับไม่ยาก ช่วงนี้เองคุณก็ถือโอกาสหัดจับคอร์ดอื่น ๆ ที่ยังไม่รู้จัก
ด้วยเลย ฝึกการตีคอร์ดให้สัมพันธ์กับการเปลี่ยนคอร์ดและจังหวะของ
เพลง ค่อย ๆ ฝึกไปเรื่อย ๆ วันนี้ไม่ได้พรุ่งนี้เอาใหม่ เดี๋ยวก็ได้เอง
• เมื่อเริ่มคุ้นเคยกับการจับคอร์ด การตีคอร์ดแล้วแนะนาให้หาหนังสือมา
ฝึกเล่มแรกที่ผมใช้คือ "PICKING" เล่มหนา ๆ แล้วก็พวก หนังสือใน
เครือเพื่อนนักกีตาร์อีกหลาย ๆ เล่ม ซึ่งบางเล่มก็มีเทปให้ด้วย
การจับคอร์ดกีต้าร์
กีตาร์โปร่ง
กีตาร์โปร่ง หรือ อาคูสติกกีตาร์ นั่นเอง ก็คือกีตาร์ที่มีลาตัวโปร่งไม่ต้องอาศัย
ไฟฟ้าในการเล่น ซึ่งสามารถที่จะพกพาไปเล่นได้ในทุก ๆ ที่ ไม่ต้องใช้อุปกรณ์
อะไรให้วุ่นวาย สามารถแบ่งได้
• 1.1 กีตาร์คลาสสิก (Classic Guitar) ซึ่งถือว่าเป็นต้นแบบของกีตาร์ใน
ยุคปัจจุบันนั่นเองซึ่งมีลักษณะเด่นก็คือมีลูกบิดและแกนพันสายเป็น
พลาสติก มีคอหรือฟิงเกอร์บอร์ดที่ใหญ่คือประมาณ 2 นิ้วลักษณะแบนราบ
และใช้สายเอ็นหรือไนล่อน ส่วน 3 สายบน(สายเบส) จะทาด้วยไนล่อนหรือ
ใยไหมแล้วพันด้วยเส้นโลหะเช่นเส้นทองแดงหรือบรอนซ์ ซึ่งทาให้มีความนุ่ม
มือเวลาเล่นไม่เจ็บเหมือน สายโลหะ จึงเหมาะกับคนที่อยากหัดกีตาร์แต่กลัว
เจ็บนิ้ว
• 1.2 กีตาร์โฟล์ค ถือว่าเป็นที่นิยมและรู้จักกันมากที่สุดเนื่องจากหาซื้อง่าย
ราคาไม่แพงจนเกินไป สามารถฝึกหัดได้ง่ายไม่ต้องรู้ถึงทฤษฎีดนตรีมากนัก
ใช้เวลาไม่นานก็จะสามารถเล่นเพลงง่าย ๆ ฟังกันในหมู่เพื่อนฝูงได้แล้วแต่
จริง ๆ กีตาร์โฟล์คมันมีอะไรมากกว่านั้น ลักษณะทั่ว ๆ ไปคือแกนหมุนและ
ลูกบิดมักเป็นโลหะ คอหรือฟิงเกอร์บอร์ดเล็กกว่ากีตาร์คลาสสิกมีลักษณะ
โค้งเล็กน้อยรับกับนิ้วมือ แต่มีลาตัว (body) ที่ใหญ่และแข็งแรงกว่ากว่า
กีตาร์คลาสสิก ใช้สายที่ทาจากโลหะ เนื่องจากคอกีตาร์ที่เล็กและสายที่เป็น
โลหะกีตาร์ประเภทนี้จึงเหมาะกับการเล่นด้วยปิค (flat pick) หรือการเกา
(finger picking) ซึ่งเสียงที่ได้จะดังชัดเจน สดใสกว่ากีตาร์คลาสสิก จึง
เหมาะกับการเล่นกับดนตรีทั่ว ๆ ไป ซึ่งอาจเล่นเดี่ยวหรือเล่นเป็นวงก็ได้
• 1.3 Solid Body Electric กีตาร์ ซึ่งก็คือกีตาร์ไฟฟ้าที่เรา ๆ รู้จักกันดีอยู่แล้ว
ซึ่งมีอยู่มากมายหลายแบบแต่ลักษณะเด่นก็คือลาตัวจะเป็นแบบตัน และ
ประกอบด้วย pick up ซึ่งเป็นหัวใจของกีตาร์ไฟฟ้าอีก 2 หรือ 3 ชุด ไว้บน
ลาตัวกีตาร์สาหรับแปลงสัณญาณเสียงเป็นกระแสไฟฟ้าเข้าไปยังเครื่อง
ขยายอีกที กีตาร์ประเภทนี้ต้องมีเครื่องขยาย(แอมป์ นั่นแหละครับ)มิฉะนั้น
เวลาเล่นต้องเอาหูไปแนบใกล้ ๆ ตัวกีตาร์ถึงจะได้ยินเสียง แต่ข้อดีก็คือเรา
สามารถที่จะปรับแต่งเสียงของมันได้อย่างอิสระด้วยการ control ปุ่ม
volume หรือ tone และยังใช้ร่วมกับ effect ต่าง ๆ ซึ่งปัจจุบันมีการผลิต
มามากมายหลายแบบเหลือเกิน เช่น distortion ,overdrive, flanger
เป็นต้น ทาให้สามารถปรับแต่งสาเนียงกีตาร์ตามที่เราต้องการได้
แนะนาคีย์บอร์ดของเปียโน
• โครงสร้างของคีย์บอร์ดเปียโน คีย์บอร์ดของเปียโนประกอบด้วยคีย์สี
ขาวและสีดา คีย์สีขาวมีทั้งหมด 52 คีย์และคีย์สีดามีทั้งหมด 36 คีย์ ซึ่ง
รวมกันมีทั้งหมด 88 คีย์
• แต่ละคีย์ของเปียโนจะให้ระดับเสียงที่ต่างกัน เพราะฉะนั้นเปียโนจึงมี
ช่วงเสียงที่กว้างมาก ถึง 88 เสียง โดยยิ่งไปทางด้านซ้าย เสียงจะยิ่งต่า
ยิ่งไปทางด้านขวา เสียงจะยิ่งสูง
←เสียงยิ่งต่าลง เสียงยิ่งสูงขึ้น→
• ให้เราลองสังเกตที่คีย์สีดา จะสังเกตเห็นว่าคีย์สีดามีการจัดเรียง 2 แบบ
คือ กลุ่มของคีย์สีดา 2 อัน และ กลุ่มของคีย์สีดา 3 อัน โดยจะอยู่
สลับกันไปเรื่อยๆ
• จากโครงสร้างของคีย์บอร์ดที่มีกลุ่มของคีย์สีดา 2 และ 3 อัน เราจะ
สามารถแบ่งคีย์บอร์ดออกเป็นกลุ่มๆ ได้ โดยแต่ละกลุ่มมีคีย์สีขาว 7 ตัว
และคีย์สีดา 5 ตัว ดังรูปข้างล่าง และแต่ละกลุ่มก็จะมีลักษณะซ้าๆ กัน
• เราจะเรียกชื่อคีย์สีขาวทั้ง 7 ตัว โดยใช้ทั้งหมด 7 ชื่อ แต่ในการเรียกชื่อ
จะมี 2 ระบบ คือ
ระบบตัวอักษร ใช้ตัวอักษรภาษาอังกฤษ 7 ตัวได้แก่ A B C D E F และ
G
ระบบซอล-ฟา มี 7 ตัวเหมือนกันคือ โด เร มี ฟา ซอล ลา ที (Do Re Mi
Fa Sol La Ti)
โดยชื่อแต่ละตัวของทั้งสองระบบมีความสัมพันธ์กันดังนี้
• Middle C หรือ Middle Do
การวางนิ้วบนแป้นคีย์บอร์ด
• มือ ซ้ายอยู่ที่ เสียงกลาง โน๊ตตัว C D E F G ส่วน A ใช้นิ้วโป้งซ้าย
ช่วยกด มือขวาอยู่ที่ เสียงสูง โน๊ตตัว C D E F G ส่วน B ใช้นิ้วโป้ง
ขวาช่วยกด
• ถ้าเพลงมีระดับเสียงโน้ตต่า วางมือให้นิ้วก้อยซ้ายเริ่มที่คีย์โดต่า นิ้วโป้ง
ขวาอยู่โดกลาง
• ถ้าเพลงมีระดับเสียงโน๊ตสูง วางมือให้นิ้วก้อยซ้ายเริ่มที่คีย์โดกลาง
นิ้วโป้งขวาอยู่โดสูง
คอร์ดเมเจอร์และคอร์ดไมเนอร์ พื้นฐาน
บรรณานุกรม
• เรียนรู้การเล่นคีย์บอร์ดเบื้องต้น. (ม.ป.ป.). เข้าถึงได้จาก
http://kan603.blogspot.com/2016/02/blog-post_10.html?spref=fb (วันที่
ค้นข้อมูล: วันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2559)
จัดถาโดย
• นายประวิถย์ ชัยชนะ เลขถี่ 4
• นายขชล แก้วประดิษฐ์ เลขถี่ 43

More Related Content

Featured

AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfmarketingartwork
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024Neil Kimberley
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)contently
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024Albert Qian
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsKurio // The Social Media Age(ncy)
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Search Engine Journal
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summarySpeakerHub
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Tessa Mero
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentLily Ray
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best PracticesVit Horky
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementMindGenius
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...RachelPearson36
 
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...Applitools
 
12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at WorkGetSmarter
 

Featured (20)

AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
 
Skeleton Culture Code
Skeleton Culture CodeSkeleton Culture Code
Skeleton Culture Code
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
 
How to have difficult conversations
How to have difficult conversations How to have difficult conversations
How to have difficult conversations
 
Introduction to Data Science
Introduction to Data ScienceIntroduction to Data Science
Introduction to Data Science
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best Practices
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project management
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
 
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
 
12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work
 
ChatGPT webinar slides
ChatGPT webinar slidesChatGPT webinar slides
ChatGPT webinar slides
 
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike RoutesMore than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
 

Com music

  • 1. ด น ต รี สา ก ล ห ร ร ษ า The Magic Of MUSIC
  • 2. หลักทฤษฏีเบื้องต้น • เมื่อพูดถึงทฤษฎีดนตรี หรืออะไรก็ตามที่ขึ้นต้นว่า “ทฤษฎี” ผู้เรียนก็คง จะท้อกันตั้งแต่เริ่มต้นแล้ว บางคนเล่น มาเป็นปีแต่ไม่รู้อะไรเลย เกี่ยวกับทฤษฎี ถามว่าเล่นได้ไหม..... เล่นได้ครับ แต่แค่พอเล่นได้ เท่านั้น เล่นไป ร้องไป
  • 3. • ตีคอร์ดได้ อาจจะเกาเป็นแพทเทิลได้บ้าง แต่จะให้เก่งอย่าง คงเป็นไป ไม่ได้แน่ ฉะนั้น ผมบอกได้เลยครับว่า หากเพื่อนๆสนใจอยากเล่นกีต้าร์ อย่างจริงๆจังๆ แล้ว ก็คงหนีไม่พ้นทฤษฎีดนตรีแน่นอน แต่สิ่งที่ผม อยากจะบอก เพื่อนๆก็คือ ทฤษฎีดนตรี ไม่ใช่ของยากอะไรเลย หากเรา ค่อยๆทาความเข้าใจมันตั้งแต่ชั่วโมงแรก ศึกษาไปทีละนิด
  • 4. • ความรู้จะถูกเพิ่มพูนขึ้นเรื่อยๆแบบไม่รู้ตัว และความได้เปรียบของคนที่ มีความรู้ด้านทฤษฎีดนตรี คือ ไม่ว่าจะอยากเล่นเครื่องดนตรีชิ้นไหน ก็ เริ่มเล่นได้ไม่ยาก แค่เรียนรู้ธรรมชาติของเครื่องดนตรีชนิดนั้นๆใน เบื้องต้น ประกอบกับการฝึกฝนและนาเอาความรู้ทางทฤษฎีมา ประยุกต์ใช้ ก็ทาให้เราเพลิดเพลินกับเครื่องดนตรีแต่ละชนิดได้ในเวลา อันสั้น
  • 5. • ตัวโน๊ตทั้งหมด ตามที่เราคุ้นเคยคือ โด เร มี ฟา ซอล ลา ที โด ซึ่งโน้ตแต่ละ ตัวจะถูกเรียกอีกชื่อหนึ่งโดยนาเอา ตัวอักษรภาษาอังกฤษมาตั้ง ดังนี้ • C = โด • D = เร • E = มี • F = ฟา • G = ซอล • A = ลา • B = ที
  • 6. • ครับ จาก C ไป D นั้น ห่างกัน 1 เสียงเต็ม (ต้องจาเพิ่มขึ้นมานั่นก็คือ E กับ F ติดกัน และ B กับ C ติดกัน • ทาไมถึงห่าง 1 เสียงเต็ม ? ก็เพราะมันมีตัวคั่นคือ C# หรือ Db • ส่วน E กับ F ห่างกัน ครึ่งเสียง เพราะไม่มีตัวคั่น และ B กับ C ก็ห่างกันครึ่งเสียง
  • 7. โน๊ตคู่ไหนห่างกันครึ่งเสียงบ้าง • C สูงขึ้นไปครึ่งเสียง = C# C ลดลงครึ่งเสียง = B • D สูงขึ้นไปครึ่งเสียง = D# D ลดลงครึ่งเสียง = Db • E สูงขึ้นไปครึ่งเสียง = F E ลดลงครึ่งเสียง = Eb • F สูงขึ้นไปครึ่งเสียง = F# F ลดลงครึ่งเสียง = E • G สูงขึ้นไปครึ่งเสียง = G# G ลดลงครึ่งเสียง = Gb • A สูงขึ้นไปครึ่งเสียง = A# A ลดลงครึ่งเสียง = Ab • B สูงขึ้นไปครึ่งเสียง = C B ลดลงครึ่งเสียง = Bb
  • 8. การเล่นกีต้าร์เบื้องต้น • การจับคอร์ดนั้นให้นั่งในท่าที่ถนัด ใช้มือกาหลวม ๆ ที่คอกีตาร์ ถ้าเป็น การจับคอร์ดที่ไม่ใช้คอร์ดทาบ จะใช้นิ้วโป้งประคอง ด้านหลังคอกีต้าร์ เพื่อให้กระชับมั่นคงและช่วยให้มีแรงกดสายมากขึ้น การจับสายนั้น จะต้องโก่งนิ้วที่จับสายอยู่ พยายามให้ปลายนิ้วที่กดสายตั้งฉากกับฟิง เกอร์บอร์ด มากที่สุด เพราะถ้านิ้วราบไปกับคอกีต้าร์จะทาให้โดนสาย อื่นทาให้เสียงบอด ส่วนตาแหน่งการกดให้กดลงในช่องกลางระหว่าง เฟร็ต หรือ ค่อนลงมานิดหน่อย แต่นิ้วยังไม่โดนเฟร็ต ถ้านิ้วโดนเฟร็ต ขณะกดสายจะทาให้เสียงบอร์ด
  • 9. ขั้นตอนในการฝึกหัดและเรียนรู้กีตาร์ • . คุณต้องมีความรู้สึกว่าอยากจะเล่นจริง ๆ อย่างน้อยอาจจะมีแนวเพลง ในดวงใจ หรือศิลปินที่อยากจะเล่นให้ได้เหมือนเขา เพราะจะทาให้มี กาลังใจในการฝึก แต่อย่าอคติกับสิ่งใดสิ่งหนึ่งเช่นไม่ชอบตีคอร์ดจะ เล่นลี๊ดอย่างเดียว หรือจะหัดแต่เพลงหนัก ๆ โดยไม่แคร์ถึงพื้นฐานที่ควร รู้มาถึงจะเล่นอย่างนั้นอย่างนี้ให้ได้ดังใจเลย จาไว้นับเลขก็ต้องเริ่มจาก ศูนย์ก่อนจะไปเป็นหนึ่ง..สอง...สาม ใจเย็น ๆ อย่ารีบร้อน ค่อย ๆ ฝึกฝน หาความรู้เพิ่มเติมเรื่อย ๆ
  • 10. • คุณต้องมีกีตาร์เป็นของตัวเอง เพื่อสะดวกในการฝึกหัด ดูเรื่องการเลือก ซื้อกีตาร์ได้ในการเลือกซื้อกีตาร์และสายกีตาร์ นอกจากนี้รวมถึง อุปกรณ์เสริมต่าง ๆ เท่าที่จาเป็นเช่น ปิ๊ค, ถุงหรือกล่องใส่กีตาร์, น้ายา และผ้าเพื่อทาความสะอาด เป็นต้น ดูรายละเอียดเรื่องอุปกรณ์เสริมใน การเล่นกีตาร์ได้
  • 11. • มีความรู้เบื้องต้นในการตั้งสายก่อน เพราะถ้าสายคุ้นเพี้ยนเล่นยังไงก็ไม่ เพราะแน่ จึงต้องมีความรู้ในการตั้งสายแบบต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นตั้งด้วยมือ เปล่าหรือการใช้เครื่องตั้งสายช่วยก็ตาม และเมื่อเป็นแล้วสิ่งหนึ่งที่ควรทา เสมอคือทุกครั้งที่คุณหยิบกีตาร์มาเล่นควรจะเช็คเสียงก่อนว่าเพี้ยนมั๊ยถ้า เพี้ยนก็ตั้งใหม่ เพราะสิ่งนี้จะฝึกให้คุณคุ้นเคยกับเสียงของแต่ละสาย ซึ่งจะ ทาให้คุณตั้งสายได้รวดเร็วขึ้น ได้เสียงที่ถูกต้องสมบูรณ และยังมีประโยชน์ ต่อไปในการแกะเพลงอีกด้วย รวมถึงการศึกษาคอร์ดเบื้องต้นต่าง ๆ เช่นC, Am, Dm, G7 เป็นต้นอาจจะดูจากหนังสือเพลงว่าจับอย่างไรใช้นิ้วไหนจับวาง นิ้วยังไง ขั้นแรกไม่ต้องสนใจคอร์ดอื่น ๆ ฝึกแค่ 3 - 4 คอร์ดให้คุ้นเคยก่อน หา เพลงที่ประกอบด้วยคอร์ดง่าย ๆ ดังกล่าวเล่น
  • 12. • จากนั้นฝึกตีคอร์ดแบบง่าย ๆ ก่อนกับเพลงง่าย ๆ ที่ใช้คอร์ดที่เรารู้จัก และจับไม่ยาก ช่วงนี้เองคุณก็ถือโอกาสหัดจับคอร์ดอื่น ๆ ที่ยังไม่รู้จัก ด้วยเลย ฝึกการตีคอร์ดให้สัมพันธ์กับการเปลี่ยนคอร์ดและจังหวะของ เพลง ค่อย ๆ ฝึกไปเรื่อย ๆ วันนี้ไม่ได้พรุ่งนี้เอาใหม่ เดี๋ยวก็ได้เอง
  • 13. • เมื่อเริ่มคุ้นเคยกับการจับคอร์ด การตีคอร์ดแล้วแนะนาให้หาหนังสือมา ฝึกเล่มแรกที่ผมใช้คือ "PICKING" เล่มหนา ๆ แล้วก็พวก หนังสือใน เครือเพื่อนนักกีตาร์อีกหลาย ๆ เล่ม ซึ่งบางเล่มก็มีเทปให้ด้วย
  • 15.
  • 16. กีตาร์โปร่ง กีตาร์โปร่ง หรือ อาคูสติกกีตาร์ นั่นเอง ก็คือกีตาร์ที่มีลาตัวโปร่งไม่ต้องอาศัย ไฟฟ้าในการเล่น ซึ่งสามารถที่จะพกพาไปเล่นได้ในทุก ๆ ที่ ไม่ต้องใช้อุปกรณ์ อะไรให้วุ่นวาย สามารถแบ่งได้ • 1.1 กีตาร์คลาสสิก (Classic Guitar) ซึ่งถือว่าเป็นต้นแบบของกีตาร์ใน ยุคปัจจุบันนั่นเองซึ่งมีลักษณะเด่นก็คือมีลูกบิดและแกนพันสายเป็น พลาสติก มีคอหรือฟิงเกอร์บอร์ดที่ใหญ่คือประมาณ 2 นิ้วลักษณะแบนราบ และใช้สายเอ็นหรือไนล่อน ส่วน 3 สายบน(สายเบส) จะทาด้วยไนล่อนหรือ ใยไหมแล้วพันด้วยเส้นโลหะเช่นเส้นทองแดงหรือบรอนซ์ ซึ่งทาให้มีความนุ่ม มือเวลาเล่นไม่เจ็บเหมือน สายโลหะ จึงเหมาะกับคนที่อยากหัดกีตาร์แต่กลัว เจ็บนิ้ว
  • 17.
  • 18. • 1.2 กีตาร์โฟล์ค ถือว่าเป็นที่นิยมและรู้จักกันมากที่สุดเนื่องจากหาซื้อง่าย ราคาไม่แพงจนเกินไป สามารถฝึกหัดได้ง่ายไม่ต้องรู้ถึงทฤษฎีดนตรีมากนัก ใช้เวลาไม่นานก็จะสามารถเล่นเพลงง่าย ๆ ฟังกันในหมู่เพื่อนฝูงได้แล้วแต่ จริง ๆ กีตาร์โฟล์คมันมีอะไรมากกว่านั้น ลักษณะทั่ว ๆ ไปคือแกนหมุนและ ลูกบิดมักเป็นโลหะ คอหรือฟิงเกอร์บอร์ดเล็กกว่ากีตาร์คลาสสิกมีลักษณะ โค้งเล็กน้อยรับกับนิ้วมือ แต่มีลาตัว (body) ที่ใหญ่และแข็งแรงกว่ากว่า กีตาร์คลาสสิก ใช้สายที่ทาจากโลหะ เนื่องจากคอกีตาร์ที่เล็กและสายที่เป็น โลหะกีตาร์ประเภทนี้จึงเหมาะกับการเล่นด้วยปิค (flat pick) หรือการเกา (finger picking) ซึ่งเสียงที่ได้จะดังชัดเจน สดใสกว่ากีตาร์คลาสสิก จึง เหมาะกับการเล่นกับดนตรีทั่ว ๆ ไป ซึ่งอาจเล่นเดี่ยวหรือเล่นเป็นวงก็ได้
  • 19.
  • 20. • 1.3 Solid Body Electric กีตาร์ ซึ่งก็คือกีตาร์ไฟฟ้าที่เรา ๆ รู้จักกันดีอยู่แล้ว ซึ่งมีอยู่มากมายหลายแบบแต่ลักษณะเด่นก็คือลาตัวจะเป็นแบบตัน และ ประกอบด้วย pick up ซึ่งเป็นหัวใจของกีตาร์ไฟฟ้าอีก 2 หรือ 3 ชุด ไว้บน ลาตัวกีตาร์สาหรับแปลงสัณญาณเสียงเป็นกระแสไฟฟ้าเข้าไปยังเครื่อง ขยายอีกที กีตาร์ประเภทนี้ต้องมีเครื่องขยาย(แอมป์ นั่นแหละครับ)มิฉะนั้น เวลาเล่นต้องเอาหูไปแนบใกล้ ๆ ตัวกีตาร์ถึงจะได้ยินเสียง แต่ข้อดีก็คือเรา สามารถที่จะปรับแต่งเสียงของมันได้อย่างอิสระด้วยการ control ปุ่ม volume หรือ tone และยังใช้ร่วมกับ effect ต่าง ๆ ซึ่งปัจจุบันมีการผลิต มามากมายหลายแบบเหลือเกิน เช่น distortion ,overdrive, flanger เป็นต้น ทาให้สามารถปรับแต่งสาเนียงกีตาร์ตามที่เราต้องการได้
  • 21.
  • 22.
  • 24. • โครงสร้างของคีย์บอร์ดเปียโน คีย์บอร์ดของเปียโนประกอบด้วยคีย์สี ขาวและสีดา คีย์สีขาวมีทั้งหมด 52 คีย์และคีย์สีดามีทั้งหมด 36 คีย์ ซึ่ง รวมกันมีทั้งหมด 88 คีย์
  • 25. • แต่ละคีย์ของเปียโนจะให้ระดับเสียงที่ต่างกัน เพราะฉะนั้นเปียโนจึงมี ช่วงเสียงที่กว้างมาก ถึง 88 เสียง โดยยิ่งไปทางด้านซ้าย เสียงจะยิ่งต่า ยิ่งไปทางด้านขวา เสียงจะยิ่งสูง ←เสียงยิ่งต่าลง เสียงยิ่งสูงขึ้น→
  • 26. • ให้เราลองสังเกตที่คีย์สีดา จะสังเกตเห็นว่าคีย์สีดามีการจัดเรียง 2 แบบ คือ กลุ่มของคีย์สีดา 2 อัน และ กลุ่มของคีย์สีดา 3 อัน โดยจะอยู่ สลับกันไปเรื่อยๆ
  • 27. • จากโครงสร้างของคีย์บอร์ดที่มีกลุ่มของคีย์สีดา 2 และ 3 อัน เราจะ สามารถแบ่งคีย์บอร์ดออกเป็นกลุ่มๆ ได้ โดยแต่ละกลุ่มมีคีย์สีขาว 7 ตัว และคีย์สีดา 5 ตัว ดังรูปข้างล่าง และแต่ละกลุ่มก็จะมีลักษณะซ้าๆ กัน
  • 28. • เราจะเรียกชื่อคีย์สีขาวทั้ง 7 ตัว โดยใช้ทั้งหมด 7 ชื่อ แต่ในการเรียกชื่อ จะมี 2 ระบบ คือ ระบบตัวอักษร ใช้ตัวอักษรภาษาอังกฤษ 7 ตัวได้แก่ A B C D E F และ G ระบบซอล-ฟา มี 7 ตัวเหมือนกันคือ โด เร มี ฟา ซอล ลา ที (Do Re Mi Fa Sol La Ti)
  • 29.
  • 31. • Middle C หรือ Middle Do
  • 32. การวางนิ้วบนแป้นคีย์บอร์ด • มือ ซ้ายอยู่ที่ เสียงกลาง โน๊ตตัว C D E F G ส่วน A ใช้นิ้วโป้งซ้าย ช่วยกด มือขวาอยู่ที่ เสียงสูง โน๊ตตัว C D E F G ส่วน B ใช้นิ้วโป้ง ขวาช่วยกด • ถ้าเพลงมีระดับเสียงโน้ตต่า วางมือให้นิ้วก้อยซ้ายเริ่มที่คีย์โดต่า นิ้วโป้ง ขวาอยู่โดกลาง • ถ้าเพลงมีระดับเสียงโน๊ตสูง วางมือให้นิ้วก้อยซ้ายเริ่มที่คีย์โดกลาง นิ้วโป้งขวาอยู่โดสูง
  • 33.
  • 35. บรรณานุกรม • เรียนรู้การเล่นคีย์บอร์ดเบื้องต้น. (ม.ป.ป.). เข้าถึงได้จาก http://kan603.blogspot.com/2016/02/blog-post_10.html?spref=fb (วันที่ ค้นข้อมูล: วันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2559)
  • 36. จัดถาโดย • นายประวิถย์ ชัยชนะ เลขถี่ 4 • นายขชล แก้วประดิษฐ์ เลขถี่ 43