SlideShare a Scribd company logo
1 of 13
Download to read offline
หนวยที่ ๓
                                        ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับโทรทัศนและวีดิทัศน
                                                                              Pipit Sitthisak
                                                         Poh Chang Academy of ARTs RMUTR
๒. ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับวีดิทัศน

              การผลิตรายการโทรทัศนเพื่อออกอากาศทางสถานีโทรทัศน ทําได 2 ลกษณะ คือ การ
                                                                              ั
ผลิตเปนรายการสด และการบันทึกเปนเทปโทรทศนไวกอน ซึ่งเปนที่นิยมในปจจุบัน เนื่องจากการ
                                               ั 
บันทึกรายการลงในเทปโทรทัศนสามารถผลิตรายการไดงายกวา และสามารถ แกไขขอบกพรองตาง
ๆ กอนนําไปออกรายการได ที่สําคัญคือเปนการบันทึกภาพไวกอน แลวนํามาตัดตอภายหลัง
เชนเดียวกับการผลิตภาพยนตร ซึ่งเทคนิคการตัดตอจะชวยใหการดําเนินเรื่องกระชับไมอืดอาด และ
ยังชวยใหสามารถนําภาพเหตุการณอื่นหรือเวลาอื่น หรือแฟมภาพที่มีอยู (Stock shot) มานําเสนอ
รวมอยูในรายการในหองสตูดิโอได (สุพัฒตรา ลิมปะพันธ ม.ป.ป. : 16 - 20)




               ภาพที่ ๑ การผลิตรายการโทรทัศนเพื่อออกอากาศทางสถานีโทรทัศน
                                 (tv studio.www.nrk.no)

                สําหรับการผลิตรายการโทรทัศนที่ไมไดผลิตเพื่อออกอากาศทางสถานีโทรทัศน    เรา
เรียกวา “วิดีโอเทป (Video Tape) หรือวิดีทัศน”
ภาพยนตรและวีดทัศนเบื้องตน ๒
                                                                                                 ิ
                     หนวยที่ ๓ ความรเู บื้องตนเกี่ยวกับโทรทัศนและวีดิทศน > ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับวีดิโอ
                                                                          ั

    ๒.๑ ความหมายของวดโอเทป
                    ิ ี

                   คําวา “วิดีโอ” เปนคําเรียกทับศัพทในภาษาอังกฤษ มาจากคําวา Video ซึ่งเวลา
เขียนตองเขียนเปนคําเต็ม ไมใชเขียนเปนคํายอวา V.D.O อยางเชนที่รานใหเชา หรือรานจําหนาย
มวนวิดีโอใชกัน
                   ความหมายของคําวา Video แปลวา เกี่ยวกับการเห็น หรือที่เกี่ยวกับภาพ สวน
ความหมายของคําวา Tape แปลวา ผาหรือกระดาษทําเปนแผนบาง ๆ อยางริบบิ้น แตเทปที่นํามาใช
ในที่นี้ ทํามาจากพลาสติก
                   เมื่อนําคําขางตนทั้งสองคํามารวมกันเปน Video Tape แปลความหมายวา แถบ   
พลาสติกเคลือบสารแมเหล็กสําหรับบันทึกภาพ (สมเจตน เมฆพายัพ. 2540 : 100 - 109)

          ความหมายของวิดีทัศน
                  คําวา “วิดีทัศน”           เปนคําที่คณะกรรมการบัญญัติศัพทวิทยาศาสตร
ราชบัณฑิตยสถาน บัญญัติขึ้นเพื่อใชในเชิงวิชาการแทนคําวา วิดีโอ โดยใหความหมายดังนี้
                  วิดีทัศน หมายถึง กระบวนการบันทึกหรือเก็บสัญญาณทางดานภาพ และสัญญ
ญาณเสียงไวในสื่อกลางที่เปนวัสดุทางแมเหล็กไฟฟา และรวมไปถึงกระบวนการ ถายทอดภาพและ
เสียง โดยผานอุปกรณทางอีเล็กทรอนิกสไปสูผูรับ (บุญเที่ยง จุยเจริญ. 2534 : 179)

    ๒.๒ สื่อบันทึกวีดิโอ




                     ภาพที่ ๒ สื่อบันทึกภาพยนตรและวีดิโอประเภทตาง ๆ
                            (http://www.vt.tv/index.php?link=t)



[ Pipit Sitthisak I Poh Chang Academy of Arts I RMUTR ]               Last update : ๒๓ มิถุนายน ๒๕๕๔
ภาพยนตรและวีดทัศนเบื้องตน ๓
                                                                                                 ิ
                     หนวยที่ ๓ ความรเู บื้องตนเกี่ยวกับโทรทัศนและวีดิทศน > ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับวีดิโอ
                                                                          ั

          วัสดุที่เปนสื่อบันทึก (Storage Media) สําหรับบันทึกและถายทอดภาพและเสียงไปสูผูรับ
แบงออกเปน ๖ ลักษณะ ไดแก
                     ๑) แถบวิดีทัศน (Video Tape) ทําดวยวัสดุที่เปน แถบแมเหล็กยาว ๆ ปจจุบัน
ไมคอยเปนที่นยมใชแลว มีเหลือที่ใชอยูไมกี่ประเภท
             ิ  




                                                                                                   VHS,
                                                         Mini DV




                       ภาพที่ ๓ แถบวิดีทัศนแบบ VHS แบบ mini DV และแบบ Betacam
                          (www.asia.cnet.com, www.completemedia.com.au)




[ Pipit Sitthisak I Poh Chang Academy of Arts I RMUTR ]               Last update : ๒๓ มิถุนายน ๒๕๕๔
ภาพยนตรและวีดทัศนเบื้องตน ๔
                                                                                                 ิ
                     หนวยที่ ๓ ความรเู บื้องตนเกี่ยวกับโทรทัศนและวีดิทศน > ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับวีดิโอ
                                                                          ั

                  ๒) วิดีโอดิสค (Video Disc) เปนแผนโลหะกลมบาง




                                ภาพที่ ๔ วิดีโอดิสค video disc
                                  (www.george-porter.com)

                  ๓) ดีวีดี วีดิโอ (DVD Video)




                                     ภาพที่ ๕ dvd-r disc
                                   (www.bdharper.com.jpg)




[ Pipit Sitthisak I Poh Chang Academy of Arts I RMUTR ]               Last update : ๒๓ มิถุนายน ๒๕๕๔
ภาพยนตรและวีดทัศนเบื้องตน ๕
                                                                                                 ิ
                     หนวยที่ ๓ ความรเู บื้องตนเกี่ยวกับโทรทัศนและวีดิทศน > ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับวีดิโอ
                                                                          ั

                  ๔) บูลเลย ดิสก (Blu Ray Disc) โดยทั่วไปมีขนาด เสนผาศูนยกลาง ๔.๗๕ นิ้ว
                     (๑๒ ซม.)




                        ภาพที่ ๖ แผนบูลเลย (Blu ray Disc)
  (http://www.dimensionsguide.com/wp-content/uploads/2009/10/Blu-ray-Disk.jpg)




                             ภาพที่ ๗ เคลื่องเลนแผนบูลเลย
   (http://www.techgiftguide.com/entertainment/sony-bdps350-blu-ray-player/134)

                  ๕) Hard disk
                  ๖) Memory Card




[ Pipit Sitthisak I Poh Chang Academy of Arts I RMUTR ]               Last update : ๒๓ มิถุนายน ๒๕๕๔
ภาพยนตรและวีดทัศนเบื้องตน ๖
                                                                                                 ิ
                     หนวยที่ ๓ ความรเู บื้องตนเกี่ยวกับโทรทัศนและวีดิทศน > ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับวีดิโอ
                                                                          ั

    ๒.๓ รปแบบของสญญาณวีดิโอ
         ู       ั




                               ภาพที่ ๘ ลักษณะสัญญาณวีดิโอ
                         (http://www.inlethd.com/?q=node/248)

           รูปแบบของสัญญาณวิดีโอ จะมี 2 รูปแบบคือ (ไพบูลย เปยศิริ. 2545 : 9-10)
           1. แบบอนาล็อค (Analog) เปนสัญญาณภาพในรูปคลื่นที่มีความตอเนื่อง ซึ่งจะมีความ
เปนธรรมชาติมาก แตมีขอดอย คือ จะเกิดการสูญเสียสัญญาณในระหวางเดินทาง ยิ่งใชสายสัญญาณ
ยาว จะสูญเสียมากขึ้นตามไปดวย สื่อบันทึกที่ใชกับสัญญาณแบบนี้ ก็คือ มวนวิดีโอเทปแบบ VHS ,
S-VHS (Super VHS) HI-8 , Betacam sp/sx และ Umatic
           2. ดิจิตอล (Digital) เปนสัญญาณภาพที่อยูในรูปของรหัสตัวเลข 0 กบ 1 ดังนั้นไมวาจะ
                                                                            ั
ตอพวงสายสัญญาณไปในระยะทางไกล ๆ รูปแบบของสัญญาณจะไมสูญเสียตามไปดวย ดังนั้น ภาพ
วิดีโอในรูปแบบนี้จึงมีความคมชัด
               ขอดีของระบบดิจิตอล มีดังนี้
                    1) ไมมีการสูญเสียขอมูลระหวางการสงผานหรือบันทึกตอกันหลาย ๆ ทอด
                    2) สามารถบีบอัดใหเล็กลงตามความตองการได
                    3) สามารถบรรจุภาพ เสียง การเคลื่อนไหว และกราฟกไปพรอม ๆ กน     ั
                    4) สามารถทํางานเชิงโตตอบได




[ Pipit Sitthisak I Poh Chang Academy of Arts I RMUTR ]               Last update : ๒๓ มิถุนายน ๒๕๕๔
ภาพยนตรและวีดทัศนเบื้องตน ๗
                                                                                                 ิ
                     หนวยที่ ๓ ความรเู บื้องตนเกี่ยวกับโทรทัศนและวีดิทศน > ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับวีดิโอ
                                                                          ั

    ๒.๔ รปแบบของเทปวดทศน
         ู              ิ ี ั
        เทปวีดิทัศนแบบอนาลอค (Analog)
                              ็




            VHS                            Super-VHS                                 Hi-8




                         BETACAM                                                   U-matic

                     ภาพที่ ๙ เทปวีดิทัศนแบบอนาล็อคประเภทตาง ๆ
(http://www.vt.tv/c_analogue_video_tape.php?link=l,http://www.torontohomemovies
.com/hi8-tape-transfers.php)

          เทปวิดีทัศนดิจิตอล (DV Format Family)
          มวนเทป DV สวนใหญจะเปนเนื้อเทปโลหะ ซึ่งตางจากมวนเทประบบอนาลอกที่เนื้อเทป
            
เปนสารสังเคราะหเคลือบดวยแมเหล็ก มวนเทป DV จะมีหลายแบบ ดังนี้ (อติพร แสวงสุข. 2546 :
17, Lofty. มปป. : 5)
          ๑. DV และ MiniDV
                 เปนเทปวิดีทัศนดิจิตอลฟอรแมตแรกที่สามารถใชงานรวมกันไดหลายบริษัท ตั้งแตป
ค.ศ. 1994 เพื่อใหเปนมาตรฐานของเทปดิจิตอลสําหรับผูใชตามบานทั่วไป เดิมทีใชชื่อเรียกวา DVC


[ Pipit Sitthisak I Poh Chang Academy of Arts I RMUTR ]               Last update : ๒๓ มิถุนายน ๒๕๕๔
ภาพยนตรและวีดทัศนเบื้องตน ๘
                                                                                                 ิ
                     หนวยที่ ๓ ความรเู บื้องตนเกี่ยวกับโทรทัศนและวีดิทศน > ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับวีดิโอ
                                                                          ั

(Digital Video Cassette) บันทึกแบบ 8 bit อัตราความเร็วในการถายขอมูล 25 Mbit/s ความถี่ใน
การบันทึกเสยง 32-48 MHz มี 2 ขนาด คือ
            ี
                1) ขนาดมาตรฐาน (Standard) ขนาดความกวางของเนื้อเทป ¼ นิ้ว บันทึกเทปได
นาน 270 นาที




            ภาพประกอบที่ ๑๐ เปรียบเทียบขนาดมวนเทป DV กับมวนเทป MiniDV
                (http://www.tvprogear.com/pages/DVandMiniDV.aspx)

               2) ขนาดมินิดีวี (Mini DV) เปนเทปตลับเล็ก ขนาดความกวางของเนื้อเทป 10 มม
บันทึกเทปไดนาน 60 นาที เมื่อบันทึกระบบ SP (Standard Play) และบันทึกไดนานถึง 90 นาทีเมื่อ
บันทึกระบบ LP (Long Play) ภาพที่บันทึกไดมีความชัดถึง 500 เสน




                             ภาพประกอบที่ ๑๑ มวนเทป Mini DV
                                  (www.nychousing.org)




[ Pipit Sitthisak I Poh Chang Academy of Arts I RMUTR ]               Last update : ๒๓ มิถุนายน ๒๕๕๔
ภาพยนตรและวีดทัศนเบื้องตน ๙
                                                                                                 ิ
                     หนวยที่ ๓ ความรเู บื้องตนเกี่ยวกับโทรทัศนและวีดิทศน > ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับวีดิโอ
                                                                          ั

          ๒. DVCAM
                  เปนเทปที่มีพื้นฐานมาจากเทป DV พัฒนาโดยบริษัท Sony เพิ่มความกวางของลู
(Track) เปน 15 มม. และปรับความเร็วในการเดินเทปเปน 28.2 mm./s เวลาในการบันทึกเทปจึง
นอยลงกวามวนแบบ DV เมื่อเทปยาวเทากัน เครื่องเลนเทปแบบ DVCAM จะสามารถเลนเทป DV ได
ดวย




                           ภาพประกอบที่ ๑๒ มวนเทปแบบ DVCAM
                               (www.clwelectronics.com)

           ๓. DVCPro
                    เปนเทปที่มีพื้นฐานการพัฒนามาจากเทป DV โดยบริษัท Panasonic ความกวาง
ของลู (Track) เปน 18 mm ความเร็วในการเดินเทปเปน 33.8 mm./s หรือเกือบสองเทาของเทป
DV




                                 ภาพประกอบที่ ๑๓ มวนเทปแบบ DVCPro
                                                  
                                        (www.1stopshop.nl)




[ Pipit Sitthisak I Poh Chang Academy of Arts I RMUTR ]               Last update : ๒๓ มิถุนายน ๒๕๕๔
ภาพยนตรและวีดทัศนเบื้องตน ๑๐
                                                                                                 ิ
                     หนวยที่ ๓ ความรเู บื้องตนเกี่ยวกับโทรทัศนและวีดิทศน > ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับวีดิโอ
                                                                          ั

         ๔. Digital 8
                   เปนเทปที่มีพื้นฐานการพัฒนามาจากเทป DV โดยบริษัท Sony แตบันทึกลงตลับ
เทป Hi 8 ที่เปนระบบอนาล็อก (Analog) ทําใหกลองวิดีโอที่ใชเทป Digital 8 ใชมวนแบบ Hi 8 กน
                                                                                       ั
ได




                                ภาพประกอบที่ ๒๘ มวนเทปแบบ Digital 8
                                                  
                                       (www.fujifilm.co.uk)

           ๕. D9 (Digital-S)
                  เปนเทปที่มีพื้นฐานการพัฒนามาจากเทป DV โดยบริษัท JVC ความกวางของลู
(Track) เปน 20 mm ความเร็วในการเดินเทป 57.8 mm./s บันทึกไดนานสูงสุด 104 นาที

         ๖. MICROMV
                เปนตลับเทประบบใหมลาสุด มีขนาดเล็กเพียง 30 เปอรเซนตของเทปแบบ Mini
DV บันทึกภาพไดนานถึง 60 นาที โดยบันทึกสัญญาณแบบ MPEG-2 ทําใหภาพที่ไดมีคุณภาพสูง




                           ภาพประกอบที่ ๑๔ มวนเทปแบบ MICROMV
                                            
                                  (www.ritzcamera.com)




[ Pipit Sitthisak I Poh Chang Academy of Arts I RMUTR ]              Last update : ๒๓ มิถุนายน ๒๕๕๔
ภาพยนตรและวีดทัศนเบื้องตน ๑๑
                                                                                                 ิ
                     หนวยที่ ๓ ความรเู บื้องตนเกี่ยวกับโทรทัศนและวีดิทศน > ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับวีดิโอ
                                                                          ั



     ๒.๕ รปแบบของไฟลวดโอ (Video File Formats)
             ู               ิ ี
           ไฟลวิดีโอหรือไฟลภาพเคลื่อนไหวไฟลจะมีอยูหลายรูปแบบ โดยสังเกตจากนามสกุลของ
ไฟลนั้น ๆ เชน movie.mpg ซึ่งหมายถึง ไฟลนี้ชื่อ movie มีนามสกุลเปน mpg ก็คือเปนไฟล
mpeg นั่นเอง (ไพบูลย เปยศิริ. 2545 : 10-11, Loffty. มปป. : 10)
           สําหรับไฟลที่นิยมใชสําหรับการสราง Video CD มีดังนี้
           ๒.๕.๑ AVI (Audio Video Interleave) เปนรูปแบบ (format) ที่พัฒนาโดยบริษัท
ไมโครซอฟต ปจจุบันเปนรูปแบบมาตรฐานที่ใชในการตัดตอวีดิทัศนบนเครื่องคอมพิวเตอรสวนบุคคล
(Personal Computer เรียกยอ ๆ วา PC) คุณสมบัติของไฟล AVI เปนไฟลวีดีโอที่ใหคุณภาพสูง
เนื่องจากมีการบีบอัดนอย จึงทําใหไฟลมีขนาดใหญ วีดีโอที่มีความยาว 1 นาที อาจมีขนาดไฟลถึง 1
GB (Gigabyte) และมีขอจํากัด คือ จับภาพวิดีโอไดขนาดไฟลไมเกิน 4 GB




          ๒.๕.๒ QuickTime เปนรูปแบบที่พฒนาโดยบริษัทแอปเปล (Apple) เพื่อใชกับเครื่อง
                                        ั
แมคอนทอช (Macintosh) QuickTime มีขอไดเปรียบกวา AVI ทงในคณภาพและการใชงาน และมี
       ิ                                                 ้ั ุ              
ขอดีอีกประการหนึ่งก็คือ QuickTime สามารถใชกับเครื่องคอมพิวเตอรสวนบุคคล (Personal
Computer)




[ Pipit Sitthisak I Poh Chang Academy of Arts I RMUTR ]              Last update : ๒๓ มิถุนายน ๒๕๕๔
ภาพยนตรและวีดทัศนเบื้องตน ๑๒
                                                                                                 ิ
                     หนวยที่ ๓ ความรเู บื้องตนเกี่ยวกับโทรทัศนและวีดิทศน > ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับวีดิโอ
                                                                          ั

           ๒.๕.๓ MPEG (Motion Picture Expert Group) เปนไฟลที่มีการเขารหัสหรือบีบอัด
(Codec) จากไฟล AVI ทําใหไดไฟลที่มีขนาดเล็กลง เปนรูปแบบมาตรฐานที่นิยมใชกันกวางขวางมาก
ที่สุด และคุณภาพหลายระดับ ตั้งแตคมชัดที่สุด จนถึงอยูในเกณฑพอใชได




                  อยางไรก็ตาม      ยังมีไฟลอีกประเภทหนึ่ง นั่นคือ DAT (*.dat) เปนไฟล ใน
รูปแบบ MPEG-1 ที่อยูในแผน VCD ซึ่งสามารถเปดดูไดทั้งคอมพิวเตอรและเครื่องเลน VCD ที่ใชตาม
บาน ซึ่งไฟลรูปแบบนี้จะมีอยูเฉพาะในแผน Video CD หากจะนําไปตัดตอหรือใชงานอยางอื่น
จะตองแปลงใหอยูในรูปแบบของไฟล MPEG-1 เสียกอน โดยใชโปรแกรมแปลงไฟล เชน โปรแกรม
Tmpeg




    ๒.๖ การบีบอัดขอมูลวิดีโอ

             ขอมูลวิดีโอเปนขอมูลที่มีปริมาณสูงมาก จึงไมสะดวกตอการนําไปใชงานหลาย ๆ แบบ
ดังนั้นจึงจําเปนตองมีการนําไปบีบอัดใหเปนขอมูลที่มีขนาดเล็กลงเสียกอน (Lofty. มปป. : 4)
             การบีบอัดขอมูลจะใชอุปกรณที่เรียกวา CODEC (Compressor-DECompressor) ซึ่งจะ
ทําหนาที่ทั้งบีบอัดและคลายขอมูล             โดยในอดีต CODEC จะตองอาศัยฮารดแวรเปนหลัก แต
ตอมาในปจจุบันไดมีการพัฒนา CODEC ที่ใชซอฟตแวรอยางเดียว โดยไมตองติดตั้งฮารดแวรเพิ่มเติม

          ชนิดของการบีบอัดขอมูลวิดีโอ
          ๑. M-JPEG หรอ Motion-JPEG เปนการบีบอัดภาพนิ่งแบบ JPEG (Joint
                       ื
Photographic Expert Group) ซึ่งจะใชหลักการลดความซ้ําซอนภายในภาพเดียวกัน
          ๒. MPEG (Moving Picture Experts Group) ใชหลักการลดความซ้ําซอนกันระหวาง
ภาพในกลุมภาพเดียวกัน (Group of Picture) ซึ่ง MPEG เปนมาตรฐานของการบีบอัดสัญญาณ
ภาพและเสียงคุณภาพสูง ที่กําหนดโดยคณะอนุกรรมการขององคกรกําหนดมาตรฐานสากล (ISO)
มาตรฐาน MPEG แบงยอยออกเปนอีกหลายชนิด ดังนี้ (ไพบูลย เปยศิริ. 2545 : 133-134)




[ Pipit Sitthisak I Poh Chang Academy of Arts I RMUTR ]              Last update : ๒๓ มิถุนายน ๒๕๕๔
ภาพยนตรและวีดทัศนเบื้องตน ๑๓
                                                                                                 ิ
                     หนวยที่ ๓ ความรเู บื้องตนเกี่ยวกับโทรทัศนและวีดิทศน > ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับวีดิโอ
                                                                          ั

                    ๑) MPEG-1 เปนมาตรฐานที่กําหนดขึ้นเพื่อใหใชกับสัญญาณวิดีโอระดับ VHS ท่ี
ใชอัตราการสงผานขอมูล 1.15 Mb/s จึงมีความละเอียดเพียง 1 ใน 4 ของระบบโทรทศน คือ 352
                                                                                     ั
x 288 Pixels (Pal) 352x 240 Pixels (NTSC) ซึ่งสามารถใชเลนกับเครื่องคอมพิวเตอรและเครื่อง
เลน Video CD ทั่วไปได
                    ๒) MPEG-2 เปนมาตรฐานที่พัฒนาขึ้นเพื่อใหใชกับสัญญาณวิดีโอคุณภาพสูง
(Broadcast) มีลักษณะการบีบอัดคลายกับ MPEG-1 แตใชอัตราการสงผานขอมูลที่สูงกวามาก จึง
สามารถแสดงภาพบนจอไดละเอียดเทากับหนาจอโทรทัศน คือ 704x756 Pixels (PAL) 704 x 480
Pixels (NTSC) ดังนั้น เนื่องจากเปนมาตรฐานที่ใหสัญญาณวิดีโอคุณภาพสูง จึงนิยมนํา MPEG-
2 ไปผลิตเปน SVCD หรอ DVD ที่กําลังเปนที่นิยมกันไปทั่วโลก
                        ื
                    ๓) MPEG-3 เปนมาตรฐานที่พัฒนาเพื่อใชกับวิดีโอคุณภาพสูง ในระบบโทรทัศน
แบบความคมชดสง (HDTV) แตยังไมเปนที่นิยม
               ั ู
                    ๔) MPEG-4 เปนมาตรฐานที่พัฒนาเพื่อใหใชกับวิดีโอที่มีอัตราการสงผานขอมูล
ต่ํามาก เชน การใชงานบนอินเตอรเน็ต โดยยังใหคุณภาพของภาพและเสียงที่ดีอยู
                    ๕) MPEG-7 เปนมาตรฐานที่กําลังอยูระหวางการพัฒนา
            ๓. DV (Digital Video) เปนการบีบอัดขอมูลที่ใชกับระบบเทป DV ลกษณะคลายกบ M-
                                                                             ั          ั
JPEG แตมีประสิทธิภาพสูงกวา

           ประเภทของการบีบอัดขอมูลวิดีโอ
           ๑. Loss less เปนการบีบอัดที่ไมมีการสูญเสียคุณภาพเลย เชน M-JPEG CODEC ท่ี
อัตราสวนการบีบอัด 2:1 หรือนอยกวา
           ๒. Visual less เปนการบีบอัดขอมูลที่มีการสูญเสียคุณภาพไปสวนหนึ่ง แตเปนการ
สูญเสียที่มองไมเห็นดวยตาเปลา เชน DV CODEC
           ๓. Lossy เปนการบีบอัดขอมูลที่มีการสูญเสียคุณภาพจนสังเกตเห็นได เชน M-JPEG
CODEC ที่อัตราสวนการบีบอัดมากกวา 5:1




[ Pipit Sitthisak I Poh Chang Academy of Arts I RMUTR ]              Last update : ๒๓ มิถุนายน ๒๕๕๔

More Related Content

More from Pipit Sitthisak

การบันทึกเสียงด้วยโปรแกรม Sound forge 7
การบันทึกเสียงด้วยโปรแกรม Sound forge 7การบันทึกเสียงด้วยโปรแกรม Sound forge 7
การบันทึกเสียงด้วยโปรแกรม Sound forge 7Pipit Sitthisak
 
การแปลง Dvd video เป็นไฟล์ avi ด้วยโปรแกรม dvd2 avi ver3
การแปลง Dvd video เป็นไฟล์ avi ด้วยโปรแกรม dvd2 avi ver3การแปลง Dvd video เป็นไฟล์ avi ด้วยโปรแกรม dvd2 avi ver3
การแปลง Dvd video เป็นไฟล์ avi ด้วยโปรแกรม dvd2 avi ver3Pipit Sitthisak
 
การใส่ลิงก์ (link) และจัดหมวดหมู่ของลิงก์ใน wordpress
การใส่ลิงก์ (link) และจัดหมวดหมู่ของลิงก์ใน wordpressการใส่ลิงก์ (link) และจัดหมวดหมู่ของลิงก์ใน wordpress
การใส่ลิงก์ (link) และจัดหมวดหมู่ของลิงก์ใน wordpressPipit Sitthisak
 
การสมัครเป็นสมาชิก Google
การสมัครเป็นสมาชิก Googleการสมัครเป็นสมาชิก Google
การสมัครเป็นสมาชิก GooglePipit Sitthisak
 
Part 2.2 ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพ
Part 2.2 ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพPart 2.2 ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพ
Part 2.2 ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพPipit Sitthisak
 
การใช้ Google+ เพื่อการแชร์ (Share) ภาพ
การใช้ Google+ เพื่อการแชร์ (Share) ภาพการใช้ Google+ เพื่อการแชร์ (Share) ภาพ
การใช้ Google+ เพื่อการแชร์ (Share) ภาพPipit Sitthisak
 
4 คุณลักษณะ บทบาทหน้าที่และอิทธิพลของภาพยนตร์
4 คุณลักษณะ บทบาทหน้าที่และอิทธิพลของภาพยนตร์4 คุณลักษณะ บทบาทหน้าที่และอิทธิพลของภาพยนตร์
4 คุณลักษณะ บทบาทหน้าที่และอิทธิพลของภาพยนตร์Pipit Sitthisak
 
1.3 แนวภาพยนตร์
1.3 แนวภาพยนตร์1.3 แนวภาพยนตร์
1.3 แนวภาพยนตร์Pipit Sitthisak
 
การเพิ่ม User ใน wordpress
การเพิ่ม User ใน wordpressการเพิ่ม User ใน wordpress
การเพิ่ม User ใน wordpressPipit Sitthisak
 
4 การแชร์ไฟล์จาก slideshare ไปยังเว็บบล็อก
4 การแชร์ไฟล์จาก slideshare ไปยังเว็บบล็อก4 การแชร์ไฟล์จาก slideshare ไปยังเว็บบล็อก
4 การแชร์ไฟล์จาก slideshare ไปยังเว็บบล็อกPipit Sitthisak
 
การใส่ลายน้ำแสดงลิขสิทธ์และใส่รหัสป้องกัน
การใส่ลายน้ำแสดงลิขสิทธ์และใส่รหัสป้องกันการใส่ลายน้ำแสดงลิขสิทธ์และใส่รหัสป้องกัน
การใส่ลายน้ำแสดงลิขสิทธ์และใส่รหัสป้องกันPipit Sitthisak
 
การสมัครเป็นสมาชิก slideshare
การสมัครเป็นสมาชิก slideshareการสมัครเป็นสมาชิก slideshare
การสมัครเป็นสมาชิก slidesharePipit Sitthisak
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์แมคอินทอช Ver2
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์แมคอินทอช Ver2ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์แมคอินทอช Ver2
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์แมคอินทอช Ver2Pipit Sitthisak
 
สอบปฏิบัติ ปลายภาค 1-2554
สอบปฏิบัติ ปลายภาค 1-2554สอบปฏิบัติ ปลายภาค 1-2554
สอบปฏิบัติ ปลายภาค 1-2554Pipit Sitthisak
 
Project 1 การสื่อความหมายด้วยภาพ
Project 1 การสื่อความหมายด้วยภาพProject 1 การสื่อความหมายด้วยภาพ
Project 1 การสื่อความหมายด้วยภาพPipit Sitthisak
 
Project 2 final project -p3
Project 2  final project -p3Project 2  final project -p3
Project 2 final project -p3Pipit Sitthisak
 
Project 1 การสื่อความหมายด้วยภาพ
Project 1 การสื่อความหมายด้วยภาพProject 1 การสื่อความหมายด้วยภาพ
Project 1 การสื่อความหมายด้วยภาพPipit Sitthisak
 
Chapter7 6-pr5-exporting movies-pdf
Chapter7 6-pr5-exporting movies-pdfChapter7 6-pr5-exporting movies-pdf
Chapter7 6-pr5-exporting movies-pdfPipit Sitthisak
 
Chapter7 5-pr5-mac-title-pdf
Chapter7 5-pr5-mac-title-pdfChapter7 5-pr5-mac-title-pdf
Chapter7 5-pr5-mac-title-pdfPipit Sitthisak
 
Chapter7 3-pr5-mac-transition
Chapter7 3-pr5-mac-transitionChapter7 3-pr5-mac-transition
Chapter7 3-pr5-mac-transitionPipit Sitthisak
 

More from Pipit Sitthisak (20)

การบันทึกเสียงด้วยโปรแกรม Sound forge 7
การบันทึกเสียงด้วยโปรแกรม Sound forge 7การบันทึกเสียงด้วยโปรแกรม Sound forge 7
การบันทึกเสียงด้วยโปรแกรม Sound forge 7
 
การแปลง Dvd video เป็นไฟล์ avi ด้วยโปรแกรม dvd2 avi ver3
การแปลง Dvd video เป็นไฟล์ avi ด้วยโปรแกรม dvd2 avi ver3การแปลง Dvd video เป็นไฟล์ avi ด้วยโปรแกรม dvd2 avi ver3
การแปลง Dvd video เป็นไฟล์ avi ด้วยโปรแกรม dvd2 avi ver3
 
การใส่ลิงก์ (link) และจัดหมวดหมู่ของลิงก์ใน wordpress
การใส่ลิงก์ (link) และจัดหมวดหมู่ของลิงก์ใน wordpressการใส่ลิงก์ (link) และจัดหมวดหมู่ของลิงก์ใน wordpress
การใส่ลิงก์ (link) และจัดหมวดหมู่ของลิงก์ใน wordpress
 
การสมัครเป็นสมาชิก Google
การสมัครเป็นสมาชิก Googleการสมัครเป็นสมาชิก Google
การสมัครเป็นสมาชิก Google
 
Part 2.2 ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพ
Part 2.2 ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพPart 2.2 ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพ
Part 2.2 ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพ
 
การใช้ Google+ เพื่อการแชร์ (Share) ภาพ
การใช้ Google+ เพื่อการแชร์ (Share) ภาพการใช้ Google+ เพื่อการแชร์ (Share) ภาพ
การใช้ Google+ เพื่อการแชร์ (Share) ภาพ
 
4 คุณลักษณะ บทบาทหน้าที่และอิทธิพลของภาพยนตร์
4 คุณลักษณะ บทบาทหน้าที่และอิทธิพลของภาพยนตร์4 คุณลักษณะ บทบาทหน้าที่และอิทธิพลของภาพยนตร์
4 คุณลักษณะ บทบาทหน้าที่และอิทธิพลของภาพยนตร์
 
1.3 แนวภาพยนตร์
1.3 แนวภาพยนตร์1.3 แนวภาพยนตร์
1.3 แนวภาพยนตร์
 
การเพิ่ม User ใน wordpress
การเพิ่ม User ใน wordpressการเพิ่ม User ใน wordpress
การเพิ่ม User ใน wordpress
 
4 การแชร์ไฟล์จาก slideshare ไปยังเว็บบล็อก
4 การแชร์ไฟล์จาก slideshare ไปยังเว็บบล็อก4 การแชร์ไฟล์จาก slideshare ไปยังเว็บบล็อก
4 การแชร์ไฟล์จาก slideshare ไปยังเว็บบล็อก
 
การใส่ลายน้ำแสดงลิขสิทธ์และใส่รหัสป้องกัน
การใส่ลายน้ำแสดงลิขสิทธ์และใส่รหัสป้องกันการใส่ลายน้ำแสดงลิขสิทธ์และใส่รหัสป้องกัน
การใส่ลายน้ำแสดงลิขสิทธ์และใส่รหัสป้องกัน
 
การสมัครเป็นสมาชิก slideshare
การสมัครเป็นสมาชิก slideshareการสมัครเป็นสมาชิก slideshare
การสมัครเป็นสมาชิก slideshare
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์แมคอินทอช Ver2
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์แมคอินทอช Ver2ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์แมคอินทอช Ver2
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์แมคอินทอช Ver2
 
สอบปฏิบัติ ปลายภาค 1-2554
สอบปฏิบัติ ปลายภาค 1-2554สอบปฏิบัติ ปลายภาค 1-2554
สอบปฏิบัติ ปลายภาค 1-2554
 
Project 1 การสื่อความหมายด้วยภาพ
Project 1 การสื่อความหมายด้วยภาพProject 1 การสื่อความหมายด้วยภาพ
Project 1 การสื่อความหมายด้วยภาพ
 
Project 2 final project -p3
Project 2  final project -p3Project 2  final project -p3
Project 2 final project -p3
 
Project 1 การสื่อความหมายด้วยภาพ
Project 1 การสื่อความหมายด้วยภาพProject 1 การสื่อความหมายด้วยภาพ
Project 1 การสื่อความหมายด้วยภาพ
 
Chapter7 6-pr5-exporting movies-pdf
Chapter7 6-pr5-exporting movies-pdfChapter7 6-pr5-exporting movies-pdf
Chapter7 6-pr5-exporting movies-pdf
 
Chapter7 5-pr5-mac-title-pdf
Chapter7 5-pr5-mac-title-pdfChapter7 5-pr5-mac-title-pdf
Chapter7 5-pr5-mac-title-pdf
 
Chapter7 3-pr5-mac-transition
Chapter7 3-pr5-mac-transitionChapter7 3-pr5-mac-transition
Chapter7 3-pr5-mac-transition
 

Unit 3 2 basic to video-pdf

  • 1. หนวยที่ ๓ ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับโทรทัศนและวีดิทัศน Pipit Sitthisak Poh Chang Academy of ARTs RMUTR ๒. ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับวีดิทัศน การผลิตรายการโทรทัศนเพื่อออกอากาศทางสถานีโทรทัศน ทําได 2 ลกษณะ คือ การ ั ผลิตเปนรายการสด และการบันทึกเปนเทปโทรทศนไวกอน ซึ่งเปนที่นิยมในปจจุบัน เนื่องจากการ ั  บันทึกรายการลงในเทปโทรทัศนสามารถผลิตรายการไดงายกวา และสามารถ แกไขขอบกพรองตาง ๆ กอนนําไปออกรายการได ที่สําคัญคือเปนการบันทึกภาพไวกอน แลวนํามาตัดตอภายหลัง เชนเดียวกับการผลิตภาพยนตร ซึ่งเทคนิคการตัดตอจะชวยใหการดําเนินเรื่องกระชับไมอืดอาด และ ยังชวยใหสามารถนําภาพเหตุการณอื่นหรือเวลาอื่น หรือแฟมภาพที่มีอยู (Stock shot) มานําเสนอ รวมอยูในรายการในหองสตูดิโอได (สุพัฒตรา ลิมปะพันธ ม.ป.ป. : 16 - 20) ภาพที่ ๑ การผลิตรายการโทรทัศนเพื่อออกอากาศทางสถานีโทรทัศน (tv studio.www.nrk.no) สําหรับการผลิตรายการโทรทัศนที่ไมไดผลิตเพื่อออกอากาศทางสถานีโทรทัศน เรา เรียกวา “วิดีโอเทป (Video Tape) หรือวิดีทัศน”
  • 2. ภาพยนตรและวีดทัศนเบื้องตน ๒ ิ หนวยที่ ๓ ความรเู บื้องตนเกี่ยวกับโทรทัศนและวีดิทศน > ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับวีดิโอ ั ๒.๑ ความหมายของวดโอเทป ิ ี คําวา “วิดีโอ” เปนคําเรียกทับศัพทในภาษาอังกฤษ มาจากคําวา Video ซึ่งเวลา เขียนตองเขียนเปนคําเต็ม ไมใชเขียนเปนคํายอวา V.D.O อยางเชนที่รานใหเชา หรือรานจําหนาย มวนวิดีโอใชกัน ความหมายของคําวา Video แปลวา เกี่ยวกับการเห็น หรือที่เกี่ยวกับภาพ สวน ความหมายของคําวา Tape แปลวา ผาหรือกระดาษทําเปนแผนบาง ๆ อยางริบบิ้น แตเทปที่นํามาใช ในที่นี้ ทํามาจากพลาสติก เมื่อนําคําขางตนทั้งสองคํามารวมกันเปน Video Tape แปลความหมายวา แถบ  พลาสติกเคลือบสารแมเหล็กสําหรับบันทึกภาพ (สมเจตน เมฆพายัพ. 2540 : 100 - 109) ความหมายของวิดีทัศน คําวา “วิดีทัศน” เปนคําที่คณะกรรมการบัญญัติศัพทวิทยาศาสตร ราชบัณฑิตยสถาน บัญญัติขึ้นเพื่อใชในเชิงวิชาการแทนคําวา วิดีโอ โดยใหความหมายดังนี้ วิดีทัศน หมายถึง กระบวนการบันทึกหรือเก็บสัญญาณทางดานภาพ และสัญญ ญาณเสียงไวในสื่อกลางที่เปนวัสดุทางแมเหล็กไฟฟา และรวมไปถึงกระบวนการ ถายทอดภาพและ เสียง โดยผานอุปกรณทางอีเล็กทรอนิกสไปสูผูรับ (บุญเที่ยง จุยเจริญ. 2534 : 179) ๒.๒ สื่อบันทึกวีดิโอ ภาพที่ ๒ สื่อบันทึกภาพยนตรและวีดิโอประเภทตาง ๆ (http://www.vt.tv/index.php?link=t) [ Pipit Sitthisak I Poh Chang Academy of Arts I RMUTR ] Last update : ๒๓ มิถุนายน ๒๕๕๔
  • 3. ภาพยนตรและวีดทัศนเบื้องตน ๓ ิ หนวยที่ ๓ ความรเู บื้องตนเกี่ยวกับโทรทัศนและวีดิทศน > ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับวีดิโอ ั วัสดุที่เปนสื่อบันทึก (Storage Media) สําหรับบันทึกและถายทอดภาพและเสียงไปสูผูรับ แบงออกเปน ๖ ลักษณะ ไดแก ๑) แถบวิดีทัศน (Video Tape) ทําดวยวัสดุที่เปน แถบแมเหล็กยาว ๆ ปจจุบัน ไมคอยเปนที่นยมใชแลว มีเหลือที่ใชอยูไมกี่ประเภท  ิ   VHS, Mini DV ภาพที่ ๓ แถบวิดีทัศนแบบ VHS แบบ mini DV และแบบ Betacam (www.asia.cnet.com, www.completemedia.com.au) [ Pipit Sitthisak I Poh Chang Academy of Arts I RMUTR ] Last update : ๒๓ มิถุนายน ๒๕๕๔
  • 4. ภาพยนตรและวีดทัศนเบื้องตน ๔ ิ หนวยที่ ๓ ความรเู บื้องตนเกี่ยวกับโทรทัศนและวีดิทศน > ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับวีดิโอ ั ๒) วิดีโอดิสค (Video Disc) เปนแผนโลหะกลมบาง ภาพที่ ๔ วิดีโอดิสค video disc (www.george-porter.com) ๓) ดีวีดี วีดิโอ (DVD Video) ภาพที่ ๕ dvd-r disc (www.bdharper.com.jpg) [ Pipit Sitthisak I Poh Chang Academy of Arts I RMUTR ] Last update : ๒๓ มิถุนายน ๒๕๕๔
  • 5. ภาพยนตรและวีดทัศนเบื้องตน ๕ ิ หนวยที่ ๓ ความรเู บื้องตนเกี่ยวกับโทรทัศนและวีดิทศน > ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับวีดิโอ ั ๔) บูลเลย ดิสก (Blu Ray Disc) โดยทั่วไปมีขนาด เสนผาศูนยกลาง ๔.๗๕ นิ้ว (๑๒ ซม.) ภาพที่ ๖ แผนบูลเลย (Blu ray Disc) (http://www.dimensionsguide.com/wp-content/uploads/2009/10/Blu-ray-Disk.jpg) ภาพที่ ๗ เคลื่องเลนแผนบูลเลย (http://www.techgiftguide.com/entertainment/sony-bdps350-blu-ray-player/134) ๕) Hard disk ๖) Memory Card [ Pipit Sitthisak I Poh Chang Academy of Arts I RMUTR ] Last update : ๒๓ มิถุนายน ๒๕๕๔
  • 6. ภาพยนตรและวีดทัศนเบื้องตน ๖ ิ หนวยที่ ๓ ความรเู บื้องตนเกี่ยวกับโทรทัศนและวีดิทศน > ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับวีดิโอ ั ๒.๓ รปแบบของสญญาณวีดิโอ ู ั ภาพที่ ๘ ลักษณะสัญญาณวีดิโอ (http://www.inlethd.com/?q=node/248) รูปแบบของสัญญาณวิดีโอ จะมี 2 รูปแบบคือ (ไพบูลย เปยศิริ. 2545 : 9-10) 1. แบบอนาล็อค (Analog) เปนสัญญาณภาพในรูปคลื่นที่มีความตอเนื่อง ซึ่งจะมีความ เปนธรรมชาติมาก แตมีขอดอย คือ จะเกิดการสูญเสียสัญญาณในระหวางเดินทาง ยิ่งใชสายสัญญาณ ยาว จะสูญเสียมากขึ้นตามไปดวย สื่อบันทึกที่ใชกับสัญญาณแบบนี้ ก็คือ มวนวิดีโอเทปแบบ VHS , S-VHS (Super VHS) HI-8 , Betacam sp/sx และ Umatic 2. ดิจิตอล (Digital) เปนสัญญาณภาพที่อยูในรูปของรหัสตัวเลข 0 กบ 1 ดังนั้นไมวาจะ ั ตอพวงสายสัญญาณไปในระยะทางไกล ๆ รูปแบบของสัญญาณจะไมสูญเสียตามไปดวย ดังนั้น ภาพ วิดีโอในรูปแบบนี้จึงมีความคมชัด ขอดีของระบบดิจิตอล มีดังนี้ 1) ไมมีการสูญเสียขอมูลระหวางการสงผานหรือบันทึกตอกันหลาย ๆ ทอด 2) สามารถบีบอัดใหเล็กลงตามความตองการได 3) สามารถบรรจุภาพ เสียง การเคลื่อนไหว และกราฟกไปพรอม ๆ กน ั 4) สามารถทํางานเชิงโตตอบได [ Pipit Sitthisak I Poh Chang Academy of Arts I RMUTR ] Last update : ๒๓ มิถุนายน ๒๕๕๔
  • 7. ภาพยนตรและวีดทัศนเบื้องตน ๗ ิ หนวยที่ ๓ ความรเู บื้องตนเกี่ยวกับโทรทัศนและวีดิทศน > ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับวีดิโอ ั ๒.๔ รปแบบของเทปวดทศน ู ิ ี ั เทปวีดิทัศนแบบอนาลอค (Analog) ็ VHS Super-VHS Hi-8 BETACAM U-matic ภาพที่ ๙ เทปวีดิทัศนแบบอนาล็อคประเภทตาง ๆ (http://www.vt.tv/c_analogue_video_tape.php?link=l,http://www.torontohomemovies .com/hi8-tape-transfers.php) เทปวิดีทัศนดิจิตอล (DV Format Family) มวนเทป DV สวนใหญจะเปนเนื้อเทปโลหะ ซึ่งตางจากมวนเทประบบอนาลอกที่เนื้อเทป  เปนสารสังเคราะหเคลือบดวยแมเหล็ก มวนเทป DV จะมีหลายแบบ ดังนี้ (อติพร แสวงสุข. 2546 : 17, Lofty. มปป. : 5) ๑. DV และ MiniDV เปนเทปวิดีทัศนดิจิตอลฟอรแมตแรกที่สามารถใชงานรวมกันไดหลายบริษัท ตั้งแตป ค.ศ. 1994 เพื่อใหเปนมาตรฐานของเทปดิจิตอลสําหรับผูใชตามบานทั่วไป เดิมทีใชชื่อเรียกวา DVC [ Pipit Sitthisak I Poh Chang Academy of Arts I RMUTR ] Last update : ๒๓ มิถุนายน ๒๕๕๔
  • 8. ภาพยนตรและวีดทัศนเบื้องตน ๘ ิ หนวยที่ ๓ ความรเู บื้องตนเกี่ยวกับโทรทัศนและวีดิทศน > ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับวีดิโอ ั (Digital Video Cassette) บันทึกแบบ 8 bit อัตราความเร็วในการถายขอมูล 25 Mbit/s ความถี่ใน การบันทึกเสยง 32-48 MHz มี 2 ขนาด คือ ี 1) ขนาดมาตรฐาน (Standard) ขนาดความกวางของเนื้อเทป ¼ นิ้ว บันทึกเทปได นาน 270 นาที ภาพประกอบที่ ๑๐ เปรียบเทียบขนาดมวนเทป DV กับมวนเทป MiniDV (http://www.tvprogear.com/pages/DVandMiniDV.aspx) 2) ขนาดมินิดีวี (Mini DV) เปนเทปตลับเล็ก ขนาดความกวางของเนื้อเทป 10 มม บันทึกเทปไดนาน 60 นาที เมื่อบันทึกระบบ SP (Standard Play) และบันทึกไดนานถึง 90 นาทีเมื่อ บันทึกระบบ LP (Long Play) ภาพที่บันทึกไดมีความชัดถึง 500 เสน ภาพประกอบที่ ๑๑ มวนเทป Mini DV (www.nychousing.org) [ Pipit Sitthisak I Poh Chang Academy of Arts I RMUTR ] Last update : ๒๓ มิถุนายน ๒๕๕๔
  • 9. ภาพยนตรและวีดทัศนเบื้องตน ๙ ิ หนวยที่ ๓ ความรเู บื้องตนเกี่ยวกับโทรทัศนและวีดิทศน > ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับวีดิโอ ั ๒. DVCAM เปนเทปที่มีพื้นฐานมาจากเทป DV พัฒนาโดยบริษัท Sony เพิ่มความกวางของลู (Track) เปน 15 มม. และปรับความเร็วในการเดินเทปเปน 28.2 mm./s เวลาในการบันทึกเทปจึง นอยลงกวามวนแบบ DV เมื่อเทปยาวเทากัน เครื่องเลนเทปแบบ DVCAM จะสามารถเลนเทป DV ได ดวย ภาพประกอบที่ ๑๒ มวนเทปแบบ DVCAM (www.clwelectronics.com) ๓. DVCPro เปนเทปที่มีพื้นฐานการพัฒนามาจากเทป DV โดยบริษัท Panasonic ความกวาง ของลู (Track) เปน 18 mm ความเร็วในการเดินเทปเปน 33.8 mm./s หรือเกือบสองเทาของเทป DV ภาพประกอบที่ ๑๓ มวนเทปแบบ DVCPro  (www.1stopshop.nl) [ Pipit Sitthisak I Poh Chang Academy of Arts I RMUTR ] Last update : ๒๓ มิถุนายน ๒๕๕๔
  • 10. ภาพยนตรและวีดทัศนเบื้องตน ๑๐ ิ หนวยที่ ๓ ความรเู บื้องตนเกี่ยวกับโทรทัศนและวีดิทศน > ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับวีดิโอ ั ๔. Digital 8 เปนเทปที่มีพื้นฐานการพัฒนามาจากเทป DV โดยบริษัท Sony แตบันทึกลงตลับ เทป Hi 8 ที่เปนระบบอนาล็อก (Analog) ทําใหกลองวิดีโอที่ใชเทป Digital 8 ใชมวนแบบ Hi 8 กน  ั ได ภาพประกอบที่ ๒๘ มวนเทปแบบ Digital 8  (www.fujifilm.co.uk) ๕. D9 (Digital-S) เปนเทปที่มีพื้นฐานการพัฒนามาจากเทป DV โดยบริษัท JVC ความกวางของลู (Track) เปน 20 mm ความเร็วในการเดินเทป 57.8 mm./s บันทึกไดนานสูงสุด 104 นาที ๖. MICROMV เปนตลับเทประบบใหมลาสุด มีขนาดเล็กเพียง 30 เปอรเซนตของเทปแบบ Mini DV บันทึกภาพไดนานถึง 60 นาที โดยบันทึกสัญญาณแบบ MPEG-2 ทําใหภาพที่ไดมีคุณภาพสูง ภาพประกอบที่ ๑๔ มวนเทปแบบ MICROMV  (www.ritzcamera.com) [ Pipit Sitthisak I Poh Chang Academy of Arts I RMUTR ] Last update : ๒๓ มิถุนายน ๒๕๕๔
  • 11. ภาพยนตรและวีดทัศนเบื้องตน ๑๑ ิ หนวยที่ ๓ ความรเู บื้องตนเกี่ยวกับโทรทัศนและวีดิทศน > ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับวีดิโอ ั ๒.๕ รปแบบของไฟลวดโอ (Video File Formats) ู ิ ี ไฟลวิดีโอหรือไฟลภาพเคลื่อนไหวไฟลจะมีอยูหลายรูปแบบ โดยสังเกตจากนามสกุลของ ไฟลนั้น ๆ เชน movie.mpg ซึ่งหมายถึง ไฟลนี้ชื่อ movie มีนามสกุลเปน mpg ก็คือเปนไฟล mpeg นั่นเอง (ไพบูลย เปยศิริ. 2545 : 10-11, Loffty. มปป. : 10) สําหรับไฟลที่นิยมใชสําหรับการสราง Video CD มีดังนี้ ๒.๕.๑ AVI (Audio Video Interleave) เปนรูปแบบ (format) ที่พัฒนาโดยบริษัท ไมโครซอฟต ปจจุบันเปนรูปแบบมาตรฐานที่ใชในการตัดตอวีดิทัศนบนเครื่องคอมพิวเตอรสวนบุคคล (Personal Computer เรียกยอ ๆ วา PC) คุณสมบัติของไฟล AVI เปนไฟลวีดีโอที่ใหคุณภาพสูง เนื่องจากมีการบีบอัดนอย จึงทําใหไฟลมีขนาดใหญ วีดีโอที่มีความยาว 1 นาที อาจมีขนาดไฟลถึง 1 GB (Gigabyte) และมีขอจํากัด คือ จับภาพวิดีโอไดขนาดไฟลไมเกิน 4 GB ๒.๕.๒ QuickTime เปนรูปแบบที่พฒนาโดยบริษัทแอปเปล (Apple) เพื่อใชกับเครื่อง ั แมคอนทอช (Macintosh) QuickTime มีขอไดเปรียบกวา AVI ทงในคณภาพและการใชงาน และมี ิ ้ั ุ  ขอดีอีกประการหนึ่งก็คือ QuickTime สามารถใชกับเครื่องคอมพิวเตอรสวนบุคคล (Personal Computer) [ Pipit Sitthisak I Poh Chang Academy of Arts I RMUTR ] Last update : ๒๓ มิถุนายน ๒๕๕๔
  • 12. ภาพยนตรและวีดทัศนเบื้องตน ๑๒ ิ หนวยที่ ๓ ความรเู บื้องตนเกี่ยวกับโทรทัศนและวีดิทศน > ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับวีดิโอ ั ๒.๕.๓ MPEG (Motion Picture Expert Group) เปนไฟลที่มีการเขารหัสหรือบีบอัด (Codec) จากไฟล AVI ทําใหไดไฟลที่มีขนาดเล็กลง เปนรูปแบบมาตรฐานที่นิยมใชกันกวางขวางมาก ที่สุด และคุณภาพหลายระดับ ตั้งแตคมชัดที่สุด จนถึงอยูในเกณฑพอใชได อยางไรก็ตาม ยังมีไฟลอีกประเภทหนึ่ง นั่นคือ DAT (*.dat) เปนไฟล ใน รูปแบบ MPEG-1 ที่อยูในแผน VCD ซึ่งสามารถเปดดูไดทั้งคอมพิวเตอรและเครื่องเลน VCD ที่ใชตาม บาน ซึ่งไฟลรูปแบบนี้จะมีอยูเฉพาะในแผน Video CD หากจะนําไปตัดตอหรือใชงานอยางอื่น จะตองแปลงใหอยูในรูปแบบของไฟล MPEG-1 เสียกอน โดยใชโปรแกรมแปลงไฟล เชน โปรแกรม Tmpeg ๒.๖ การบีบอัดขอมูลวิดีโอ ขอมูลวิดีโอเปนขอมูลที่มีปริมาณสูงมาก จึงไมสะดวกตอการนําไปใชงานหลาย ๆ แบบ ดังนั้นจึงจําเปนตองมีการนําไปบีบอัดใหเปนขอมูลที่มีขนาดเล็กลงเสียกอน (Lofty. มปป. : 4) การบีบอัดขอมูลจะใชอุปกรณที่เรียกวา CODEC (Compressor-DECompressor) ซึ่งจะ ทําหนาที่ทั้งบีบอัดและคลายขอมูล โดยในอดีต CODEC จะตองอาศัยฮารดแวรเปนหลัก แต ตอมาในปจจุบันไดมีการพัฒนา CODEC ที่ใชซอฟตแวรอยางเดียว โดยไมตองติดตั้งฮารดแวรเพิ่มเติม ชนิดของการบีบอัดขอมูลวิดีโอ ๑. M-JPEG หรอ Motion-JPEG เปนการบีบอัดภาพนิ่งแบบ JPEG (Joint ื Photographic Expert Group) ซึ่งจะใชหลักการลดความซ้ําซอนภายในภาพเดียวกัน ๒. MPEG (Moving Picture Experts Group) ใชหลักการลดความซ้ําซอนกันระหวาง ภาพในกลุมภาพเดียวกัน (Group of Picture) ซึ่ง MPEG เปนมาตรฐานของการบีบอัดสัญญาณ ภาพและเสียงคุณภาพสูง ที่กําหนดโดยคณะอนุกรรมการขององคกรกําหนดมาตรฐานสากล (ISO) มาตรฐาน MPEG แบงยอยออกเปนอีกหลายชนิด ดังนี้ (ไพบูลย เปยศิริ. 2545 : 133-134) [ Pipit Sitthisak I Poh Chang Academy of Arts I RMUTR ] Last update : ๒๓ มิถุนายน ๒๕๕๔
  • 13. ภาพยนตรและวีดทัศนเบื้องตน ๑๓ ิ หนวยที่ ๓ ความรเู บื้องตนเกี่ยวกับโทรทัศนและวีดิทศน > ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับวีดิโอ ั ๑) MPEG-1 เปนมาตรฐานที่กําหนดขึ้นเพื่อใหใชกับสัญญาณวิดีโอระดับ VHS ท่ี ใชอัตราการสงผานขอมูล 1.15 Mb/s จึงมีความละเอียดเพียง 1 ใน 4 ของระบบโทรทศน คือ 352 ั x 288 Pixels (Pal) 352x 240 Pixels (NTSC) ซึ่งสามารถใชเลนกับเครื่องคอมพิวเตอรและเครื่อง เลน Video CD ทั่วไปได ๒) MPEG-2 เปนมาตรฐานที่พัฒนาขึ้นเพื่อใหใชกับสัญญาณวิดีโอคุณภาพสูง (Broadcast) มีลักษณะการบีบอัดคลายกับ MPEG-1 แตใชอัตราการสงผานขอมูลที่สูงกวามาก จึง สามารถแสดงภาพบนจอไดละเอียดเทากับหนาจอโทรทัศน คือ 704x756 Pixels (PAL) 704 x 480 Pixels (NTSC) ดังนั้น เนื่องจากเปนมาตรฐานที่ใหสัญญาณวิดีโอคุณภาพสูง จึงนิยมนํา MPEG- 2 ไปผลิตเปน SVCD หรอ DVD ที่กําลังเปนที่นิยมกันไปทั่วโลก ื ๓) MPEG-3 เปนมาตรฐานที่พัฒนาเพื่อใชกับวิดีโอคุณภาพสูง ในระบบโทรทัศน แบบความคมชดสง (HDTV) แตยังไมเปนที่นิยม ั ู ๔) MPEG-4 เปนมาตรฐานที่พัฒนาเพื่อใหใชกับวิดีโอที่มีอัตราการสงผานขอมูล ต่ํามาก เชน การใชงานบนอินเตอรเน็ต โดยยังใหคุณภาพของภาพและเสียงที่ดีอยู ๕) MPEG-7 เปนมาตรฐานที่กําลังอยูระหวางการพัฒนา ๓. DV (Digital Video) เปนการบีบอัดขอมูลที่ใชกับระบบเทป DV ลกษณะคลายกบ M- ั  ั JPEG แตมีประสิทธิภาพสูงกวา ประเภทของการบีบอัดขอมูลวิดีโอ ๑. Loss less เปนการบีบอัดที่ไมมีการสูญเสียคุณภาพเลย เชน M-JPEG CODEC ท่ี อัตราสวนการบีบอัด 2:1 หรือนอยกวา ๒. Visual less เปนการบีบอัดขอมูลที่มีการสูญเสียคุณภาพไปสวนหนึ่ง แตเปนการ สูญเสียที่มองไมเห็นดวยตาเปลา เชน DV CODEC ๓. Lossy เปนการบีบอัดขอมูลที่มีการสูญเสียคุณภาพจนสังเกตเห็นได เชน M-JPEG CODEC ที่อัตราสวนการบีบอัดมากกวา 5:1 [ Pipit Sitthisak I Poh Chang Academy of Arts I RMUTR ] Last update : ๒๓ มิถุนายน ๒๕๕๔