SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
เรื่ อง คุณธรรมจริ ยธรรมของผูประเมิน
                                 ้
•
เสนอ         อาจารย์ พิศเพลิน เขียวหวาน
• จดทําโดย นางสาวพิมพ์ทอง
   ั                        โยธิโน วิทยาลัยราชพฤกษ์
  ภาคเรียนที่ 1 พ.ศ 2555
คุณธรรมจริ ยธรรมของผูประเมิน
                                         ้
• คุณธรรมจริ ยธรรมของผู้ประเมิน จะต้ องมีความเที่ยงตรง ยุติธรรม
  ไมเ่ อนเอียงไปฝ่ายใดฝ่ายหนง
                            ึ่             สํานักงานคณะกรรมการ
  การศึกษาแห่งชาติ (2544 : 35-37) ได้ นําเสนอในรายงานการศึกษาวิจย
                                                                ั
    เรื่ อง การประกันคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา : กรณีศกษานิวซีแลนด์ เกี่ยวกับ
                                                     ึ
    คุณสมบัติสําคัญของผู้ประเมินคุณภาพการศึกษา
•      1. จริยธรรม คณธรรม และจรรยาบรรณของผ้ ประเมิน ผ้ ประเมิน
                          ุ                                     ู           ู
    ควรมีความเป็นกลางไมลําเอียง และมีความซอสตย์ สจริต มีการรายงานผลการประเมินตามความ
                       ่                  ื่ ั ุ
    เป็ นจริ ง และไม่ยอมให้ อิทธิพลใด ๆ เบี่ยงเบนผลการประเมินให้ ผิดไปจากความเป็ นจริ ง
•
2. ความรู ้ ความสามารถทางการศึกษา และความสามารถในการตรวจสอบ วิเคราะห์ และสังเคราะห์หลักฐานข้อมูลต่าง
                        ๆ ที่เก็บรวบรวมมาจากแหล่งต่าง ๆ โดยใช้วิธีการที่หลากหลาย


•        3. บคลกภาพและความมีมนษยสมพนธ์ที่ดี ผ้ ประเมนไมควรแสดงตนวามีอํานาจในการตดสนให้
             ุ ิ                 ุ ั ั               ู   ิ ่                ่                ั ิ
    คณให้โทษผ้ อื่น แตควรมมนษยสัมพันธ์ที่ดี และทําตนเป็ นกัลยาณมิตรที่เข้ ามาช่วยสะท้ อนจุดแข็ง
      ุ        ู      ่ ี ุ
    จดออน เพื่อประโยชน์ตอการพฒนาปรับปรุงสถานศกษาและการจดการเรียนการสอนให้แก่ผ้ เู รียน โดยผ้ ู
     ุ ่                 ่    ั                        ึ       ั
    ประเมินจะต้องมีความสามารถในการพดให้สถานศกษายอมรับข้อบกพร่องของตนเองโดยไมโกรธด้วย
                                      ู            ึ                                       ่
•       4. ทักษะการสื่อสารโดยวาจา เป็ นเรื่ องสําคัญและต้ องใช้ ในหลายโอกาส
    โดยเฉพาะอย่างยิ่งจะต้ องรู้จกใช้ เทคนิค “No Surprise” กล่าวคือ แม้
                                ั
    รายงานของสถานศึกษาจะออกมาไม่คอยดี และจะต้ องเป็ นการรายงานที่
                                          ่
    ตรงไปตรงมา ผ้ ประเมินที่มีประสบการณ์จะต้องสามารถใช้การเจรจาให้
                  ู
    สถานศึกษาไม่มีความประหลาดใจ (No Surprise) ที่ผลการตรวจเยี่ยม
    ออกมาเช่นนัน จะต้ องพยายามชี ้ให้ เห็นประโยชน์ ให้ สถานศึกษายอมรับรายงาน
               ้
    นัน
      ้
5. ทักษะด้านบุคคล ซึ่งรวมตั้งแต่ความสามารถ/ทักษะในการเจรจาต่อรอง การเจรจาเชิงการทูต การจัดการกับ
                                                           ั
 ความขัดแย้ง การเจรจาอย่างมีมิตรไมตรี มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกบทุกคน โดยไม่ฝักใฝ่ ฝ่ ายใด (Non-Partisan) ตองมี
                                                                                                       ้
ยทธวิธีในการเจรจา/ประสานงานกับบุคคลต่าง ๆ ในทุกระดับ รวมทั้งมีทกษะในการพูดคุยกับนักเรี ยนในสถานศึกษาเพื่อ
 ุ                                                                  ั
                                                   เก็บข้อมูล
•       6. สําหรับทักษะเฉพาะ ได้ แก่ ทักษะในการตรวจเยี่ยมสถานศึกษาหรื อการบริ หารงาน
    บุคคล โดยคุณลักษณะสําคัญประการหนึงของผู้ที่จะเข้ ามาปฏิบติงานคือ จะต้ องมีความรู้
                                            ่                      ั
    ความเข้ าใจในกระบวนการต่าง ๆ รวมทังต้ องเคารพในกฎเกณฑ์ กระบวนการ และขันตอนที่
                                          ้                                            ้
    หน่วยงานกําหนด ผู้ที่จะเข้ ามาปฏิบติงานเป็ นผู้ประเมินจะต้องยอมรับมาตรฐานคุณภาพของหน่วยงานเป็ น
                                      ั
    สําคัญ     ทกษะในการเขียน ผ้ ประเมินที่ปฏิบติงานตรวจเยี่ยมสถานศกษาจะต้องมีความสามารถในการ
                 ั                 ู                ั                     ึ
    เขียนเชิงรายละเอียด วิเคราะห์ได้ ดี ไม่ใช้ ศพท์เฉพาะที่เข้ าใจยาก มีความสามารถในการเขียนให้ ชดเจน
                                                ั                                                ั
    ถกต้องตามกฎหมาย สงที่เป็นข้อค้นพบสําคญในการตรวจเยี่ยม ต้องระบอยางชดเจน ไมสบสน และ
       ู                    ิ่                    ั                         ุ ่ ั       ่ ั
    สามารถทําให้ผ้ ที่อานรายงานเหนอยางชดแจ้งวาข้อพจารณาตาง ๆ เป็นสงที่ได้มาจากหลกฐาน มิใช่
                    ู ่              ็ ่ ั            ่  ิ          ่        ิ่          ั
    ข้ อคิดเห็นส่วนตัวของผู้ประเมิน
• 7. ทกษะในการคด วิเคราะห์ เป็นทกษะที่จําเป็นสําหรับผ้ ประเมิน โดยจะต้อง
         ั          ิ                  ั                     ู
  สามารถให้ ความเห็นอย่างมืออาชีพ ใช้ การอ้ างอิง/วิเคราะห์จากหลักฐานที่ปรากฏ
  และต้ องมีทกษะทางการคิดสร้ างสรรค์ วิเคราะห์ สังเคราะห์ และคิดรอบด้ าน
               ั
  ทักษะดังกล่าวเป็ นสิงสําคัญมากที่จะต้ องใช้ ในการประเมินสถานศึกษา จึงไม่
                      ่
  จําเป็นที่อดีตอาจารย์ใหญ่หรือครูผ้ สอนจะทําหน้าที่เป็นผ้ ประเมินได้ดีที่สด เพราะ
                                     ู                     ู               ุ
  ทักษะการวิเคราะห์เป็ นทักษะที่แตกต่างออกไปมากจากทักษะที่ใช้ ในการสอน
่
         จะเห็นได้วาคุณสมบัติและคุณภาพของผูประเมินมีความสําคัญมาก
                                           ้

•          เนื่องจากผู้ประเมินมีความสําคัญต่อการประเมินเป็ นอย่างมาก จึง
    ต้ องให้ ความสําคัญต่อการคัดเลือกผู้ที่มีคณสมบัติเหมาะสม แล้ วให้ การ
                                              ุ
    ฝึ กอบรมเพื่อรับรองบุคคลที่มีคณธรรมและความรู้ ความสามารถมา
                                      ุ
    เป็ นผู้ประเมินภายนอก มิฉะนันแล้ วก็จะได้ ผ้ ประเมินที่ไม่ดี และไม่มี
                                    ้            ู
    คุณภาพ ซึงจะทําให้ การประเมินไม่บงเกิดผลในการพัฒนาคุณภาพ แต่
                  ่                       ั
    กลับจะทําให้ สิ ้นเปลืองงบประมาณและทรัพยากรในการดําเนินการโดย
    เปลา ่

More Related Content

Viewers also liked

Infrastructure de géomatique ouverte (IGO)
Infrastructure de géomatique ouverte  (IGO)Infrastructure de géomatique ouverte  (IGO)
Infrastructure de géomatique ouverte (IGO)geomsp
 
Développement et gestion de Logiciel Libre et Ouvert (LLO)
Développement et gestion  de Logiciel Libre et Ouvert (LLO)Développement et gestion  de Logiciel Libre et Ouvert (LLO)
Développement et gestion de Logiciel Libre et Ouvert (LLO)geomsp
 
La géomatique au MSP : une convergence des logiciels libres et d'une coopérat...
La géomatique au MSP : une convergence des logiciels libres et d'une coopérat...La géomatique au MSP : une convergence des logiciels libres et d'une coopérat...
La géomatique au MSP : une convergence des logiciels libres et d'une coopérat...geomsp
 
Branding / Marketing / Qantas Australia
Branding / Marketing / Qantas AustraliaBranding / Marketing / Qantas Australia
Branding / Marketing / Qantas Australiaprivate
 
2013 03-26 - csaconsulting - customer centricity (#cc massurance)
2013 03-26 - csaconsulting - customer centricity (#cc massurance)2013 03-26 - csaconsulting - customer centricity (#cc massurance)
2013 03-26 - csaconsulting - customer centricity (#cc massurance)CSA CONSULTING
 
Industrial Internet of Things and (Machine to Machine) M2M Overview
Industrial Internet of Things and (Machine to Machine) M2M OverviewIndustrial Internet of Things and (Machine to Machine) M2M Overview
Industrial Internet of Things and (Machine to Machine) M2M OverviewBryan Kester
 

Viewers also liked (7)

Infrastructure de géomatique ouverte (IGO)
Infrastructure de géomatique ouverte  (IGO)Infrastructure de géomatique ouverte  (IGO)
Infrastructure de géomatique ouverte (IGO)
 
Développement et gestion de Logiciel Libre et Ouvert (LLO)
Développement et gestion  de Logiciel Libre et Ouvert (LLO)Développement et gestion  de Logiciel Libre et Ouvert (LLO)
Développement et gestion de Logiciel Libre et Ouvert (LLO)
 
La géomatique au MSP : une convergence des logiciels libres et d'une coopérat...
La géomatique au MSP : une convergence des logiciels libres et d'une coopérat...La géomatique au MSP : une convergence des logiciels libres et d'une coopérat...
La géomatique au MSP : une convergence des logiciels libres et d'une coopérat...
 
Branding / Marketing / Qantas Australia
Branding / Marketing / Qantas AustraliaBranding / Marketing / Qantas Australia
Branding / Marketing / Qantas Australia
 
Rédiger une bibliographie
Rédiger une bibliographieRédiger une bibliographie
Rédiger une bibliographie
 
2013 03-26 - csaconsulting - customer centricity (#cc massurance)
2013 03-26 - csaconsulting - customer centricity (#cc massurance)2013 03-26 - csaconsulting - customer centricity (#cc massurance)
2013 03-26 - csaconsulting - customer centricity (#cc massurance)
 
Industrial Internet of Things and (Machine to Machine) M2M Overview
Industrial Internet of Things and (Machine to Machine) M2M OverviewIndustrial Internet of Things and (Machine to Machine) M2M Overview
Industrial Internet of Things and (Machine to Machine) M2M Overview
 

Similar to จริยธรรมผู้ประเมิน

Focus on measurement and evaluation
Focus on measurement and evaluationFocus on measurement and evaluation
Focus on measurement and evaluationtadpinijsawitree
 
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษKobwit Piriyawat
 
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้aumkpru45
 
ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบแรก
ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบแรกผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบแรก
ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบแรกsukanyalanla
 
การวิจารณ์ งานนำเสนอ
การวิจารณ์  งานนำเสนอการวิจารณ์  งานนำเสนอ
การวิจารณ์ งานนำเสนอtie_weeraphon
 
การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงBenz_benz2534
 
การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงBenz_benz2534
 
การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงmickyindbsk
 
อาม1
อาม1อาม1
อาม1arm_2010
 
Reasoning155
Reasoning155Reasoning155
Reasoning155wongsrida
 
การวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลการวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลwisnun
 
ฟ้า1
ฟ้า1ฟ้า1
ฟ้า1fa_o
 
เบญ2
เบญ2เบญ2
เบญ2ben_za
 

Similar to จริยธรรมผู้ประเมิน (20)

Focus on measurement and evaluation
Focus on measurement and evaluationFocus on measurement and evaluation
Focus on measurement and evaluation
 
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
 
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
 
ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบแรก
ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบแรกผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบแรก
ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบแรก
 
นำเสนอ
นำเสนอนำเสนอ
นำเสนอ
 
Cjpowerpoint2
Cjpowerpoint2Cjpowerpoint2
Cjpowerpoint2
 
การวิจารณ์ งานนำเสนอ
การวิจารณ์  งานนำเสนอการวิจารณ์  งานนำเสนอ
การวิจารณ์ งานนำเสนอ
 
การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริง
 
การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริง
 
การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริง
 
Focus 7-55
Focus 7-55Focus 7-55
Focus 7-55
 
Pca
PcaPca
Pca
 
อาม1
อาม1อาม1
อาม1
 
นาว1
นาว1นาว1
นาว1
 
โครงงานพอเพียงเลี้ยงชีพ
โครงงานพอเพียงเลี้ยงชีพโครงงานพอเพียงเลี้ยงชีพ
โครงงานพอเพียงเลี้ยงชีพ
 
ประเมินสม..[1]
ประเมินสม..[1]ประเมินสม..[1]
ประเมินสม..[1]
 
Reasoning155
Reasoning155Reasoning155
Reasoning155
 
การวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลการวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผล
 
ฟ้า1
ฟ้า1ฟ้า1
ฟ้า1
 
เบญ2
เบญ2เบญ2
เบญ2
 

More from พิมพ์ทอง โยธิโน

More from พิมพ์ทอง โยธิโน (10)

จริยธรรมผู้ประเมิน
จริยธรรมผู้ประเมินจริยธรรมผู้ประเมิน
จริยธรรมผู้ประเมิน
 
คุณลักษณะผู้บริหารที่ดีพ.พ
คุณลักษณะผู้บริหารที่ดีพ.พคุณลักษณะผู้บริหารที่ดีพ.พ
คุณลักษณะผู้บริหารที่ดีพ.พ
 
จริยธรรมผู้ประเมิน
จริยธรรมผู้ประเมินจริยธรรมผู้ประเมิน
จริยธรรมผู้ประเมิน
 
จริยธรรมผู้ประเมิน
จริยธรรมผู้ประเมินจริยธรรมผู้ประเมิน
จริยธรรมผู้ประเมิน
 
คุณลักษณะผู้บริหารที่ดีพ.พ
คุณลักษณะผู้บริหารที่ดีพ.พคุณลักษณะผู้บริหารที่ดีพ.พ
คุณลักษณะผู้บริหารที่ดีพ.พ
 
คุณลักษณะผู้บริหารที่ดีพ.พ
คุณลักษณะผู้บริหารที่ดีพ.พคุณลักษณะผู้บริหารที่ดีพ.พ
คุณลักษณะผู้บริหารที่ดีพ.พ
 
คุณลักษณะผู้บริหารที่ดีพ.พ
คุณลักษณะผู้บริหารที่ดีพ.พคุณลักษณะผู้บริหารที่ดีพ.พ
คุณลักษณะผู้บริหารที่ดีพ.พ
 
งาน8และ construcionvism
งาน8และ construcionvismงาน8และ construcionvism
งาน8และ construcionvism
 
ประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัวประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัว
 
pimthong2
pimthong2pimthong2
pimthong2
 

จริยธรรมผู้ประเมิน

  • 1. เรื่ อง คุณธรรมจริ ยธรรมของผูประเมิน ้ •
  • 2. เสนอ อาจารย์ พิศเพลิน เขียวหวาน • จดทําโดย นางสาวพิมพ์ทอง ั โยธิโน วิทยาลัยราชพฤกษ์ ภาคเรียนที่ 1 พ.ศ 2555
  • 3. คุณธรรมจริ ยธรรมของผูประเมิน ้ • คุณธรรมจริ ยธรรมของผู้ประเมิน จะต้ องมีความเที่ยงตรง ยุติธรรม ไมเ่ อนเอียงไปฝ่ายใดฝ่ายหนง ึ่ สํานักงานคณะกรรมการ การศึกษาแห่งชาติ (2544 : 35-37) ได้ นําเสนอในรายงานการศึกษาวิจย ั เรื่ อง การประกันคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา : กรณีศกษานิวซีแลนด์ เกี่ยวกับ ึ คุณสมบัติสําคัญของผู้ประเมินคุณภาพการศึกษา • 1. จริยธรรม คณธรรม และจรรยาบรรณของผ้ ประเมิน ผ้ ประเมิน ุ ู ู ควรมีความเป็นกลางไมลําเอียง และมีความซอสตย์ สจริต มีการรายงานผลการประเมินตามความ ่ ื่ ั ุ เป็ นจริ ง และไม่ยอมให้ อิทธิพลใด ๆ เบี่ยงเบนผลการประเมินให้ ผิดไปจากความเป็ นจริ ง •
  • 4. 2. ความรู ้ ความสามารถทางการศึกษา และความสามารถในการตรวจสอบ วิเคราะห์ และสังเคราะห์หลักฐานข้อมูลต่าง ๆ ที่เก็บรวบรวมมาจากแหล่งต่าง ๆ โดยใช้วิธีการที่หลากหลาย • 3. บคลกภาพและความมีมนษยสมพนธ์ที่ดี ผ้ ประเมนไมควรแสดงตนวามีอํานาจในการตดสนให้ ุ ิ ุ ั ั ู ิ ่ ่ ั ิ คณให้โทษผ้ อื่น แตควรมมนษยสัมพันธ์ที่ดี และทําตนเป็ นกัลยาณมิตรที่เข้ ามาช่วยสะท้ อนจุดแข็ง ุ ู ่ ี ุ จดออน เพื่อประโยชน์ตอการพฒนาปรับปรุงสถานศกษาและการจดการเรียนการสอนให้แก่ผ้ เู รียน โดยผ้ ู ุ ่ ่ ั ึ ั ประเมินจะต้องมีความสามารถในการพดให้สถานศกษายอมรับข้อบกพร่องของตนเองโดยไมโกรธด้วย ู ึ ่ • 4. ทักษะการสื่อสารโดยวาจา เป็ นเรื่ องสําคัญและต้ องใช้ ในหลายโอกาส โดยเฉพาะอย่างยิ่งจะต้ องรู้จกใช้ เทคนิค “No Surprise” กล่าวคือ แม้ ั รายงานของสถานศึกษาจะออกมาไม่คอยดี และจะต้ องเป็ นการรายงานที่ ่ ตรงไปตรงมา ผ้ ประเมินที่มีประสบการณ์จะต้องสามารถใช้การเจรจาให้ ู สถานศึกษาไม่มีความประหลาดใจ (No Surprise) ที่ผลการตรวจเยี่ยม ออกมาเช่นนัน จะต้ องพยายามชี ้ให้ เห็นประโยชน์ ให้ สถานศึกษายอมรับรายงาน ้ นัน ้
  • 5. 5. ทักษะด้านบุคคล ซึ่งรวมตั้งแต่ความสามารถ/ทักษะในการเจรจาต่อรอง การเจรจาเชิงการทูต การจัดการกับ ั ความขัดแย้ง การเจรจาอย่างมีมิตรไมตรี มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกบทุกคน โดยไม่ฝักใฝ่ ฝ่ ายใด (Non-Partisan) ตองมี ้ ยทธวิธีในการเจรจา/ประสานงานกับบุคคลต่าง ๆ ในทุกระดับ รวมทั้งมีทกษะในการพูดคุยกับนักเรี ยนในสถานศึกษาเพื่อ ุ ั เก็บข้อมูล • 6. สําหรับทักษะเฉพาะ ได้ แก่ ทักษะในการตรวจเยี่ยมสถานศึกษาหรื อการบริ หารงาน บุคคล โดยคุณลักษณะสําคัญประการหนึงของผู้ที่จะเข้ ามาปฏิบติงานคือ จะต้ องมีความรู้ ่ ั ความเข้ าใจในกระบวนการต่าง ๆ รวมทังต้ องเคารพในกฎเกณฑ์ กระบวนการ และขันตอนที่ ้ ้ หน่วยงานกําหนด ผู้ที่จะเข้ ามาปฏิบติงานเป็ นผู้ประเมินจะต้องยอมรับมาตรฐานคุณภาพของหน่วยงานเป็ น ั สําคัญ ทกษะในการเขียน ผ้ ประเมินที่ปฏิบติงานตรวจเยี่ยมสถานศกษาจะต้องมีความสามารถในการ ั ู ั ึ เขียนเชิงรายละเอียด วิเคราะห์ได้ ดี ไม่ใช้ ศพท์เฉพาะที่เข้ าใจยาก มีความสามารถในการเขียนให้ ชดเจน ั ั ถกต้องตามกฎหมาย สงที่เป็นข้อค้นพบสําคญในการตรวจเยี่ยม ต้องระบอยางชดเจน ไมสบสน และ ู ิ่ ั ุ ่ ั ่ ั สามารถทําให้ผ้ ที่อานรายงานเหนอยางชดแจ้งวาข้อพจารณาตาง ๆ เป็นสงที่ได้มาจากหลกฐาน มิใช่ ู ่ ็ ่ ั ่ ิ ่ ิ่ ั ข้ อคิดเห็นส่วนตัวของผู้ประเมิน
  • 6. • 7. ทกษะในการคด วิเคราะห์ เป็นทกษะที่จําเป็นสําหรับผ้ ประเมิน โดยจะต้อง ั ิ ั ู สามารถให้ ความเห็นอย่างมืออาชีพ ใช้ การอ้ างอิง/วิเคราะห์จากหลักฐานที่ปรากฏ และต้ องมีทกษะทางการคิดสร้ างสรรค์ วิเคราะห์ สังเคราะห์ และคิดรอบด้ าน ั ทักษะดังกล่าวเป็ นสิงสําคัญมากที่จะต้ องใช้ ในการประเมินสถานศึกษา จึงไม่ ่ จําเป็นที่อดีตอาจารย์ใหญ่หรือครูผ้ สอนจะทําหน้าที่เป็นผ้ ประเมินได้ดีที่สด เพราะ ู ู ุ ทักษะการวิเคราะห์เป็ นทักษะที่แตกต่างออกไปมากจากทักษะที่ใช้ ในการสอน
  • 7. จะเห็นได้วาคุณสมบัติและคุณภาพของผูประเมินมีความสําคัญมาก ้ • เนื่องจากผู้ประเมินมีความสําคัญต่อการประเมินเป็ นอย่างมาก จึง ต้ องให้ ความสําคัญต่อการคัดเลือกผู้ที่มีคณสมบัติเหมาะสม แล้ วให้ การ ุ ฝึ กอบรมเพื่อรับรองบุคคลที่มีคณธรรมและความรู้ ความสามารถมา ุ เป็ นผู้ประเมินภายนอก มิฉะนันแล้ วก็จะได้ ผ้ ประเมินที่ไม่ดี และไม่มี ้ ู คุณภาพ ซึงจะทําให้ การประเมินไม่บงเกิดผลในการพัฒนาคุณภาพ แต่ ่ ั กลับจะทําให้ สิ ้นเปลืองงบประมาณและทรัพยากรในการดําเนินการโดย เปลา ่