SlideShare a Scribd company logo
1 of 26
1.1การจัดการโลจิสติกส์ (Logistics Management)
การจัดการโลจิสติกส์ : หมายถึง กระบวนการจัดการ การเคลื่อนย้ายและจัดเก็บวัตถุดิบและสินค้า
จากผู้ขายวัตถุดิบไปยังผู้บริโภครายสุดท้าย
รูปที่ 1.1 องค์ประกอบด้านโลจิสติกส์
ความเข้าใจของคนทั่วไป อาจมองโลจิสติกส์เป็นเพียงกิจกรรม การขนส่งและ
คลังสินค้า แต่ที่จริง โลจิสติกส์มีหลายกิจกรรม จากรูปที่ 1.1 จะเห็นว่า
ประกอบด้วยกิจกรรมคือ การพยากรณ์อุปสงค์ การวางแผนการผลิต การจัดซื้อ
บรรจุภัณฑ์ การเคลื่อนย้ายภายในองค์กร การผลิต คลังสินค้า การขนส่ง การ
กระจายสินค้า การบริการลูกค้า เป็นต้น ทุกกิจกรรมในโลจิสติกส์ต้องทางาน
อย่างต่อเนื่อง และเกี่ยวข้องกันแบบเป็นกระบวนการ การวัดผลงานจะทาทั้ง
กระบวนการหรือทั้งซัพพลายเชน จะเห็นภาพของบริษัทมีการเจริญเติบโตอย่าง
ต่อเนื่องมากกว่าการทางานของแต่ละฝ่ายหรือตามหน้าที่ ซึ่งความสัมพันธ์
ระหว่างโลจิสติกส์ และการจัดการซัพพลายเชน ดังแสดงในรูป 1.2
รูปที่ 1.2 ความสัมพันธ์ระหว่างโลจิสติกส์และการซัพพลาย
จากรูปที่ 12 จะพบว่าการดาเนินงานทุกกิจกรรมต้องประสานงานอย่างสอดคล้องกัน โดยโลจิ
สติกส์ แบ่งเป็นสองช่วงคือ การจัดการเพื่อสนับสนุนการผลิต เรียกว่า การจัดการพัสดุ
(Material Management) หรือโลจิสติกส์เพื่อการผลิต (Manufacturing Logistics) และ
สนับสนุนการตลาด ซึ่งเรียกว่า การกระจายสินค้า (Distribution Management)
การไหลของวัตถุดิบผ่านการผลิตจนถึงการกระจายสินค้าสาเร็จรูปผ่านไปยังผู้บริโภค อย่าง
ต่อเนื่อง และรวดเร็ว จะสามารถดาเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ต่อเมื่อมี
การนาเอาสารสนเทศ ซึ่งประกอบด้วยคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ มาประยุกต์ใช้ใน
ทุกกิจกรรมทั้งภายในองค์การ และบริษัท ภายนอก เพื่อสร้างความถูกต้องและรวดเร็ว
เรียกว่า การจัดการซัพพลายเชน ซึ่งก่อนที่จะประยุกต์ใช้ การจัดการซัพพลายเชนได้ ควรต้อง
ปรับปรุงระบบโลจิสติกส์ในแต่ละบริษัทที่เกี่ยวข้องในซัพพลายเชน ให้สมบูรณ์ จึงจะทาให้ผล
ดาเนินงานตลอดซัพพลายมีประสิทธิผล
1.2 ขอบเขตของการจัดการโลจิสติกส์ (Logistics Management Dimension)
รูปที่ 1.3 กลยุทธ์โลจิสติกส์
จากรูปที่ 1.3 พบว่าการจัดการโลจิสติกส์แบ่งขอบเขตของการจัดการเป็น 3 ระดับ
ดังต่อไปนี้
ระดับกลยุทธ์ (Strategic Level) เป็นระดับที่กาหนดนโยบายของบริษัท มีการ
วางแผนทิศทาง ทางธุรกิจที่ชัดเจน เช่น นโยบายสินค้าคงคลังจะมีนโยบายแบบใด จะ
ทาสต๊อกเพื่อทากาไรทางการตลาด หรือไม่เก็บสต็อก เป็นต้น มีการวัดผลงานด้วย
ประสิทธิผลของการดาเนินงาน ประกอบด้วยการกาหนด นโยบาย เพื่อเป้าหมายในการ
ให้บริการลูกค้า การมองหาผลิตภัณฑ์ที่ลูกค้ามีความต้องการเพื่อเข้าตลาด โดยเป็นตลาด
ที่ผลิตภัณฑ์สามารถจาหน่ายได้
ระดับยุทธวิธี (Tactical Level) เป็นระดับที่ต้องมีการวางแผนตามโครง เช่น การ
ดาเนินการในซัพพลายเชน บทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบในแต่ละฝ่ายเพื่อให้งานบรรลุ
เป้าหมาย ตามนโยบายของบริษัทซึ่งส่วนมากดาเนินการโดยผู้บริหารระดับสูงและระดับกลาง
ของบริษัท การวัดผลงาน จะวัดด้วย
ประสิทธิผล (Effectiveness) ของงานที่จะดาเนินการคือ บรรลุผลตามเป้าหมายของบริษัท
หรืออาจจะ อยู่ในรูปมูลค่าสินค้าคงคลังคลอดซัพพลายเชน เป็นต้น จะเน้นในการออกแบบ
ช่องทางการจัดจาหน่าย โดยจะมองว่าจะจาหน่ายที่ไหน เมื่อไร และจาหน่ายด้วยวิธีใด
นโยบายสินค้าคงคลัง (Inventory Policy) โดยการกาหนดนโยบายคลังสินค้าจะมองที่ปริมาณ
และเวลาในการสั่งซื้อสินค้าการออกแบบเครือข่าย (Network Design) โดยจะกาหนดจานวน
ศูนย์กระจายสินค้า และสถานที่ก่อสร้าง โดยอาจจะพิจารณา เป็นการสร้างเองหรือเช่า
ระดับปฏิบัติการ (Operational Level) เป็นการน่าซัพพลายเชนมาใช้ในระดับ
ปฏิบัติการของ แต่ละฝ่ายของบริษัทเพื่อให้สอดคล้องกับยุทธวิธี เช่น งานจัดซื้อ งาน
จัดหา ต้องสอดคล้องกับงานผลิต การจัดการคลังสินค้า การบริหารเครือข่าย เป็นต้น การ
วัดผลงานในระดับนี้จะวัดโดยใช้ประสิทธิภาพ เป็นเกณฑ์ จะแบ่งงานเป็น 2 ส่วน คือ การ
จัดการวัสดุ และการจัดการการกระจายสินค้า ตามที่ได้กล่าว มาแล้วข้างต้น ซึ่งสินค้าคง
คลังเป็นจุดสาคัญที่สุดที่มีความจาเป็นต้องควบคุมอย่างใกล้ชิดและประกาศ เป็นนโยบาย
ของบริษัท เพราะทาให้เกิดการจัดการขนส่งในรูปสต็อกในเส้นทางขนส่ง (Pipeline
Stock) เพราะต้องทางานให้สอดคล้องกับงานคลังสินค้า โดยต้องใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ซึ่งในปัจจุบันประกอบด้วย ซอฟต์แวร์ ฮาร์ดแวร์ ระบบเครือข่าย ให้สอดคล้องกับ
อุตสาหกรรม และกระบวนการทางานของกิจการ
1.3 การขนส่งและกลยุทธ์โลจิสติกส์ (Transport and Logistics Strategy)
การขนส่งเป็นกิจกรรมที่สาคัญของกระบวนการโลจิสติกส์ เพราะในปัจจุบันค่าน้ามัน
เชื้อเพลิง ได้ถีบตัวสูงขึ้น ซึ่งกลยุทธ์โลจิสติกส์คานึงถึงสิ่งต่อไปนี้
- ตลาดที่ให้บริการ
- ขอบเขตผลิตภัณฑ์ที่มีความต้องการในตลาด
- ความต้องการของลูกค้า
- วิธีการ เวลา สถานที่ในกระบวนการการผลิต
- ปริมาณสติกเก็บไว้
- จานวนผู้ขายปัจจัยการผลิต
- วิธีการ เวลา และสถานที่ผลิตสต็อก สถานที่จัดเก็บสต๊อก
-วิธีการ และเวลาในการเคลื่อนย้ายสต๊อก
โดยสต๊อกในที่นี้ หมายถึง วัตถุดิบ งานระหว่างการผลิต งานประกอบย่อย และสินค้าสาเร็จรูป
ขณะที่ การจัดการขนส่งมีเป้าหมายเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพเชิงปฏิบัติการ ต้องกาหนด
โครงสร้างให้มีประสิทธิผล เช่น การจัดส่งสินค้าตามคาสั่งซื้อต้องทาโดยมีประสิทธิภาพ โดย
สามารถจัดส่งด้วยปริมาณถูกต้อง คุณภาพที่ดี ไม่แตกหรือสูญหายในเวลาที่กาหนด ณ
สถานที่ที่ต้องการ ภายใต้ต้นทุนต่าสุด และสอดคล้องกับกระบวนการ
โลจิสติกส์ บางครั้งอาจจะมีการใช้รถยนต์ต่างกัน เส้นทางเดินรถที่แตกต่างกัน เครือข่าย
กระจายสินค้า และทาเลที่ตั้งที่แตกต่างกัน ซึ่งกิจกรรมการขนส่งสามารถรวมส่งหรือแยกส่งก็
ได้ ต้องทาทุกอย่างให้ถูกต้อง เพื่อให้สอดคล้องกับกลยุทธ์โลจิสติกส์ จาเป็นต้องตัดสินใจ
เกี่ยวกับการขนส่งให้ชัดเจน เพื่อให้สามารถรองรับ ความต้องการลูกค้าได้โดยมีเครือข่าย
ช่องทางการจัดจาหน่าย ต้องมีระดับการให้บริการ ต้นทุน และรอบเวลา ในการดาเนินงาน
สอดคล้องกับกลยุทธทุกระดับ
1.4 การกาหนดกลยุทธ์การขนส่ง (Determining Transport Strategy)
เพื่อให้สามารถรักษาระดับการให้บริการตามความต้องการลูกค้า โดยต้นทุนที่เหมาะสม กลยุทธ์ ทั่วไป
ของธุรกิจ และทางเลือกเพิ่มเติมระหว่างต้นทุน และระดับการให้บริการซึ่งต้องการในการพิจารณา
ตัดสินใจจากมุมมองของการขนส่ง มีสิ่งที่เราต้องพิจารณาดังนี้.
1.4.1 ตรวจประเมินภายในองค์กร ต้องพิจารณาว่าการดาเนินงานปัจจุบัน เกี่ยวกับปัจจัยต่างๆ
ซึ่งรวมถึงการวิเคราะห์อุปสงค์และอุปทาน ความต้องการสต๊อก การวิเคราะห์คลังสินค้า
ระบบปฏิบัติการ คลังสินค้า การคัดเลือกอุปกรณ์ การวางแผนการไหลของงานในคลังสินค้า การวัด
ผลิตผล และต้นทุน คลังสินค้า
1.4.2 เป้าหมายขององค์กร เป็นการมองทิศทางในอนาคตที่ต้องการให้ธุรกิจดาเนินการต่อไป ซึ่งต้อง
พิจารณาปัจจัยเหล่านี้
-แนวโน้มของการแข่งขัน :อุปสรรคของผู้ให้บริการจากภายนอก
-ฐานของผู้ขายปัจจัยการผลิต :การผลิตการเพิ่มอุปทาน เช่น ความถี่ในการจัดส่ง
-ฐานลูกค้า :ชุดของจุดขายสินค้าที่มากขึ้น
-ปริมาณอุปสงค์ ผลงาน และการผสมที่หลากหลาย :การจัดส่งแบบผลิตทันเวลาพอดี
-แนวโน้มทางกฎหมายและการเปลี่ยนแปลง :สิ่งแวดล้อม
-เทคโนโลยีการหยิบสินค้าใหม่ :การใช้ระบบการขนส่งอัจฉริยะ
-การมีทรัพยากร :ข้อจากัดของสถานะทางการเงิน
1.4.3 วิธีการทาให้บรรลุเป้าหมายขององค์กร ทางเลือกในอนาคตมีหลายแนวทางที่ต้องนามา
พิจารณาเพื่อให้เป็นวิธีการที่เหมาะสม เกิดความสมดุลระหว่างต้นทุน และระดับการให้บริการ ซึ่งต้องทา
ให้ การจัดการขนส่งสอดคล้องกับกลยุทธ์การจัดการโลจิสติกส์ และกลยุทธ์องค์กร ทาให้งานบรรลุ
เป้าหมาย การที่จะทราบว่าบรรลุถึงเป้าหมายที่ต้องการหรือไม่ ต้องพิจารณาจากผลการวิเคราะห์ด้าน
ต้นทุนและรายได้ และผลิตผลหลักที่ต้องมีการวัดโดยวิเคราะห์ให้มีรายละเอียดมากขึ้น ซึ่งจะทาให้
แผนงานที่กาลังดาเนินการ ในปัจจุบันเกิดกลไกในการควบคุม และเป็นพื้นฐานที่จะทาให้กลยุทธ์ที่ได้
กาหนดไว้สามารถบรรลุเป้าหมายได้
1.5 ความสาคัญเชิงกลยุทธ์ของการขนส่ง (Strategic important in Transport)
การขนส่งเป็นปัจจัยโครงสร้างพื้นฐาน (Infrastructure) ที่จาเป็นอย่างหนึ่งในการพัฒนาประเทศ การ
ขนส่งมีความสาคัญต่อธุรกิจตลอดจนการพัฒนาประเทศอยู่หลายประการ คือ
1.5.1 ช่วยประหยัดค่าก่อสร้างคลังสินค้า การขนส่งปัจจุบันสามารถเพิ่มขนาดการบรรทุก
สามารถ รวมสินค้าให้เต็มเที่ยว จะช่วยประหยัดค่าก่อสร้างศูนย์กระจายสินค้า คลังสินค้า ทั้งที่เกิดจาก
การซื้อวัตถุดิบ และการขายสินค้าสาเร็จรูปให้ลูกค้า ในด้านของการซื้อวัตถุดิบจากผู้ขาย วัตถุดิบที่สั่งซื้อ
จากผู้ขายหลายๆ รายจะถูกรวบรวมสินค้าตามเส้นทาง (Milk Run) เพื่อจัดส่งให้ลูกค้า โดยไม่ต้องนาเข้า
จัดเก็บที่คลังสินค้า และขนส่งวัตถุดิบ ตรงไปยังโรงงานของผู้ซื้อซึ่งตั้งอยู่ห่างไกล ทาให้ประหยัดค่าเช่า
พื้นที่คลังสินค้า ค่าก่อสร้าง คลังสินค้า และต้นทุนการดาเนินงาน ซึ่งปัจจุบันยังนิยมการดาเนินงานแบบ
สินค้าผ่านคลัง หรือแบบท้ายรถ ชนท้ายรถ (Cross Docking) และเสียค่าขนส่งน้อยกว่ากรณีที่ผู้ขายทุกๆ
ราย ของผู้ซื้อเอง ดังแสดงในรูปที่ 1.4
รูปที่ 1.4 การประหยัดในการผลิตจากการรวมกันขนส่ง
ในการขนส่งสินค้าสาเร็จรูปให้ลูกค้าแบบส่งทันเวลาพอดี (JIT) ช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย โดยใน
อุตสาหกรรมการผลิตสินค้านั้น ผู้ผลิตมักมีหลายโรงงานที่ทาการผลิตสินค้าเพื่อประกอบต่อหลายชนิด
เช่น โรงงานประกอบรถยนต์ต้องการชิ้นส่วนในรถยนต์แต่ละคันร่วมหมื่นชิ้น การจัดเก็บจะสูญเสียพื้นที่
คลังสินค้า มาก จึงใช้การขนส่งแบบ Milk Run เพื่อรวบรวมชิ้นส่วนเพื่อส่งให้ลูกค้า โดยการสั่งซื้อปัจจุบัน
จะสั่งซื้อผ่าน ระบบออนไลน์ หรือการแลกเปลี่ยนข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ (EDI) การผลิตจะทาการผลิต
และจัดส่งขึ้นรถยนต์ โดยไม่ผ่านคลังสินค้า จึงช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายจากการจัดเก็บสินค้าดังรูปที่ 1.5
รูปที่ 1.5 การประหยัดในการกระจายสินค้าของค้าปลีก จากการรวมกันขนส่ง
1.5.2 ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต ในสมัยก่อนเมื่อการคมนาคมขนส่งยังไม่สะดวก มนุษย์ต้อง
พึ่งตนเองโดยปลูกข้าว เลี้ยงสัตว์ ทาเครื่องนุ่งห่ม ทาให้ไม่มีความชานาญเฉพาะอย่าง เมื่อมีการ ขนส่ง
ประชาชนสามารถติดต่อแลกเปลี่ยนสินค้ากันได้ ทาให้มีความต้องการสินค้ามากขึ้น จึงมีการ แบ่งงานกันทา
ผลิตในสิ่งที่ตนถนัดแล้วนามาแลกเปลี่ยนกันทาให้เกิดความชานาญในการทาในสิ่งที่ตนถนัด
(specialization) การผลิตที่มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นเพราะในการผลิตนั้นเมื่อเกิดความชานาญงานขึ้น ต้นทุน
ต่อหน่วยในการผลิตจะลดลง การซื้อหรือขายสินค้าแต่ละชนิดจานวนมากจะช่วยประหยัดต้นทุน การผลิต
คือ ต้นทุนต่อหน่วยสินค้าจะต่า การผลิตสินค้าจานวนมากย่อมต้องใช้วัตถุดิบปริมาณมาก ความสามารถใน
ระบบ การผลิตโดยระบบดึง ทาให้เกิดระบบการจัดส่งแบบทันเวลาพอดี ทาให้ต้นทุนการผลิตที่ประหยัด และ
เป็นที่ นิยมในปัจจุบัน
1.5.3 ช่วยสนับสนุนนโยบายการให้บริการลูกค้าของกิจการ การที่กิจการมีระบบการขนส่งที่ รวดเร็ว จะช่วย
สนับสนุนนโยบายการให้บริการลูกค้าอย่างรวดเร็ว เพราะสามารถส่งสินค้าจากโรงงาน หรือคลังสินค้าที่อยู่
ในพื้นที่ของลูกค้าไปให้ลูกค้าได้อย่างรวดเร็วและไม่เสียเวลา เพราะการขนส่งทาให้สินค้า ส่งถึงมือลูกค้าด้วย
ความรวดเร็ว สินค้าอยู่ในสภาพที่ดีตามปริมาณและเงื่อนไขที่ตกลงกัน ส่งตามสถานที่ และเวลาที่กาหนด
การเขียนตาราจะเป็นตามหลักเกณฑ์การพัฒนาบุคลากรผู้เชี่ยวชาญด้านขนส่งอย่างต่อเนื่อง
ของ ประเทศอังกฤษ (Continuing Professional Development CPD) เพื่อให้สามารถควบคุม
และจัดการการขนส่งสินค้าปกติ แบ่งการศึกษาเป็น 3 ระดับ คือ
ระดับที่ 1 : 03-01 ระดับปฏิบัติการ ความหมาย วัตถุประสงค์ ประโยชน์ของการขนส่ง
วิวัฒนาการของการขนส่ง วัฏจักรชีวิตของการขนส่ง ขอบเขตและหน้าที่ของการขนส่ง การ
พัฒนาการขนส่ง ประสิทธิภาพในการขนส่ง ปัจจัยที่สาคัญสาหรับ การขนส่ง การขนส่งกับ
แหล่งอุตสาหกรรม เศรษฐกิจการขนส่ง ต้นทุนและอัตราค่าการขนส่ง ประเภทของ การขนส่ง
การบริหารงานการขนส่ง การควบคุมการขนส่ง กิจการขนส่งในประเทศไทย แบบจาลองใน
การ ขนส่ง เพื่อนามาใช้ในระดับปฏิบัติการของฝ่ายขนส่งของบริษัทเพื่อให้สอดคล้องกับการ
ดาเนินงานในระดับ ปฏิบัติการ ซึ่งได้แก่ งานจัดซื้อ งานจัดหางานผลิต การจัดการคลังสินค้า
การบริหารเครือข่าย เป็นต้น
1.6 โครงสร้างหลักสูตรการจัดการขนส่ง (Transport Management Course Content)
ระดับที่ 2 : 20 - 80 ผู้ควบคุมงานขนส่ง (Transport Supervisor) เป็นการจัดการระดับยุทธวิธี (Tactical
Level) เป็นระดับที่ต้องมีการวางแผนตามโครงสร้างที่กาหนดในแผนกลยุทธ์ เช่น การดาเนินการ ในซัพ
พลายเชน บทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบในแต่ละฝ่ายเพื่อให้งานบรรลุเป้าหมายตามนโยบาย ของ
บริษัท ส่วนมากดาเนินการโดยผู้บริหารระดับกลางของบริษัท การวัดผลงานจะวัดด้วยประสิทธิผล ของ
งานในรูปมูลค่าสินค้าคงคลังตลอดซัพพลายเชน จะเน้นในการออกแบบช่องทางการจัดจาหน่าย โดยจะ
มองว่าจะจาหน่ายที่ไหน เมื่อไร และจาหน่ายด้วยวิธีใด โดยในระดับนี้มีสาระครอบคลุม 20 บทเรียน Box
underline B บทบาทของผู้ควบคุมงานขนส่ง วิธีการขนส่ง การขนส่งทางถนน ชนิดของรถยนต์ การจัดส่ง
ระหว่างเมือง การขนส่งในพื้นที่ การจัดส่งทางรถยนต์ การวางแผนการขนส่ง วิธีการวางแผนการบรรทุก
ต้นทุนการขนส่ง ผลกระทบจากต้นทุน การควบคุมผลงานเชิงต้นทุน และต้นทุนยานพาหนะ การควบคุม
ผลงานเชิงปฏิบัติงาน กฎหมายผู้ประกอบการ การสร้างรถ การซ่อมรถยนต์ กฎหมายผู้ขับขี่รถยนต์
กฎหมายกับขนส่ง คนขับรถ และการบันทึกเวลา ความปลอดภัยของการบรรทุก กฎหมายพิเศษ และ
กรณีศึกษา
ระดับที่ 3: 03-03 การจัดการเชิงกลยุทธ์การขนส่ง (Transport Strategic Management) เป็นระดับที่
กาหนดนโยบายของบริษัท มีการวางแผนทิศทางทางธุรกิจที่ชัดเจนให้สอดคล้องกับการลงทุน ทั้งด้าน
แรงงาน เครื่องจักรอุปกรณ์ สินค้าคงคลัง การเงิน ที่ให้บริการแก่ลูกค้าให้สอดคล้องกับขอบเขต สินค้าที่
ทาตลาด โดยสาระในการศึกษาระดับนี้จะมุ่งในการตัดสินใจเชิงกลยุทธ์ เพื่อหาแนวทางเพิ่มกาไร ลด
ต้นทุนจากทางเลือกในวิธีการขนส่ง การเลือกรถยนต์ ความต้องการรถยนต์ การเปลี่ยนและการทดแทน
รถยนต์ ต้นทุนค่าขนส่งและผลิตผล กฎหมายขนส่ง การจัดส่งในพื้นที่ การจัดส่งระหว่างเมือง การ
ประหยัด น้ามัน การปรับปรุงเทคโนโลยีการขนส่ง
สาหรับตาราเล่มนี้เป็นระดับ 1 สาหรับบุคคลทั่วไป ผู้ปฏิบัติงานคลังสินค้า นักศึกษาระดับปริญญา
ตรี เพื่อให้สามารถปฏิบัติงานในการจัดการขนส่งทั่วไป
การขนส่งเป็นส่วนหนึ่งของระบบกระจายสินค้า ซึ่งถูกกาหนดขึ้นมาเพื่อสร้างความสมดุลระหว่าง อุป
สงค์และอุปทานในทุกธุรกิจ ที่ผ่านมาธรรมชาติในการดาเนินธุรกิจในประเทศไทยจะใช้แรงงานเป็นหลัก
จะเน้นการจัดการและควบคุมการทางานของคนถึงอย่างไรก็ตามการที่เทคโนโลยีมีความก้าวหน้า
ตลอดเวลา ในเชิงสนับสนุนทั้งในการปฏิบัติการทั่วไปและการจัดการขนส่ง เพื่อส่งผลให้ระดับการ
ปฏิบัติการ เป็นตัวขับเคลื่อนระบบ ซึ่งความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีจะส่งผลในด้านบวกมากกว่าด้านลบ
สามารถเพิ่ม ขีดความสามารถในการพัฒนาการวางแผนและการจัดการเชิงปฏิบัติการ ถ้าเทียบกับส่วน
อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ในหน้าที่กระจายสินค้า การขนส่งจะเกี่ยวข้องกับต้นทุนและการบริการ รองจาก
กิจกรรมคลังสินค้า ดังแสดง ในรูปที่ 1.6
1.7 บทบาทหน้าที่ของการขนส่ง (Roles of Transport)
รูปที่1.6 ต้นทุนการกระจายสินค้า
การดาเนินงานในระดับปฏิบัติการที่ดีมีลักษณะดังนี้
-จัดการการดาเนินงานวันต่อวันอย่างมีประสิทธิภาพ
-ตอบสนองต่อการแก้ปัญหาอย่างรวดเร็ว
-ใช้ประโยชน์จากทรัพยากรสูงสุด
-สอดคล้องกับความต้องการของลูกค้า
-รักษาสภาพการดาเนินงานให้อยู่ภายใต้กฎหมาย
-มั่นใจเกี่ยวกับความปลอดภัยในการบรรทุกสินค้า
โดยสภาพทั่วไปการขนส่งสินค้าสามารถเปิดดาเนินการจากระดับที่มีรถยนต์เพียงคนเดียว จนถึง
ระดับการใช้รถยนต์ร่วมกันในการขนส่ง เพื่อทาหน้าที่ในการขนส่งสินค้าไปยังตลาด
1.8 ปัญหาของการขนส่ง
จะเห็นได้ว่าการขนส่งช่วยนาความเจริญมาสู่เศรษฐกิจและสังคมหลายประการดังที่ได้ อย่างไรก็
ตามการขนส่งก็ยังก่อให้เกิดปัญหาตามมาหลายประการเช่นกัน ได้แก่
1. ก่อให้เกิดค่าใช้จ่ายอันเป็นภาระของประเทศ การสร้างถนนหนทางจาเป็นต้องใช้งบประมาณในการ
ก่อสร้างสูงมากและยังต้องมีค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษาด้วย รัฐบาลจึงต้องเสียค่าใช้จ่าย ในส่วนนี้เป็น
จานวนมาก ในบางครั้งเมื่อกาลังเงินในประเทศไม่เพียงพอก็ต้องกู้ยืมเงินจากต่างประเทศ หรือถนนบาง
สายก็มีการเก็บค่าธรรมเนียมผ่านทาง เป็นการเพิ่มต้นทุนในการดาเนินงานของผู้ประกอบการด้วย
2. เกิดการจราจรคับคั่ง ในเมืองใหญ่ๆ ที่มีถนนตัดไปมาหลายสาย และมีผู้ใช้ยวดยานมาก ก็ก่อให้เกิด
ปัญหาการจราจรคับคั่ง ปัญหารถติดทาให้เสียพลังงานเชื้อเพลิงและมักจะมีอุบัติเหตุเกิดขึ้นบ่อยครั้ง การ
ติดต่อธุรกิจก็ชะงักงัน หรือเกิดความล่าช้า
3. เกิดปัญหาด้านมลพิษ การจราจรที่คับคั่งยังก่อให้เกิดปัญหามลพิษทางอากาศ ซึ่งเป็นอันตรายต่อ
สุขภาพ
4. เกิดการสูญเปล่าทางเศรษฐกิจ เนื่องจากมีการเดินรถเที่ยวเปล่า
5. การแข่งขันกันทางการขนส่ง ก่อให้เกิดผลเสียเนื่องจากผู้ประกอบการขนส่งแข่งขันกัน ลดอัตราค่าระวาง
ซึ่งต้องหาทางชดเชยด้วยการเพิ่มปริมาณบรรทุกในแต่ละเที่ยว จึงมีการบรรทุกเกินพิกัด กันอยู่เสมอ ซึ่ง
เป็นผลเสียต่อผู้ประกอบการเอง เพราะทาให้อัตราค่าระวางไม่มีเสถียรภาพและยังทาให้ อายุใช้งานของ
ยานพาหนะสั้นกว่ากาหนด
น.ส. ลักษณ์คณา พิเนตร 6421297001

More Related Content

More from Pholakrit Klunkaewdamrong

บทที่7การจัดการคลังสินค้า.pptx
บทที่7การจัดการคลังสินค้า.pptxบทที่7การจัดการคลังสินค้า.pptx
บทที่7การจัดการคลังสินค้า.pptxPholakrit Klunkaewdamrong
 
บทที่4 การวางแผนโลจิสติกส์.pptx
บทที่4 การวางแผนโลจิสติกส์.pptxบทที่4 การวางแผนโลจิสติกส์.pptx
บทที่4 การวางแผนโลจิสติกส์.pptxPholakrit Klunkaewdamrong
 
บทที่.6 การจัดการศูนย์กระจายสินค้าและการส.pptx
บทที่.6 การจัดการศูนย์กระจายสินค้าและการส.pptxบทที่.6 การจัดการศูนย์กระจายสินค้าและการส.pptx
บทที่.6 การจัดการศูนย์กระจายสินค้าและการส.pptxPholakrit Klunkaewdamrong
 
บทที่6การจัดการคลังสินค้า นายกรกฤต ศรีพรห.pptx
บทที่6การจัดการคลังสินค้า  นายกรกฤต  ศรีพรห.pptxบทที่6การจัดการคลังสินค้า  นายกรกฤต  ศรีพรห.pptx
บทที่6การจัดการคลังสินค้า นายกรกฤต ศรีพรห.pptxPholakrit Klunkaewdamrong
 
การจัดการหา นายเกียรติศักดิ์ ศรีดอกไม้ 64212970.pptx
การจัดการหา นายเกียรติศักดิ์ ศรีดอกไม้ 64212970.pptxการจัดการหา นายเกียรติศักดิ์ ศรีดอกไม้ 64212970.pptx
การจัดการหา นายเกียรติศักดิ์ ศรีดอกไม้ 64212970.pptxPholakrit Klunkaewdamrong
 

More from Pholakrit Klunkaewdamrong (6)

บทที่7การจัดการคลังสินค้า.pptx
บทที่7การจัดการคลังสินค้า.pptxบทที่7การจัดการคลังสินค้า.pptx
บทที่7การจัดการคลังสินค้า.pptx
 
บทที่4 การวางแผนโลจิสติกส์.pptx
บทที่4 การวางแผนโลจิสติกส์.pptxบทที่4 การวางแผนโลจิสติกส์.pptx
บทที่4 การวางแผนโลจิสติกส์.pptx
 
โลจิกส์ติกส์ .pptx
โลจิกส์ติกส์ .pptxโลจิกส์ติกส์ .pptx
โลจิกส์ติกส์ .pptx
 
บทที่.6 การจัดการศูนย์กระจายสินค้าและการส.pptx
บทที่.6 การจัดการศูนย์กระจายสินค้าและการส.pptxบทที่.6 การจัดการศูนย์กระจายสินค้าและการส.pptx
บทที่.6 การจัดการศูนย์กระจายสินค้าและการส.pptx
 
บทที่6การจัดการคลังสินค้า นายกรกฤต ศรีพรห.pptx
บทที่6การจัดการคลังสินค้า  นายกรกฤต  ศรีพรห.pptxบทที่6การจัดการคลังสินค้า  นายกรกฤต  ศรีพรห.pptx
บทที่6การจัดการคลังสินค้า นายกรกฤต ศรีพรห.pptx
 
การจัดการหา นายเกียรติศักดิ์ ศรีดอกไม้ 64212970.pptx
การจัดการหา นายเกียรติศักดิ์ ศรีดอกไม้ 64212970.pptxการจัดการหา นายเกียรติศักดิ์ ศรีดอกไม้ 64212970.pptx
การจัดการหา นายเกียรติศักดิ์ ศรีดอกไม้ 64212970.pptx
 

การขนส่งกับการจัดการโลจิสติกส์ นางสาวลัก.pptx

  • 1.
  • 2. 1.1การจัดการโลจิสติกส์ (Logistics Management) การจัดการโลจิสติกส์ : หมายถึง กระบวนการจัดการ การเคลื่อนย้ายและจัดเก็บวัตถุดิบและสินค้า จากผู้ขายวัตถุดิบไปยังผู้บริโภครายสุดท้าย รูปที่ 1.1 องค์ประกอบด้านโลจิสติกส์
  • 3. ความเข้าใจของคนทั่วไป อาจมองโลจิสติกส์เป็นเพียงกิจกรรม การขนส่งและ คลังสินค้า แต่ที่จริง โลจิสติกส์มีหลายกิจกรรม จากรูปที่ 1.1 จะเห็นว่า ประกอบด้วยกิจกรรมคือ การพยากรณ์อุปสงค์ การวางแผนการผลิต การจัดซื้อ บรรจุภัณฑ์ การเคลื่อนย้ายภายในองค์กร การผลิต คลังสินค้า การขนส่ง การ กระจายสินค้า การบริการลูกค้า เป็นต้น ทุกกิจกรรมในโลจิสติกส์ต้องทางาน อย่างต่อเนื่อง และเกี่ยวข้องกันแบบเป็นกระบวนการ การวัดผลงานจะทาทั้ง กระบวนการหรือทั้งซัพพลายเชน จะเห็นภาพของบริษัทมีการเจริญเติบโตอย่าง ต่อเนื่องมากกว่าการทางานของแต่ละฝ่ายหรือตามหน้าที่ ซึ่งความสัมพันธ์ ระหว่างโลจิสติกส์ และการจัดการซัพพลายเชน ดังแสดงในรูป 1.2
  • 5. จากรูปที่ 12 จะพบว่าการดาเนินงานทุกกิจกรรมต้องประสานงานอย่างสอดคล้องกัน โดยโลจิ สติกส์ แบ่งเป็นสองช่วงคือ การจัดการเพื่อสนับสนุนการผลิต เรียกว่า การจัดการพัสดุ (Material Management) หรือโลจิสติกส์เพื่อการผลิต (Manufacturing Logistics) และ สนับสนุนการตลาด ซึ่งเรียกว่า การกระจายสินค้า (Distribution Management) การไหลของวัตถุดิบผ่านการผลิตจนถึงการกระจายสินค้าสาเร็จรูปผ่านไปยังผู้บริโภค อย่าง ต่อเนื่อง และรวดเร็ว จะสามารถดาเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ต่อเมื่อมี การนาเอาสารสนเทศ ซึ่งประกอบด้วยคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ มาประยุกต์ใช้ใน ทุกกิจกรรมทั้งภายในองค์การ และบริษัท ภายนอก เพื่อสร้างความถูกต้องและรวดเร็ว เรียกว่า การจัดการซัพพลายเชน ซึ่งก่อนที่จะประยุกต์ใช้ การจัดการซัพพลายเชนได้ ควรต้อง ปรับปรุงระบบโลจิสติกส์ในแต่ละบริษัทที่เกี่ยวข้องในซัพพลายเชน ให้สมบูรณ์ จึงจะทาให้ผล ดาเนินงานตลอดซัพพลายมีประสิทธิผล
  • 6. 1.2 ขอบเขตของการจัดการโลจิสติกส์ (Logistics Management Dimension) รูปที่ 1.3 กลยุทธ์โลจิสติกส์
  • 7. จากรูปที่ 1.3 พบว่าการจัดการโลจิสติกส์แบ่งขอบเขตของการจัดการเป็น 3 ระดับ ดังต่อไปนี้ ระดับกลยุทธ์ (Strategic Level) เป็นระดับที่กาหนดนโยบายของบริษัท มีการ วางแผนทิศทาง ทางธุรกิจที่ชัดเจน เช่น นโยบายสินค้าคงคลังจะมีนโยบายแบบใด จะ ทาสต๊อกเพื่อทากาไรทางการตลาด หรือไม่เก็บสต็อก เป็นต้น มีการวัดผลงานด้วย ประสิทธิผลของการดาเนินงาน ประกอบด้วยการกาหนด นโยบาย เพื่อเป้าหมายในการ ให้บริการลูกค้า การมองหาผลิตภัณฑ์ที่ลูกค้ามีความต้องการเพื่อเข้าตลาด โดยเป็นตลาด ที่ผลิตภัณฑ์สามารถจาหน่ายได้
  • 8. ระดับยุทธวิธี (Tactical Level) เป็นระดับที่ต้องมีการวางแผนตามโครง เช่น การ ดาเนินการในซัพพลายเชน บทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบในแต่ละฝ่ายเพื่อให้งานบรรลุ เป้าหมาย ตามนโยบายของบริษัทซึ่งส่วนมากดาเนินการโดยผู้บริหารระดับสูงและระดับกลาง ของบริษัท การวัดผลงาน จะวัดด้วย ประสิทธิผล (Effectiveness) ของงานที่จะดาเนินการคือ บรรลุผลตามเป้าหมายของบริษัท หรืออาจจะ อยู่ในรูปมูลค่าสินค้าคงคลังคลอดซัพพลายเชน เป็นต้น จะเน้นในการออกแบบ ช่องทางการจัดจาหน่าย โดยจะมองว่าจะจาหน่ายที่ไหน เมื่อไร และจาหน่ายด้วยวิธีใด นโยบายสินค้าคงคลัง (Inventory Policy) โดยการกาหนดนโยบายคลังสินค้าจะมองที่ปริมาณ และเวลาในการสั่งซื้อสินค้าการออกแบบเครือข่าย (Network Design) โดยจะกาหนดจานวน ศูนย์กระจายสินค้า และสถานที่ก่อสร้าง โดยอาจจะพิจารณา เป็นการสร้างเองหรือเช่า
  • 9. ระดับปฏิบัติการ (Operational Level) เป็นการน่าซัพพลายเชนมาใช้ในระดับ ปฏิบัติการของ แต่ละฝ่ายของบริษัทเพื่อให้สอดคล้องกับยุทธวิธี เช่น งานจัดซื้อ งาน จัดหา ต้องสอดคล้องกับงานผลิต การจัดการคลังสินค้า การบริหารเครือข่าย เป็นต้น การ วัดผลงานในระดับนี้จะวัดโดยใช้ประสิทธิภาพ เป็นเกณฑ์ จะแบ่งงานเป็น 2 ส่วน คือ การ จัดการวัสดุ และการจัดการการกระจายสินค้า ตามที่ได้กล่าว มาแล้วข้างต้น ซึ่งสินค้าคง คลังเป็นจุดสาคัญที่สุดที่มีความจาเป็นต้องควบคุมอย่างใกล้ชิดและประกาศ เป็นนโยบาย ของบริษัท เพราะทาให้เกิดการจัดการขนส่งในรูปสต็อกในเส้นทางขนส่ง (Pipeline Stock) เพราะต้องทางานให้สอดคล้องกับงานคลังสินค้า โดยต้องใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งในปัจจุบันประกอบด้วย ซอฟต์แวร์ ฮาร์ดแวร์ ระบบเครือข่าย ให้สอดคล้องกับ อุตสาหกรรม และกระบวนการทางานของกิจการ
  • 10. 1.3 การขนส่งและกลยุทธ์โลจิสติกส์ (Transport and Logistics Strategy) การขนส่งเป็นกิจกรรมที่สาคัญของกระบวนการโลจิสติกส์ เพราะในปัจจุบันค่าน้ามัน เชื้อเพลิง ได้ถีบตัวสูงขึ้น ซึ่งกลยุทธ์โลจิสติกส์คานึงถึงสิ่งต่อไปนี้ - ตลาดที่ให้บริการ - ขอบเขตผลิตภัณฑ์ที่มีความต้องการในตลาด - ความต้องการของลูกค้า - วิธีการ เวลา สถานที่ในกระบวนการการผลิต - ปริมาณสติกเก็บไว้ - จานวนผู้ขายปัจจัยการผลิต - วิธีการ เวลา และสถานที่ผลิตสต็อก สถานที่จัดเก็บสต๊อก -วิธีการ และเวลาในการเคลื่อนย้ายสต๊อก
  • 11. โดยสต๊อกในที่นี้ หมายถึง วัตถุดิบ งานระหว่างการผลิต งานประกอบย่อย และสินค้าสาเร็จรูป ขณะที่ การจัดการขนส่งมีเป้าหมายเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพเชิงปฏิบัติการ ต้องกาหนด โครงสร้างให้มีประสิทธิผล เช่น การจัดส่งสินค้าตามคาสั่งซื้อต้องทาโดยมีประสิทธิภาพ โดย สามารถจัดส่งด้วยปริมาณถูกต้อง คุณภาพที่ดี ไม่แตกหรือสูญหายในเวลาที่กาหนด ณ สถานที่ที่ต้องการ ภายใต้ต้นทุนต่าสุด และสอดคล้องกับกระบวนการ โลจิสติกส์ บางครั้งอาจจะมีการใช้รถยนต์ต่างกัน เส้นทางเดินรถที่แตกต่างกัน เครือข่าย กระจายสินค้า และทาเลที่ตั้งที่แตกต่างกัน ซึ่งกิจกรรมการขนส่งสามารถรวมส่งหรือแยกส่งก็ ได้ ต้องทาทุกอย่างให้ถูกต้อง เพื่อให้สอดคล้องกับกลยุทธ์โลจิสติกส์ จาเป็นต้องตัดสินใจ เกี่ยวกับการขนส่งให้ชัดเจน เพื่อให้สามารถรองรับ ความต้องการลูกค้าได้โดยมีเครือข่าย ช่องทางการจัดจาหน่าย ต้องมีระดับการให้บริการ ต้นทุน และรอบเวลา ในการดาเนินงาน สอดคล้องกับกลยุทธทุกระดับ
  • 12. 1.4 การกาหนดกลยุทธ์การขนส่ง (Determining Transport Strategy) เพื่อให้สามารถรักษาระดับการให้บริการตามความต้องการลูกค้า โดยต้นทุนที่เหมาะสม กลยุทธ์ ทั่วไป ของธุรกิจ และทางเลือกเพิ่มเติมระหว่างต้นทุน และระดับการให้บริการซึ่งต้องการในการพิจารณา ตัดสินใจจากมุมมองของการขนส่ง มีสิ่งที่เราต้องพิจารณาดังนี้. 1.4.1 ตรวจประเมินภายในองค์กร ต้องพิจารณาว่าการดาเนินงานปัจจุบัน เกี่ยวกับปัจจัยต่างๆ ซึ่งรวมถึงการวิเคราะห์อุปสงค์และอุปทาน ความต้องการสต๊อก การวิเคราะห์คลังสินค้า ระบบปฏิบัติการ คลังสินค้า การคัดเลือกอุปกรณ์ การวางแผนการไหลของงานในคลังสินค้า การวัด ผลิตผล และต้นทุน คลังสินค้า
  • 13. 1.4.2 เป้าหมายขององค์กร เป็นการมองทิศทางในอนาคตที่ต้องการให้ธุรกิจดาเนินการต่อไป ซึ่งต้อง พิจารณาปัจจัยเหล่านี้ -แนวโน้มของการแข่งขัน :อุปสรรคของผู้ให้บริการจากภายนอก -ฐานของผู้ขายปัจจัยการผลิต :การผลิตการเพิ่มอุปทาน เช่น ความถี่ในการจัดส่ง -ฐานลูกค้า :ชุดของจุดขายสินค้าที่มากขึ้น -ปริมาณอุปสงค์ ผลงาน และการผสมที่หลากหลาย :การจัดส่งแบบผลิตทันเวลาพอดี -แนวโน้มทางกฎหมายและการเปลี่ยนแปลง :สิ่งแวดล้อม -เทคโนโลยีการหยิบสินค้าใหม่ :การใช้ระบบการขนส่งอัจฉริยะ -การมีทรัพยากร :ข้อจากัดของสถานะทางการเงิน
  • 14. 1.4.3 วิธีการทาให้บรรลุเป้าหมายขององค์กร ทางเลือกในอนาคตมีหลายแนวทางที่ต้องนามา พิจารณาเพื่อให้เป็นวิธีการที่เหมาะสม เกิดความสมดุลระหว่างต้นทุน และระดับการให้บริการ ซึ่งต้องทา ให้ การจัดการขนส่งสอดคล้องกับกลยุทธ์การจัดการโลจิสติกส์ และกลยุทธ์องค์กร ทาให้งานบรรลุ เป้าหมาย การที่จะทราบว่าบรรลุถึงเป้าหมายที่ต้องการหรือไม่ ต้องพิจารณาจากผลการวิเคราะห์ด้าน ต้นทุนและรายได้ และผลิตผลหลักที่ต้องมีการวัดโดยวิเคราะห์ให้มีรายละเอียดมากขึ้น ซึ่งจะทาให้ แผนงานที่กาลังดาเนินการ ในปัจจุบันเกิดกลไกในการควบคุม และเป็นพื้นฐานที่จะทาให้กลยุทธ์ที่ได้ กาหนดไว้สามารถบรรลุเป้าหมายได้
  • 15. 1.5 ความสาคัญเชิงกลยุทธ์ของการขนส่ง (Strategic important in Transport) การขนส่งเป็นปัจจัยโครงสร้างพื้นฐาน (Infrastructure) ที่จาเป็นอย่างหนึ่งในการพัฒนาประเทศ การ ขนส่งมีความสาคัญต่อธุรกิจตลอดจนการพัฒนาประเทศอยู่หลายประการ คือ 1.5.1 ช่วยประหยัดค่าก่อสร้างคลังสินค้า การขนส่งปัจจุบันสามารถเพิ่มขนาดการบรรทุก สามารถ รวมสินค้าให้เต็มเที่ยว จะช่วยประหยัดค่าก่อสร้างศูนย์กระจายสินค้า คลังสินค้า ทั้งที่เกิดจาก การซื้อวัตถุดิบ และการขายสินค้าสาเร็จรูปให้ลูกค้า ในด้านของการซื้อวัตถุดิบจากผู้ขาย วัตถุดิบที่สั่งซื้อ จากผู้ขายหลายๆ รายจะถูกรวบรวมสินค้าตามเส้นทาง (Milk Run) เพื่อจัดส่งให้ลูกค้า โดยไม่ต้องนาเข้า จัดเก็บที่คลังสินค้า และขนส่งวัตถุดิบ ตรงไปยังโรงงานของผู้ซื้อซึ่งตั้งอยู่ห่างไกล ทาให้ประหยัดค่าเช่า พื้นที่คลังสินค้า ค่าก่อสร้าง คลังสินค้า และต้นทุนการดาเนินงาน ซึ่งปัจจุบันยังนิยมการดาเนินงานแบบ สินค้าผ่านคลัง หรือแบบท้ายรถ ชนท้ายรถ (Cross Docking) และเสียค่าขนส่งน้อยกว่ากรณีที่ผู้ขายทุกๆ ราย ของผู้ซื้อเอง ดังแสดงในรูปที่ 1.4
  • 17. ในการขนส่งสินค้าสาเร็จรูปให้ลูกค้าแบบส่งทันเวลาพอดี (JIT) ช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย โดยใน อุตสาหกรรมการผลิตสินค้านั้น ผู้ผลิตมักมีหลายโรงงานที่ทาการผลิตสินค้าเพื่อประกอบต่อหลายชนิด เช่น โรงงานประกอบรถยนต์ต้องการชิ้นส่วนในรถยนต์แต่ละคันร่วมหมื่นชิ้น การจัดเก็บจะสูญเสียพื้นที่ คลังสินค้า มาก จึงใช้การขนส่งแบบ Milk Run เพื่อรวบรวมชิ้นส่วนเพื่อส่งให้ลูกค้า โดยการสั่งซื้อปัจจุบัน จะสั่งซื้อผ่าน ระบบออนไลน์ หรือการแลกเปลี่ยนข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ (EDI) การผลิตจะทาการผลิต และจัดส่งขึ้นรถยนต์ โดยไม่ผ่านคลังสินค้า จึงช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายจากการจัดเก็บสินค้าดังรูปที่ 1.5
  • 19. 1.5.2 ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต ในสมัยก่อนเมื่อการคมนาคมขนส่งยังไม่สะดวก มนุษย์ต้อง พึ่งตนเองโดยปลูกข้าว เลี้ยงสัตว์ ทาเครื่องนุ่งห่ม ทาให้ไม่มีความชานาญเฉพาะอย่าง เมื่อมีการ ขนส่ง ประชาชนสามารถติดต่อแลกเปลี่ยนสินค้ากันได้ ทาให้มีความต้องการสินค้ามากขึ้น จึงมีการ แบ่งงานกันทา ผลิตในสิ่งที่ตนถนัดแล้วนามาแลกเปลี่ยนกันทาให้เกิดความชานาญในการทาในสิ่งที่ตนถนัด (specialization) การผลิตที่มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นเพราะในการผลิตนั้นเมื่อเกิดความชานาญงานขึ้น ต้นทุน ต่อหน่วยในการผลิตจะลดลง การซื้อหรือขายสินค้าแต่ละชนิดจานวนมากจะช่วยประหยัดต้นทุน การผลิต คือ ต้นทุนต่อหน่วยสินค้าจะต่า การผลิตสินค้าจานวนมากย่อมต้องใช้วัตถุดิบปริมาณมาก ความสามารถใน ระบบ การผลิตโดยระบบดึง ทาให้เกิดระบบการจัดส่งแบบทันเวลาพอดี ทาให้ต้นทุนการผลิตที่ประหยัด และ เป็นที่ นิยมในปัจจุบัน 1.5.3 ช่วยสนับสนุนนโยบายการให้บริการลูกค้าของกิจการ การที่กิจการมีระบบการขนส่งที่ รวดเร็ว จะช่วย สนับสนุนนโยบายการให้บริการลูกค้าอย่างรวดเร็ว เพราะสามารถส่งสินค้าจากโรงงาน หรือคลังสินค้าที่อยู่ ในพื้นที่ของลูกค้าไปให้ลูกค้าได้อย่างรวดเร็วและไม่เสียเวลา เพราะการขนส่งทาให้สินค้า ส่งถึงมือลูกค้าด้วย ความรวดเร็ว สินค้าอยู่ในสภาพที่ดีตามปริมาณและเงื่อนไขที่ตกลงกัน ส่งตามสถานที่ และเวลาที่กาหนด
  • 20. การเขียนตาราจะเป็นตามหลักเกณฑ์การพัฒนาบุคลากรผู้เชี่ยวชาญด้านขนส่งอย่างต่อเนื่อง ของ ประเทศอังกฤษ (Continuing Professional Development CPD) เพื่อให้สามารถควบคุม และจัดการการขนส่งสินค้าปกติ แบ่งการศึกษาเป็น 3 ระดับ คือ ระดับที่ 1 : 03-01 ระดับปฏิบัติการ ความหมาย วัตถุประสงค์ ประโยชน์ของการขนส่ง วิวัฒนาการของการขนส่ง วัฏจักรชีวิตของการขนส่ง ขอบเขตและหน้าที่ของการขนส่ง การ พัฒนาการขนส่ง ประสิทธิภาพในการขนส่ง ปัจจัยที่สาคัญสาหรับ การขนส่ง การขนส่งกับ แหล่งอุตสาหกรรม เศรษฐกิจการขนส่ง ต้นทุนและอัตราค่าการขนส่ง ประเภทของ การขนส่ง การบริหารงานการขนส่ง การควบคุมการขนส่ง กิจการขนส่งในประเทศไทย แบบจาลองใน การ ขนส่ง เพื่อนามาใช้ในระดับปฏิบัติการของฝ่ายขนส่งของบริษัทเพื่อให้สอดคล้องกับการ ดาเนินงานในระดับ ปฏิบัติการ ซึ่งได้แก่ งานจัดซื้อ งานจัดหางานผลิต การจัดการคลังสินค้า การบริหารเครือข่าย เป็นต้น 1.6 โครงสร้างหลักสูตรการจัดการขนส่ง (Transport Management Course Content)
  • 21. ระดับที่ 2 : 20 - 80 ผู้ควบคุมงานขนส่ง (Transport Supervisor) เป็นการจัดการระดับยุทธวิธี (Tactical Level) เป็นระดับที่ต้องมีการวางแผนตามโครงสร้างที่กาหนดในแผนกลยุทธ์ เช่น การดาเนินการ ในซัพ พลายเชน บทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบในแต่ละฝ่ายเพื่อให้งานบรรลุเป้าหมายตามนโยบาย ของ บริษัท ส่วนมากดาเนินการโดยผู้บริหารระดับกลางของบริษัท การวัดผลงานจะวัดด้วยประสิทธิผล ของ งานในรูปมูลค่าสินค้าคงคลังตลอดซัพพลายเชน จะเน้นในการออกแบบช่องทางการจัดจาหน่าย โดยจะ มองว่าจะจาหน่ายที่ไหน เมื่อไร และจาหน่ายด้วยวิธีใด โดยในระดับนี้มีสาระครอบคลุม 20 บทเรียน Box underline B บทบาทของผู้ควบคุมงานขนส่ง วิธีการขนส่ง การขนส่งทางถนน ชนิดของรถยนต์ การจัดส่ง ระหว่างเมือง การขนส่งในพื้นที่ การจัดส่งทางรถยนต์ การวางแผนการขนส่ง วิธีการวางแผนการบรรทุก ต้นทุนการขนส่ง ผลกระทบจากต้นทุน การควบคุมผลงานเชิงต้นทุน และต้นทุนยานพาหนะ การควบคุม ผลงานเชิงปฏิบัติงาน กฎหมายผู้ประกอบการ การสร้างรถ การซ่อมรถยนต์ กฎหมายผู้ขับขี่รถยนต์ กฎหมายกับขนส่ง คนขับรถ และการบันทึกเวลา ความปลอดภัยของการบรรทุก กฎหมายพิเศษ และ กรณีศึกษา
  • 22. ระดับที่ 3: 03-03 การจัดการเชิงกลยุทธ์การขนส่ง (Transport Strategic Management) เป็นระดับที่ กาหนดนโยบายของบริษัท มีการวางแผนทิศทางทางธุรกิจที่ชัดเจนให้สอดคล้องกับการลงทุน ทั้งด้าน แรงงาน เครื่องจักรอุปกรณ์ สินค้าคงคลัง การเงิน ที่ให้บริการแก่ลูกค้าให้สอดคล้องกับขอบเขต สินค้าที่ ทาตลาด โดยสาระในการศึกษาระดับนี้จะมุ่งในการตัดสินใจเชิงกลยุทธ์ เพื่อหาแนวทางเพิ่มกาไร ลด ต้นทุนจากทางเลือกในวิธีการขนส่ง การเลือกรถยนต์ ความต้องการรถยนต์ การเปลี่ยนและการทดแทน รถยนต์ ต้นทุนค่าขนส่งและผลิตผล กฎหมายขนส่ง การจัดส่งในพื้นที่ การจัดส่งระหว่างเมือง การ ประหยัด น้ามัน การปรับปรุงเทคโนโลยีการขนส่ง สาหรับตาราเล่มนี้เป็นระดับ 1 สาหรับบุคคลทั่วไป ผู้ปฏิบัติงานคลังสินค้า นักศึกษาระดับปริญญา ตรี เพื่อให้สามารถปฏิบัติงานในการจัดการขนส่งทั่วไป
  • 23. การขนส่งเป็นส่วนหนึ่งของระบบกระจายสินค้า ซึ่งถูกกาหนดขึ้นมาเพื่อสร้างความสมดุลระหว่าง อุป สงค์และอุปทานในทุกธุรกิจ ที่ผ่านมาธรรมชาติในการดาเนินธุรกิจในประเทศไทยจะใช้แรงงานเป็นหลัก จะเน้นการจัดการและควบคุมการทางานของคนถึงอย่างไรก็ตามการที่เทคโนโลยีมีความก้าวหน้า ตลอดเวลา ในเชิงสนับสนุนทั้งในการปฏิบัติการทั่วไปและการจัดการขนส่ง เพื่อส่งผลให้ระดับการ ปฏิบัติการ เป็นตัวขับเคลื่อนระบบ ซึ่งความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีจะส่งผลในด้านบวกมากกว่าด้านลบ สามารถเพิ่ม ขีดความสามารถในการพัฒนาการวางแผนและการจัดการเชิงปฏิบัติการ ถ้าเทียบกับส่วน อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ในหน้าที่กระจายสินค้า การขนส่งจะเกี่ยวข้องกับต้นทุนและการบริการ รองจาก กิจกรรมคลังสินค้า ดังแสดง ในรูปที่ 1.6 1.7 บทบาทหน้าที่ของการขนส่ง (Roles of Transport)
  • 25. การดาเนินงานในระดับปฏิบัติการที่ดีมีลักษณะดังนี้ -จัดการการดาเนินงานวันต่อวันอย่างมีประสิทธิภาพ -ตอบสนองต่อการแก้ปัญหาอย่างรวดเร็ว -ใช้ประโยชน์จากทรัพยากรสูงสุด -สอดคล้องกับความต้องการของลูกค้า -รักษาสภาพการดาเนินงานให้อยู่ภายใต้กฎหมาย -มั่นใจเกี่ยวกับความปลอดภัยในการบรรทุกสินค้า โดยสภาพทั่วไปการขนส่งสินค้าสามารถเปิดดาเนินการจากระดับที่มีรถยนต์เพียงคนเดียว จนถึง ระดับการใช้รถยนต์ร่วมกันในการขนส่ง เพื่อทาหน้าที่ในการขนส่งสินค้าไปยังตลาด 1.8 ปัญหาของการขนส่ง จะเห็นได้ว่าการขนส่งช่วยนาความเจริญมาสู่เศรษฐกิจและสังคมหลายประการดังที่ได้ อย่างไรก็ ตามการขนส่งก็ยังก่อให้เกิดปัญหาตามมาหลายประการเช่นกัน ได้แก่
  • 26. 1. ก่อให้เกิดค่าใช้จ่ายอันเป็นภาระของประเทศ การสร้างถนนหนทางจาเป็นต้องใช้งบประมาณในการ ก่อสร้างสูงมากและยังต้องมีค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษาด้วย รัฐบาลจึงต้องเสียค่าใช้จ่าย ในส่วนนี้เป็น จานวนมาก ในบางครั้งเมื่อกาลังเงินในประเทศไม่เพียงพอก็ต้องกู้ยืมเงินจากต่างประเทศ หรือถนนบาง สายก็มีการเก็บค่าธรรมเนียมผ่านทาง เป็นการเพิ่มต้นทุนในการดาเนินงานของผู้ประกอบการด้วย 2. เกิดการจราจรคับคั่ง ในเมืองใหญ่ๆ ที่มีถนนตัดไปมาหลายสาย และมีผู้ใช้ยวดยานมาก ก็ก่อให้เกิด ปัญหาการจราจรคับคั่ง ปัญหารถติดทาให้เสียพลังงานเชื้อเพลิงและมักจะมีอุบัติเหตุเกิดขึ้นบ่อยครั้ง การ ติดต่อธุรกิจก็ชะงักงัน หรือเกิดความล่าช้า 3. เกิดปัญหาด้านมลพิษ การจราจรที่คับคั่งยังก่อให้เกิดปัญหามลพิษทางอากาศ ซึ่งเป็นอันตรายต่อ สุขภาพ 4. เกิดการสูญเปล่าทางเศรษฐกิจ เนื่องจากมีการเดินรถเที่ยวเปล่า 5. การแข่งขันกันทางการขนส่ง ก่อให้เกิดผลเสียเนื่องจากผู้ประกอบการขนส่งแข่งขันกัน ลดอัตราค่าระวาง ซึ่งต้องหาทางชดเชยด้วยการเพิ่มปริมาณบรรทุกในแต่ละเที่ยว จึงมีการบรรทุกเกินพิกัด กันอยู่เสมอ ซึ่ง เป็นผลเสียต่อผู้ประกอบการเอง เพราะทาให้อัตราค่าระวางไม่มีเสถียรภาพและยังทาให้ อายุใช้งานของ ยานพาหนะสั้นกว่ากาหนด น.ส. ลักษณ์คณา พิเนตร 6421297001