SlideShare a Scribd company logo
1 of 25
บทที่6 การจัดการศูนย์
กระจายสินค ้าและการส่ง
มอบ
• คลังสินค ้าหรือศูนย์กระจายสินค ้า คือ สถานที่สําหรับวาง จัดเก็บ
พัก กระจายสินค ้าคงคลัง คลังสินค ้ามีชื่อเรียกได ้ต่างๆ กัน อาทิ
ศูนย์กระจายสินค ้า ศูนย์จําหน่ายสินค ้า และใกล ้ฯลฯ คําว่า
คลังสินค ้าซึ่งเป็นคําที่มีความหมายรวมๆ ส่วนจะเรียกว่าอะไร ก็
ขึ้นอยู่กับหน้าที่ของคสินค ้าแต่ละประเภท คลังสินค ้าที่รับสินค ้าเข ้า
มาทําการคัดแยก แล ้วกระจายออกไป เรียกว่า คุณกระจายสินค ้า
และกระบวนการดังกล่าว เรียกว่า Cross Docking ในขณะที่
คลังสินค ้าบางแห่งหน้าที่เพิ่มขึ้นมาคือหลังรับสินค ้าเข ้ามาแล ้ว ก็
เก็บสินค ้าไว ้และทําหน้าที่จัดสรรสินค ้าก่อนส่งมอบตามคําสั่งซื้อ
จึงมีขั้นตอนย่อยประกอบด ้วย รับสินค ้าเข ้า จัดเก็บ จัดสินค ้าตาม
ใบสั่งซื้อ (OrderPicking) อันเป็นขั้นตอน ที่ใช ้เวลาและกําลังคน
มากที่สุด ตรวจสอบ หีบห่อ และการส่งมอบสินค ้ากล่าวคือ รับ
หน้าที่ในการจําหน่ายไว ้ด ้วย จึงเรียกว่าศูนย์จําหน่ายสินค ้า การลด
เวลาและขั้นตอนในศูนย์จําหน่ายสินค ้าทําได ้ด ้วย การนํา
คอมพิวเตอร์ช่วยออกใบสั่งซื้อ อย่างไรก็ตาม ข ้อควรคํานึงถึง
เกี่ยวกับคลังสินค ้ายังรวมถึงประเด็นเกี่ยวกับความเป็นเจ ้าของ
สายการผลิต การจําหน่าย และการกระจายสินค ้าที่ไม่มีคลังสินค ้า
• ลักษณะของการจัดการคลังสินค้า
• การจัดการคลังสินค ้า เป็นกิจกรรมที่มีบทบาทสําคัญต่อการจัดการโลจิ
สติกส์ โดยผ่านกิจกรรมย่อยๆ เกี่ยวกับการบริหาร จัดการคลังสินค ้า อาทิ การเลือก
ประเภท การเลือกขนาดการเลือกทําเลที่ตั้ง การวางผังคลังสินค ้า การวางแผนการ
เคลื่อนย ้าย สินค ้าภายในคลังสินค ้า รวมทั้งการนําเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช ้ในการ
บริหารคลังสินค ้า เป็นต ้น ซึ่งระบบการจัดการคลังสินค ้าที่มีประสิทธิภาพจะก่อให ้เกิด
ประโยชน์ต่อองค์กร ดังนี้
• 1. ทําให ้มีการเก็บสะสมวัตถุดิบไว ้ในคลังสินค ้า และมีจํานวนที่เพียงพอต่อการ
ผลิต และไม่ทําให ้การผลิตหยุดชะงักไม่ต่อเนื่อง
• 2. ทําให ้มีการกระจายสินค ้าออกสู่ตลาดจากผู้ผลิตสู่ผู้บริโภค โดยผู้ผลิตจะเก็บ
สินค ้าสําเร็จรูปไว ้ในคลังสินค ้า เพื่อรอการจําหน่ายต่อไป
3. เป็นที่เก็บรักษาและสะสมพัสดุสําหรับธุรกิจบริการที่ไม่จําเป็นต ้องเก็บ
วัตถุดิบในการผลิตสินค ้า อย่างไรก็ตาม ธุรกิจบริการที่จําเป็นต ้องมีคลังสินค ้า
ไว ้เก็บพัสดุ และอุปกรณ์ที่จําเป็นต่อการดาเนินธุรกิจ
4. เป็นที่ให ้เครดิตกับธุรกิจ กล่าวคือ ผู้ฝากสินค ้าที่อยู่ในคลังสินค ้าสาธารณะ
สามารถนําสินค ้านั้นเป็นหลักประกันในการกู้ยืมจากสถาบันการเงิน เช่น
ธนาคาร เป็นต ้น
5. เป็นที่สําหรับให ้หน่วยงานของรัฐใช ้สําหรับสะสม หรือเก็บรักษาสินค ้าที่
รัฐบาลต ้องการเข ้าไปแทรกแซงราคาตลาดสินค ้าบางชนิด เช่น ข ้าว มัน
สําปะหลัง ยางพารา เป็นต ้น เพื่อรักษาระดับราคาให ้กับเกษตรกร
6. ทําให ้ประหยัดค่าขนส่ง ในกรณีที่เป็นสินค ้าสําเร็จรูป เพื่อรอนําไปจําหน่าย
ต่อจะนําสินค ้านั้นมารวมที่คลังสินค ้าก่อน ซึ่งจะทําให ้มีการประหยัดค่าขนส่ง
มากกว่าที่ผู้ผลิตส่งไปที่ร ้านจําหน่ายสินค ้าโดยตรง
กระบวนการที่สําคัญในการ
จัดการคลังสินค ้า
โดยปกติแล ้วคลังสินค ้ามีเป้าหมายที่สําคัญคือเป็นสถานที่พักในการเคลื่อนที่ของสินค ้า ในโซ่
อุปทานจนถึงลูกค ้าปลายทาง ซึ่งมีกระบวนการพื้นฐานที่สําคัญในการบริหารคลังสินค ้า 3
กระบวนการประกอบด ้วย การรับสินค ้า การจัดเก็บสินค ้า และการกระจายสินค ้า ดังภาพที่ 61
การรับ
สินค ้า
การจัดเก็บ
สินค ้า
การ
กระจาย
สินค ้า
1. การรับสินค ้า ประกอบด ้วยกิจกรรม เช่น การขนถ่ายสินค ้าจากพาหนะที่นําเข ้าคลัง สินค ้า
การตรวจนับสินค ้าให ้ตรงกับจํานวนที่สั่งซื้อ รวมทั้งการรับสินค ้าคืนจากลูกค ้า เป็นต ้น การ รับ
สินค ้าจึงเป็นกิจกรรมพื้นฐานของทุกคลังสินค ้าสําหรับการเป็นสถานที่พักสินค ้า ถ ้ามีการบริหาร
จัดการการรับสินค ้าที่ดี องค์การจะมั่นใจได ้ว่ามีสินค ้าเพียงพอต่อความต ้องการของลูกค ้าไม่ว่า
ลูกค ้าจะอยู่ส่วนใดของโซ่อุปทานก็ตาม
สิ่งแวดล ้อมใหม่ที่เกิดขึ้นกับระบบ การกระจายสินค ้าระดับโลก
ช่องทางการกระจายสินค ้าแบบดั้งเดิม ศูนย์กระจายสินค ้าจะได ้รับการจัดส่ง
สินค ้าจากส่วนกลาง และส่งต่อไปยังผู้ค ้าส่งและผู้ค ้าปลีกตามลําดับ ในการดําเนินการที่
มีหลายขั้นตอนจําเป็นต ้องทําให ้แน่ใจว่ามีสินค ้าเพียงพอสําหรับผู้บริโภคขั้นสุดท ้าย ผล
คือระบบมีการตอบสนองที่ช ้าทําให ้ระดับ การให ้บริการ และยิ่งมีระดับความต ้องการสูง
จะส่งผลให ้สินค ้าขาดสต็อกรวมทั้งระดับการหมุนเวียน สินค ้าคงคลังก่อให ้เกิดต ้นทุน
การจัดเก็บที่สูงมากขึ้น ระบบเท่านี้กําลังจะมีการเปลี่ยนแปลง ซึ่ง จะมีความหลากหลาย
มากขึ้น ทําให ้เกิดการบริการที่รวดเร็วขึ้นและมีต ้นทุนในการเปลี่ยนแปลงที่ ลดลง การ
เก็บสินค ้าคงคลังจะถูกเก็บไว ้ที่ส่วนกลางโดยมีระดับการจัดเก็บที่น้อยลง ขจัดการ สร ้าง
หรือใช ้ศูนย์กระจายสินค ้าโดยหันมาใช ้ศูนย์กระจายสินค ้าจากส่วนกลางหรือการกระจาย
สินค ้าโดยตรงไปยังลูกค ้า เราจะพิจารณาตัวอย่างจาก 3 อุตสาหกรรมต่อไปนี้คือ
อุตสาหกรรมร้านค้าปลีก
ในปัจจุบันอุตสาหกรรมค ้าปลีกมีการพัฒนาการเติบโตเพิ่มมากขึ้น ซึ่งร ้านค ้าปลีกเหล่านี้
จําเป็นต ้องมีการสั่งสินค ้าเข ้าร ้านเพิ่มมากขึ้น ทําให ้ส่งผลกระทบต่อกิจกรรมการกระจาย
สินค ้า บริษัทพรอตเตอร์แอนด์แกรมเบิล (P&G) ได ้ส่งมอบสินค ้ามายังร ้านค ้าที่เป็น
Modern Trade โดยผ่าน การจัดส่งจากโรงงานมายังศูนย์กระจายสินค ้าของผู้ค ้าปลีกโดยใช ้
ระบบ Cross-Dock หรือจัดส่งให ้ผู้ค ้าปลีกโดยตรง โดยผ่านทางแนวคิดใหม่ เช่น ผ่านทาง
ระบบ VMI เพื่อตอบสนองลูกค ้าได ้อย่างมี ประสิทธิภาพ
อุตสาหกรรมสิ่งทอ
ผู้จัดส่งสิ่งทอได ้ใช ้เทคนิคการตอบสนองที่รวดเร็ว (Quick
Response) เพื่อลดช่วงเวลาโดยใช ้การสื่อสารข ้อมูลที่มี
ประสิทธิภาพ ความจําเป็นสําหรับคําสั่งซื้อ และการส่งมอบที่
รวดเร็วทําให ้เกิด การเปลี่ยนแปลงหลายประการไม่เพียงแต่ระดับ
อุตสาหกรรมยานยนต์
ส่วนใหญ่มักมีรูปแบบการเก็บรถยนต์ในจํานวนมาก เพื่อให ้ลูกค ้าสามารถเลือกแบบและสี
ตามที่ลูกค ้าต ้องการ ดังนั้นเมื่อมีการผลิตรุ่นใหม่ออกมา ทําให ้รถรุ่นเก่าที่ยังอยู่ในสต๊อกตก
รุ่นไป ซึ่ง ในประเทศญี่ปุ่ นได ้จัดการปัญหาเหล่านี้โดยจะมีการแสดงรถยนต์เพียงไม่กี่แบบ
เพื่อใช ้เป็นแบบ ตัวอย่างให ้กับลูกค ้า หลังจากที่ลูกค ้าเลือกแบบแล ้ว แบบและสีที่ลูกค ้า
ต ้องการจะถูกส่งไปยัง โรงงานเพื่อที่จะผลิตตามความต ้องการของลูกค ้า โดยจะใช ้เวลาส่ง
มอบไม่เกิน 2 สัปดาห์ ความ พยายามที่จะลดช่วงเวลาในการสั่งซื้อ และส่งมอบรถยนต์มี
เป้าหมายเพื่อที่จะตัด สต๊อกส่วนเกิน ออกไป การนํา E-Commerce มาใช ้เป็นอีกช่องทาง
หนึ่งซึ่งจะทําให ้การสั่งซื้อรถยนต์สามารถทําได ้ผ่านทาง Website โดยลูกค ้าสามารถเลือก
รุ่นและ Option ต่างๆ ที่ต ้องการอีกรูปแบบหนึ่งซึ่งจะเป็น ปัจจัยที่กระทบต่อการจําหน่าย
รถยนต์ คือการจําหน่ายรถยนต์อาจจะไม่ใช่แหล่งสร ้างทําไรอีกต่อไป แต่จะเป็นการให ้
กลุ่มผู้ค้าส่ง
บทบาทของผู้ค ้าส่งกําลังจะเปลี่ยนไปในอุตสาหกรรม
อาหาร ผู้ค ้าปลีกและผู้ผลิตจะเป็นผู้ดําเนินการศูนย์กระจายสินค ้าในการที่จะ
จัดเก็บแยกประเภทสินค ้า และส่งต่อไปยังลูกค ้า การขนส่ง โดยตรงไปยังผู้
จําหน่ายอาจจะถูกเปลี่ยนโดยรวมสินค ้าคงคลังไว ้ที่ศูนย์กลาง เพื่อดําเนิน
กิจกรรมทาง ด ้านโลจิสติกส์อื่นๆ ต่อไป ในขณะที่กลุ่มสินค ้าบางประเภท
เช่น สินค ้าประเภทเวชภัณฑ์ อุปกรณ์ สํานักงานและสุขภัณฑ์ ยังจําเป็นต ้อง
ใช ้กระจายสินค ้าเช่นเดิม
ศูนย์กระจายสินค้า
ศูนย์กระจายสินค ้าในอุตสาหกรรมค ้าปลีกอาจจะเลือกที่จะจัดเก็บสินค ้าคงคลังเพื่อ
ใช ้ใน การจัดส่งในแต่ละท ้องถิ่น การนําเทคนิค (Cross Dock เข ้ามาใช ้หรือแม ้แต่
การบรรจุผลิตภัณฑ์ต่างๆ ไว ้บน Palet เพื่อทําการส่งไปยังร ้านค ้าปลีกต่างๆ หรือจะ
เป็นการนําระบบบริหารคลังสินค ้ามาใช ้ใน การควบคุมสินค ้าคงคลัง
เกี่ยวข ้องกับระบบการขนส่งและข ้อมูลในหลายๆ แง่มุม ระบบการขนส่งที่มีความรวดเร็ว และมีต ้นทุน
ที่จะช่วยให ้ระบบการเติมเต็มสินค ้าทําได ้รวดเร็วมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ระบบข ้อมูล จะช่วยทําให ้ธุรกิจ
สามารถควบคุมสินค ้าคงคลัง กระบวนการสั่งซื้อ และการเคลื่อนย ้ายผลิตภัณฑ์ ได ้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
ความสนใจที่จะแตกต่างกันออกไปขึ้นอยู่กับแต่ละอุตสาหกรรม โดยจะมี 4 ขั้นตอนของการ
บูรณาการดังนี้
1. การควบคุมสอร์แต่ละแห่ง
2. การควบคุมศูนย์กระจายสินค ้า
3. การควบคุมสํานักงานใหญ่
4. ส่งมอบแบบทันเวลาพอดี
รูปแบบต่างๆ เหล่านี้แสดงให ้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงระบบการเคลื่อนย ้ายจากสถานที่ต่างๆ
มาเป็นการรวมศูนย์ที่ใดที่หนึ่ง การสร ้างความสัมพันธ์กับผู้จัดส่งสินค ้าและผู้ให ้บริการโลจิ
สติกส์ เชื่อมโยงเข ้ากับเครือข่ายของศูนย์กระจายสินค ้าโดยประสานเข ้ากับระบบการขนส่ง
ปัญหาต่างๆ ที่ เกิดขึ้นจะถูกนําไปแก ้ปัญหาร่วมกัน ซึ่งแตกต่างจากรูปแบบเดิมๆ ที่มักจะ
เป็นหน่วยเชื่อมโยงระหว่างผู้ผลิต (Manufacturer) กับผู้ขายปลีก (Retailers) จะเป็นผู้ให ้บริการทาง
ด ้านโลจิสติกส์ (Logistics Provider) ในด ้านการจัดเก็บสินค ้าและการจัดการขนส่งสินค ้าสําเร็จรูปให ้
กับลูกค ้าได ้อย่างทันเวลาและถูกต ้องตรงตามความต ้องการ DC ส่วนใหญ่จะเป็นผู้ให ้บริการภายนอก
(Outsource) หรือ Third Party Logistics Service Providers (3PL) จะทําหน้าที่รับสินค ้าจากผู้ผลิต แต่
ละรายมาเก็บในคลังสินค ้าของตน โดยดําเนินการบริหารจัดการในการควบคุมปริมาณด ้าน
เทคโนโลยีในการกระจายและจัดส่งสินค ้าแทนเจ ้าของสินค ้าหรือผู้ผลิตสินค ้าโดยรับผิดชอบงาน
ขนส่งจนสินค ้าไปสู่ผู้รับ ประโยชน์ที่เกิดขึ้นนี้ คือ การลดค่าใช ้จ่ายในการขนส่งของผู้ผลิตไปสู่ผู้ขาย
ปลีกหรือลูกค ้าแต่ละราย ผู้ผลิตสามารถขนส่งมาที่ DC เพียงแห่งเดียว โดย DC จะทําการกระจาย
สินค ้าสู่ผู้ขายปลีกตามความถี่ที่ผู้ขายปลีกต ้องการทําให ้ไม่จําเป็นต ้องมีที่เก็บสินค ้าคงคลังจํานวน
มากที่ผู้ขายปลีกอีกต่อไป ค่าใช ้จ่ายส่วนวัสดุคงคลังของร ้านขายปลีกก็ลดลง ทําให ้ต ้นทุนรวมส่งผล
ให ้มีความได ้เปรียบในด ้านการแข่งขันทั้งด ้านราคาและความรวดเร็วในการบริการ ในปัจจุบันร ้าน
ขายปลีกหลายแห่งจึงสามารถรับประกันราคาตํ่าสุดแก่ผู้บริโภคได ้ (สมโรตม์ โกมลวนิช และอนันต์
โรจนวงศ์ 2552. 3)
ศูนย์กระจายสินค ้า หรือที่มักเรียก ทับศัพท์ว่า DC เป็นส่วนหนึ่งที่อยู่ในกิจกรรมของโลจิสติกส์ โดย
เป็นกลไกให ้เกิดการขับเคลื่อนหรือเคลื่อนย ้ายสินค ้าไปสู่ลูกค ้าภายใต ้เงื่อนไขของเวลา และ ต ้นทุน
ที่สามารถแข่งขันได ้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยความหมายของศูนย์กระจายสินค ้าเป็นหน่วย ของโลจิ
สติกส์ในการทําหน้าที่ทางธุรกรรมรับช่วงส่งสินค ้าสําเร็จรูปที่เป็น Final Production เพื่อให ้มี การส่ง
ทําหน้าที่ในการรับและส่งมอบหรือจัดส่งสินค ้า อะไหล่ วัตถุดิบ รวมทั้งบริการต่างๆ ซึ่งเป็น สาระ
ส่วนควบคุมของสินค ้าจากแหล่งที่ใช ้เป็นศูนย์กลางไปสู่แหล่งที่มีความต ้องการตามเงื่อนไข และ
เวลาที่ได ้มีการตกลงกัน ดังนั้น หน้าที่สําคัญของศูนย์กระจายสินค ้าจึงเป็นแหล่งในการรวบรวม
แบ่ง ประกอบ บรรจุ คัดแยก ให ้เหมาะสมกับประเภทยานพาหนะที่จะใช ้ในการขนส่งให ้กับลูกค ้า
หรือผู้รับสินค ้า ซึ่งจะมีความแตกต่างไปตามสภาพแวดล ้อม โดยพันธกิจที่สําคัญของศูนย์กระจาย
สินค ้าจะเกี่ยวข ้องกับการจัดการปฏิสัมพันธ์ของข ้อมูลข่าวสารระหว่างคนและหรือหน่วยงานที่
เกี่ยวข ้อง รวมถึงการจัดการคลังสินค ้าประเภท “Cross Dock” และเกี่ยวกับ การบรรจุภัณฑ์
(Packaging) รวมทั้งการจัดการเปลี่ยนโหมดหรือประเภทของการขนส่ง (Mode of Transport)
โดยเฉพาะหน้าที่ ของการวางแผนการส่งมอบสินค ้า เพื่อให ้ส่งสินค ้าที่ถูกต ้องในเวลาที่ถูกต ้อง
ไปสู่ลูกค ้าตรงตาม สถานที่ซึ่งกําหนดไว ้ชัดเจนและส่งมอบตรงตามเวลาที่ต ้องการ
1. เป็นจุดรวบรวมสินค ้า แยกประเภท และกระจายสินค ้า ที่มาจากต ้นทาง
หลายแห่งเพื่อ ไปยังลูกค ้า โดยผู้ขนส่งสินค ้าจากแหล่งต่างๆ จะนําสินค ้ามา
รวบรวมที่ศูนย์กระจายสินค ้าเพื่อบรรจุ และคัดแยกสินค ้า ส่งมอบโดยกระจาย
สินค ้าแก่ลูกค ้าปลายทางที่หลากหลาย การดําเนินการใน ลักษณะนี้จะช่วยลด
ต ้นทุนในการขนส่งจากต ้นทาง (ผู้ผลิต) ไปยังลูกค ้าปลายทาง (ผู้ประกอบการ
ค ้าส่งและค ้าปลีก
2. เป็นจุดเปลี่ยนถ่ายสินค ้าระหว่างการขนส่งหลายรูปแบบ เช่น การเปลี่ยน
ถ่ายจาก การขนส่งโดยรถบรรทุกคอนเทนเนอร์ มาเป็นรถบรรทุกขนาดเล็ก
หรือจากการขนส่งจากรถไฟมา เป็นรถบรรทุก ซึ่งเป็นเหตุผลสําคัญที่ทําให ้
สินค ้าและบริการเคลื่อนที่และส่งมอบให ้กับลูกค ้าปลายทาง ได ้อย่าง
เหมาะสมตามสภาพของแต่ละท ้องถิ่น
3. ศูนย์กระจายสินค ้าจะทําหน้าที่เป็นจุดเก็บสินค ้า เพื่อเป็นที่เก็บสินค ้าในการ
นําส่งต่อไป ยังลูกค ้า โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อลดระยะทางและเวลาในการ
นําส่ง โดยปกติการจัดตั้งศูนย์กระจาย สินค ้าของผู้ประกอบการค ้าส่งและค ้า
ปลีกขนาดใหญ่ มักจะกําหนดพื้นที่ในการจัดตั้งศูนย์โดยแบ่ง เป็นเขต โดยมี
กําหนดระยะเวลาในการดําเนินงานสั้นๆ เพื่อให ้ทันเวลา สามารถส่งมอบสินค ้า
ให ้ ลูกค ้าได ้อย่างสมํ่าเสมอ
ศูนย์รวบรวมและกระจายสินค ้า หมายถึง คลังสินค ้าใช ้สําหรับในการรับสินค ้าและส่งสินค ้า ในเวลาเดียวกัน หรือ
เป็นคลังสินค ้าซึ่งมีการออกแบบเป็นพิเศษ เพื่อใช ้ในการขนถ่ายจากพาหนะหนึ่ง ไปสู่อีกพาหนะหนึ่ง โดย Cross
Dock ส่วนใหญ่แล ้วเหมาะจะเป็นสถานที่ ซึ่งมีลักษณะเป็นศูนย์ รวบรวมและกระจายสินค ้า ซึ่งจะทําหน้าที่ในการ
บรรจุและคัดแยกสินค ้า โดย Cross Dock จะทํา หน้าที่เป็นสถานีเปลี่ยนถ่ายสินค ้าระหว่างรูปแบบการขนส่ง ซึ่ง
อาจเป็นจากซัพพลายเออร์หลายราย แล ้วนํามาคัดแยกรวบรวมบรรทุก เพื่อจัดส่งให ้ลูกค ้าแต่ละราย ซึ่งจะจัดส่ง
ต่อให ้ลูกค ้าซึ่งส่วนใหญ่ จะเป็นร ้านผู้ขายปลีก หรือร ้านสะดวกซื้อ ซึ่งจะมีความต ้องการสินค ้าย่อยที่หลากหลาย
สมโรตม์ โกมลวนิช และอนันต์ โรจนวงศ์. 2553 5 Cross Dock จะมีลักษณะคล ้ายคลังสินค ้าที่มี 2 ด ้าน โดยด ้าน
หนึ่งสําหรับใช ้ในการรับสินค ้า และอีกด ้านหนึ่งใช ้ในการจัดส่งสินค ้า โดยสินค ้า นําเข ้ามาใน Cross Dock จะมี
กระบวนการคัดแยก บรรจุและรวบรวมสินค ้า เพื่อจัดส่งไปให ้กับผู้รับ ซึ่งโดยปกติแล ้ว สินค ้าเข ้ามาเก็บและจัดส่ง
มักจะ ดําเนินการให ้เสร็จสิ้นภายใน 24 ชั่วโมง ภารกิจสําคัญของ Cross Dock จะเป็นตัวกลางในการ รวบรวม
สินค ้าให ้สามารถจัดส่งได ้เต็มคันรถหรือใช ้พื้นที่ในคอนเทนเนอร์ให ้ได ้เต็มพิกัด โดย Cross Bock ซึ่งอาจจะเรียก
ได ้ว่า ศูนย์รวบรวมและกระจายสินค ้า ส่วนใหญ่แล ้วศูนย์รวบรวมและกระจายสินค ้า จะกระจายอยู่ตามภาคหรือ
จังหวัด ซึ่งเป็นศูนย์กลางของการขนส่ง จึงมีส่วนช่วยแก ้ปัญหารถ บรรทุกที่ไม่มีสินค ้าในเที่ยวกลับ ซึ่งเป็นปัญหา
สําคัญของการขนส่งทางถนนในประเทศไทย ทั้งนี้ Cross Dock อาจจะทําหน้าที่เป็น ICD (Inland Container
Depot) โดยสามารถเชื่อมโยงการขนส่งใน รูปแบบต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นการขนส่งทางรถไฟ ทางรถบรรทุก หรือ
ขนส่งทางนํ้า หรือท่าเรือ-สนามบิน ซึ่งแสดงให ้เห็นว่า Cross Dock จะมีบทบาทและเป็นปัจจัยสําคัญต่อการ
สนับสนุนรูปแบบการขนส่ง ที่เรียกว่า Multimodal Transport
สมโรตม์ โกมลวนิช และอนันต์ โรจนวงศ์ 2553 : 45) ได ้กล่าวไว ้ว่า การส่งมอบ หมายถึง การ
จัดสรรทรัพยากรที่มีอยู่ให ้สามารถผลิตสินค ้า หรือบริการได ้ถึงมือลูกค ้าตรงตามเวลาที่กําหนด
โดยวิธีการให ้หน่วยงานสามารถผลิตและส่งสินค ้าให ้หน่วยงานต่อไปได ้โดยไม่ล่าช ้า เพื่อที่จะ
สามารถส่งมอบสินค ้าให ้ลูกค ้าได ้ตามกําหนดเวลาที่ลูกค ้าต ้องการ การส่งมอบที่ดีจะช่วยให ้เกิด
การ ลดต ้นทุน และทําให ้เกิดคุณภาพของสินค ้า การส่งมอบแบ่งเป็น 2 ส่วน คือ ส่งมอบภายใน
หน่วยงาน และการส่งมอบภายนอก
ธนิต โสรัตน์ (2550 : 68-72) ได ้กล่าวถึงความสัมพันธ์กับผู้ส่งมอบ (Supplier Relationship) ของ
Burnes (1998) ไว ้ว่า “ความสัมพันธ์กับผู้ส่งมอบ คือ การที่ลูกค ้าและผู้ส่งมอบมีการพัฒนา
ความสัมพันธ์กันอย่างใกล ้ชิดและในระยะยาวร่วมกันแบบพันธมิตร (Partnership) โดยมี
วัตถุประสงค์ เพื่อให ้ได ้มาซึ่งผลประโยชน์ทางการค ้าอย่างดีที่สุด” และ Tennyson, et al. (2000)
ว่า “ความสัมพันธ์ กับผู้ส่งมอบเป็นความร่วมมือระหว่างสองบริษัทหรือมากกว่าซึ่งเห็นชอบที่จะ
ทํางานร่วมกันเพื่อมุ่งสู่ การดําเนินงานที่ยั่งยืน การทําธุรกิจลักษณะนี้ต ้องมีการแลกเปลี่ยนความ
เสี่ยงและผลประโยชน์ ร่วมกัน รวมทั้งควรมีการประเมินและทบทวนการทํางานร่วมกันอย่าง
สมํ่าเสมอเพื่อสร ้างความ ยั่งยืนในการดาเนินงาน
จากความหมายดังกล่าวสรุปได ้ว่า การส่งมอบ หมายถึง การจัดการวัสดุ วัตถุดิบ และ ผลิตภัณฑ์
สินค ้า หรือบริการจากผู้ผลิตต ้นทางไปยังผู้บริโภคปลายทางได ้อย่างรวดเร็วทันเวลาและ ถูกต ้อง
ตามความต ้องการของผู้บริโภคตามที่ได ้ตกลงกันไว ้
การแข่งขันในโลกธุรกิจปัจจุบันมีความรุนแรงมากขึ้น เนื่องจากลูกค ้ามีความต ้องการสินค ้า ที่มี
ความแตกต่างและหลากหลาย ตัวอย่าง เช่น รถยนต์ ซึ่งจะมีหลายรุ่น หลายแบบ และในแต่ละ รุ่นก็
จะมีรายละเอียดการออกแบบที่แตกต่างกันไปตามความต ้องการของลูกค ้า นอกเหนือจาก คุณภาพ
กําหนด (Specitation) ที่ต ้องผลิตเพื่อให ้ลูกค ้าพอใจแล ้ว การส่งมอบสินค ้าที่รวดเร็ว และ ทันเวลาก็
เป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่จะช่วยให ้บริษัทมีความได ้เปรียบในการแข่งขันซึ่งการที่จะบรรลุ วัตถุประสงค์
ดังกล่าวได ้บริษัท หรือโรงงานจะต ้องมีระบบการส่องมอบภายในที่ดีเสียก่อน การ ปรับปรุงการส่ง
มอบนั้นต ้องเริ่มจากหน่วยย่อยที่สุดของการผลิต นั่นคือการส่งมอบระหว่างหน่วยที่ ผลิตต่อกัน โดย
ต ้องพยายามลดความสูญเสียต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นในระหว่างกระบวนการผลิตเพราะ ทุกขั้นตอนของ
การส่งมอบในสายการผลิตจะมีผลกระทบต่อการส่งมอบในขั้นสุดท ้าย คือ การส่ง มอบให ้ลูกค ้า ซึ่ง
สามารถแบ่งการส่งมอบออกเป็น 2 ลักษณะ คือ
1. การส่งมอบภายในหน่วยงาน คือ การส่งมอบสินค ้า บริการ หรืองานที่มีคุณภาพให ้กับ ผู้ที่รองาน
วันถัดไป ซึ่งลูกค ้านั้นอาจจะเป็นเพื่อนร่วมงาน โดยหน่วยงานจะต ้องมีการดําเนินการใน การสร ้าง
คุณภาพ โดยใช ้เทคนิควิธีการของการเพิ่มผลผลิตเข ้ามาช่วย เช่น การดําเนินกิจกรรม 5 การใช ้
ระบบ Just in time การให ้พนักงานทุกคนมีส่วนร่วมในการสร ้างคุณภาพในการทํางาน
2. การส่งมอบภายนอก ได ้แก่ การส่งสินค ้า หรือบริการให ้แก่ลูกค ้า โดยจะต ้องเป็นไปตาม
กําหนดเวลา ปริมาณ คุณภาพตามที่ลูกค ้ากําหนด
จากความสําคัญของการส่งมอบสามารถสรุปได ้ว่า การส่งมอบภายในหน่วยงานและการ ส่งมอบ
ภายนอกหน่วยงาน จําเป็นจะต ้องคํานึงถึงความสูญเสียที่เป็นอุปสรรคต่อการส่งมอบทําให ้ไม่
สามารถส่งมอบสินค ้าได ้ตามกําหนดเวลาตามความต ้องการของลูกค ้า ความสูญเสียดังกล่าว ได ้แก่
ระยะทางในการผลิตที่ยาวเกินไป
กําลังการผลิตไม่เพียงพอ วิธีการทํางานของพนักงานไม่ เหมาะสม เครื่องจักรไม่มีประสิทธิภาพ
การรอคอยคําสั่งซื้อหรือการคอยข ้อมูลอื่นๆ
โดยประเภทความสัมพันธ์ของผู้ส่งมอบแต่ละประเภทจะมีลักษณะและระยะเวลาในการ พัฒนา
ความสัมพันธ์ที่แตกต่างกัน ดังสรุปได ้ตามตารางที่ 6.1
ตารางที่ 6.1 แสดงให ้เห็นว่าการให ้ความร่วมมือในระดับ Cooperation จะเน้นการจัดซื้อ กับผู้ส่งมอบ
จํานวนน้อยราย โดยจะมีการทําสัญญาซื้อขายในระยะยาว ซึ่งความสัมพันธ์ระดับนี้จะ เป็นการ
ดําเนินงานระหว่างหน่วยงานจัดซื้อของผู้ซื้อกับผู้ส่งมอบ ซึ่งใช ้ระยะเวลาสั้นในการพัฒนา
ความสัมพันธ์แบบ Cooperation ให ้สําเร็จผล แต่ความสัมพันธ์แบบ Coordination เป็นความสัมพันธ์ ที่
จะต ้องใช ้ระยะเวลายาวในการพัฒนาความสัมพันธ์ให ้ประสบผลสําเร็จเนื่องจากจะต ้องมีการ
เชื่อมโยงระบบสารสนเทศรวมทั้งการแลกเปลี่ยนข ้อมูลทางอิเล็กทรอนิคส์ระหว่างบริษัทในหลายๆ
หน่วยงาน และสําหรับความสัมพันธ์แบบ Collaboration เป็นความสัมพันธ์ที่จะต ้องใช ้ระยะเวลายาว
ในการพัฒนาให ้ประสบผลสําเร็จและต ้องมีการพัฒนาต่อไปเรื่อยๆ ไม่มีกําหนด เนื่องจากต ้องมีการ
วางแผนการดําเนินงานร่วมกัน การแบ่งปันเทคโนโลยี ทําให ้บริษัทผู้ส่งมอบและผู้ซื้อสามารถมอง
เห็นซึ่งกันและกันเหมือนกับเป็นบริษัทของตนเอง
Just in Time หรืออาจเรียกว่า JIT ซึ่งหมายถึง การส่งมอบแบบทันเวลาถูกต ้อง ถูกสถานที่ ตรงความ
ต ้องการ ภายใต ้ต ้นทุนที่แข่งขัน (Delivers the right items at the right place in the righ need by the
right time with the right cost) โดยหลักการของ Just in Time จะหมายถึง การจัดการ กระบวนการ
ต่างๆ เพื่อให ้มีการส่งมอบผลิตภัณฑ์ สินค ้า หรือบริการให ้กับลูกค ้าตามวันและเวลาที่ ได ้มีการตกลง
กัน คือ ส่งมอบสินค ้าเมื่อมีการใช ้จริงเท่านั้น ทั้งนี้ ความหมายของ Justin Time Delivery ยัง
ครอบคลุมไปถึงความถูกต ้องของปริมาณ (Quality) จํานวน (Quantity) เงื่อนไข สถานที่ และ ความ
ปลอดภัย รวมถึงต ้นทุนที่แข่งขันได ้ ส่วนใหญ่แล ้วยังเข ้าใจว่า Just in Time มีความหมาย
การที่จะทําการจัดซื้อจัดหาสินค ้าหรือวัตถุดิบชนิดใดชนิดหนึ่งนั้น กลยุทธ์หนึ่งในการสร ้าง ความ
ได ้เปรียบก็คือ การสร ้างและการพัฒนาผู้ส่งมอบ ซึ่งรูปแบบของการพัฒนาผู้ส่งมอบมีหลาย
รูปแบบ การแบ่งประเภทของผู้ส่งมอบ โดยสมาคมการบริหารการจัดซื้อแห่งชาติ (Nation Associati
tion of Purchasing Management : NAPM) ซึ่งแบ่งผู้ส่งมอบออกเป็น 4 ประเภทหลักๆ ตามความ
สัมพันธ์ระหว่างผู้ส่งมอบกับธุรกิจ ได ้ดังนี้
1. ผู้ส่งมอบที่ผ่านการคัดเลือก (Approved Suppliers)
เป็นผู้ส่งมอบที่ผ่านกระบวนการคัดเลือกของธุรกิจในเบื้องต ้น และได ้รับการยอมรับให ้อยู่ใน รายชื่อ
ของผู้ส่งมอบของวัตถุดิบนั้นๆ ของธุรกิจ หรือเรียกว่า บัญชีรายชื่อผู้ส่งมอบที่ผ่านการคัดเลือก
(Approve Vendor List JAVL) ซึ่งผู้ส่งมอบที่จะอยู่ในรายชื่อของธุรกิจได ้นั้น จําเป็นอย่างยิ่งที่จะต ้อง
มี คุณสมบัติเฉพาะ ดังนี้
1.1 วัตถุดิบหรือสินค ้าของผู้ส่งมอบมีลักษณะตรงตามข ้อกําหนดและคุณสมบัติที่
1.2 ราคาที่ผู้ส่งมอบนําเสนอเป็นราคาที่ยอมรับได ้ในตลาดกําหนดไว ้ของบริษัท
1.3 ผู้ส่งมอบความสามารถที่จะส่งมอบสินค ้าหรือวัตถุดิบได ้ตรงตามเวลาและปริมาณที่ต ้องการ
2. ผู้ส่งมอบในลาดับต้น (Preferred Suppliers)
เป็นผู้ส่งมอบที่ดําเนินธุรกิจกับบริษัทอยู่แล ้ว โดยมีการจัดส่งสินค ้าหรือวัตถุดิบให ้กับบริษัท
อย่างสมํ่าเสมอและสามารถตอบสนองต่อความต ้องการของบริษัทได ้อย่างดี เช่น มีการส่ง
มอบ วัตถุดิบหรือสินค ้าที่ตรงเวลาและปริมาณที่ต ้องการ คุณภาพของวัตถุดิบหรือสินค ้าตรง
ตามที่ตกลง ราคาของวัตถุดิบหรือสินค ้ามีความสมเหตุสมผล นอกจากนี้ยังมีคุณลักษณะ
พิเศษบางอย่างที่เพิ่มเติม ขึ้นจากผู้ส่งมอบที่ผ่านการคัดเลือก (Approved Suppliers) ดังนี้
2.1 เมื่อบริษัทมีการปรับเปลี่ยนเงื่อนไขของการส่งมอบวัตถุดิบหรือสินค ้า เช่น ปริมาณ การ
สั่งซื้อ ระยะเวลาในการส่งมอบ คุณสมบัติของวัตถุดิบหรือสินค ้า เป็นต ้น ผู้ส่งมอบก็สามารถ
ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงในเงื่อนไขดังกล่าวได ้อย่างดี
2.2. ต ้องเป็นผู้ส่งมอบที่มีความคิดริเริ่มสร ้างสรรค์ สามารถนําเสนอรูปแบบของผลิตภัณฑ์
หรือบริการที่จะทําให ้ตลาดและลูกค ้ามีความพึงพอใจยิ่งขึ้น
2.3 หากเกิดปัญหาเกี่ยวกับเรื่องการส่งมอบสินค ้า หรือวัตถุดิบ ผู้ส่งมอบที่อยู่ใน ประเภทนี้จะ
มีการแจ ้งเตือนบริษัทที่เป็นลูกค ้าของตนล่วงหน้าถึงปัญหาที่จะเกิดขึ้น เพื่อที่ว่า บริษัท นั้นๆ
จะได ้มีการวางแผนปรับปรุงการผลิต รวมถึงแผนการรองรับด ้านอื่นๆ
2.4 ผู้ส่งมอบที่อยู่ในประเภทนี้จะมีห ้องทดลอง เพื่อทดสอบและตรวจสอบคุณภาพของ
วัตถุดิบหรือสินค ้าก่อนที่จะทําการส่งมอบให ้กับลูกค ้าของตน อีกทั้งยังต ้องสามารถออก
เอกสารการ รับรองคุณภาพสินค ้าหรือวัตถุดิบให ้กับลูกค ้าได ้อีกด ้วย
2.5 ผู้ส่งมอบที่อยู่ในประเภทนี้จะต ้องเป็นผู้ส่งมอบที่มีความมุ่งมั่นที่จะพัฒนาความ สัมพันธ์
3. ผู้ส่งมอบที่ได้รับการยอมรับ (Certied Suppliers)
เป็นผู้ส่งมอบที่มีระบบคุณภาพที่สามารถทดแทนระบบการควบคุมคุณภาพของบริษัทได ้
ทําให ้สินค ้าหรือวัตถุดิบที่ส่งมาจากผู้ส่งมอบไม่จําเป็นต ้องมีการตรวจสอบสินค ้าหรือ
วัตถุดิบที่รับ เข ้ามา Incoming Quality Control Inspection) ซึ่งลักษณะเช่นนี้แสดงถึง
ความไว ้วางใจในระบบการ ตรวจสอบคุณภาพของผู้ส่งมอบที่อยู่ในประเภทนี้ โดยปกติ
แล ้วบริษัทจะมีการตรวจสอบระบบต่างๆ ของผู้ส่งมอบประเภทที่ได ้รับการยอมรับ อาทิ
เช่น ระบบการตรวจรับวัตถุดิบของผู้ส่งมอบ ระบบ การผลิตสินค ้าหรือวัตถุดิบของผู้ส่ง
มอบ ระบบการตรวจสอบก่อนมีการส่งมอบสินค ้าให ้ลูกค ้า เป็นต ้น ซึ่งระบบการ
ตรวจสอบก่อนที่จะทําการส่งมอบสินค ้าให ้กับลูกค ้าของผู้ส่งมอบแต่ละรายนั้น มักจะมี
ลักษณะคล ้ายคลึงกับการตรวจเช็กคุณภาพของวัตถุดิบของลูกค ้าเมื่อผู้ส่งมอบได ้ส่ง
มอบ วัตถุดิบหรือสินค ้าชนิดนั้นๆ สรุปแล ้วผู้ส่งมอบที่ได ้รับการยอมรับนี้เป็นผู้ส่งมอบที่
ได ้รับความไว ้วางใจสูงมากในแง่คุณภาพ ไม่เกิดการส่งคืนสินค ้าหรือวัตถุดิบ
นอกจากนี้จะต ้องเป็นผู้ส่งมอบที่มี ข ้อตกลงในอันที่จะพัฒนาความสัมพันธ์ไปสู่
ความสัมพันธ์ระยะยาวกับบริษัท
4. ผู้ส่งมอบที่อยู่ในฐานะหุ้นส่วน (Partnership Suppliers)
เป็นผู้ส่งมอบที่มีปริมาณการซื้อขายวัตถุดิบหรือสินค ้ากับบริษัทมากที่สุด
และมีการดําเนิน งานร่วมกันในฐานะหุ้นส่วนที่จะได ้รับประโยชน์ร่วมกัน
จากการซื้อขายสินค ้าหรือวัตถุดิบ ตลอดจน
การแลกเปลี่ยนผลประโยชน์กันอย่างยุติธรรมด ้วยเช่นเดียวกัน นอกจากนี้
ยังหมายรวมถึงการ ทํางานในด ้านอื่นๆ ร่วมกัน เช่น การวางแผนการส่ง
มอบ การร่วมกันพัฒนาสินค ้าใหม่ เป็นต ้น นอกเหนือจากคุณลักษณะ
พิเศษที่กล่าวมาแล ้ว ยังรวมถึงการเป็นผู้ส่งมอบที่มีความรู้ความสามารถ มี
ความคิดริเริ่มสร ้างสรรค์ในด ้านการนําเอาเทคโนโลยีมาปรับใช ้ตลอดจน
การมีข ้อตกลงร่วมกันใน ด ้านของการส่งมอบสินค ้าที่สามารถปรับเปลี่ยน
ได ้ตามเงื่อนไขหรือการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ซึ่งโดย ทั่วไปแล ้วผู้ส่งมอบที่มี
การดําเนินการวิจัยและพัฒนาสินค ้าร่วมกับบริษัท จะมีการลงทุนในสินค ้า
นั้นๆ ร่วมกันด ้วย ทําให ้เกิดการร่วมทุนกันที่จะพัฒนาสินค ้าในอนาคตจาก
ผลกําไรที่เกิดขึ้น
บทสรุป
การจัดการคลังสินค ้าเป็นกิจกรรมหนึ่งที่สําคัญของโลจิสติกส์ ที่ช่วยเชื่อมต่อกับกิจกรรม
อื่นๆ ในห่วงโซ่อุปทาน การจัดการคลังสินค ้าที่ดีจะช่วยทําให ้องค์การมีโครงสร ้างพื้นฐาน
(Infrastructure) ที่ดี ปัจจุบันหลายธุรกิจจึงให ้ความสําคัญเป็นอย่างยิ่งต่อการจัดการ
คลังสินค ้า เพราะนับวันความ สําคัญของการจัดการคลังสินค ้าก็จะมากขึ้น และเป็นดัชนีชี้
วัดความสําเร็จในระยะยาวขององค์การ ต่อไป ในขณะที่คลังสินค ้าบางแห่งรับสินค ้าเข ้า
มาทําการคัดแยก แล ้วกระจายออกไป เรียกว่า ศูนย์กระจายสินค ้า และกระบวนการ
ดังกล่าวเรียกว่า Cross Docking ซึ่งมีประโยชน์ ดังนี้ 1) เป็นจุด รวบรวมสินค ้า แยก
ประเภท และกระจายสินค ้า ที่มาจากต ้นทางหลายแห่งเพื่อไปยังลูกค ้า 2) เป็น จุดเปลี่ยน
ถ่ายสินค ้าระหว่างการขนส่งหลายรูปแบบ 3) ทําหน้าที่เป็นจุดเก็บสินค ้า 4) เป็นจุดให ้
บริการด ้านการผลิต และบริการด ้านโลจิสติกส์ การส่งมอบ หมายถึง การจัดการวัสดุ
วัตถุดิบ และ ผลิตภัณฑ์สินค ้า หรือบริการจากผู้ผลิตต ้นทางไปยังผู้บริโภคปลายทางได ้
อย่างรวดเร็ว ทันเวลา และถูกต ้องตามความต ้องการของผู้บริโภคตามที่ได ้ตกลงกันไว ้
น.ส.สุวรรณี อยู่รักษา 6421297002

More Related Content

Featured

How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
ThinkNow
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Kurio // The Social Media Age(ncy)
 

Featured (20)

Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsProduct Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
 
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
 
Skeleton Culture Code
Skeleton Culture CodeSkeleton Culture Code
Skeleton Culture Code
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
 
How to have difficult conversations
How to have difficult conversations How to have difficult conversations
How to have difficult conversations
 
Introduction to Data Science
Introduction to Data ScienceIntroduction to Data Science
Introduction to Data Science
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best Practices
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project management
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
 
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
 
12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work
 

บทที่.6 การจัดการศูนย์กระจายสินค้าและการส.pptx

  • 2. • คลังสินค ้าหรือศูนย์กระจายสินค ้า คือ สถานที่สําหรับวาง จัดเก็บ พัก กระจายสินค ้าคงคลัง คลังสินค ้ามีชื่อเรียกได ้ต่างๆ กัน อาทิ ศูนย์กระจายสินค ้า ศูนย์จําหน่ายสินค ้า และใกล ้ฯลฯ คําว่า คลังสินค ้าซึ่งเป็นคําที่มีความหมายรวมๆ ส่วนจะเรียกว่าอะไร ก็ ขึ้นอยู่กับหน้าที่ของคสินค ้าแต่ละประเภท คลังสินค ้าที่รับสินค ้าเข ้า มาทําการคัดแยก แล ้วกระจายออกไป เรียกว่า คุณกระจายสินค ้า และกระบวนการดังกล่าว เรียกว่า Cross Docking ในขณะที่ คลังสินค ้าบางแห่งหน้าที่เพิ่มขึ้นมาคือหลังรับสินค ้าเข ้ามาแล ้ว ก็ เก็บสินค ้าไว ้และทําหน้าที่จัดสรรสินค ้าก่อนส่งมอบตามคําสั่งซื้อ จึงมีขั้นตอนย่อยประกอบด ้วย รับสินค ้าเข ้า จัดเก็บ จัดสินค ้าตาม ใบสั่งซื้อ (OrderPicking) อันเป็นขั้นตอน ที่ใช ้เวลาและกําลังคน มากที่สุด ตรวจสอบ หีบห่อ และการส่งมอบสินค ้ากล่าวคือ รับ หน้าที่ในการจําหน่ายไว ้ด ้วย จึงเรียกว่าศูนย์จําหน่ายสินค ้า การลด เวลาและขั้นตอนในศูนย์จําหน่ายสินค ้าทําได ้ด ้วย การนํา คอมพิวเตอร์ช่วยออกใบสั่งซื้อ อย่างไรก็ตาม ข ้อควรคํานึงถึง เกี่ยวกับคลังสินค ้ายังรวมถึงประเด็นเกี่ยวกับความเป็นเจ ้าของ สายการผลิต การจําหน่าย และการกระจายสินค ้าที่ไม่มีคลังสินค ้า
  • 3. • ลักษณะของการจัดการคลังสินค้า • การจัดการคลังสินค ้า เป็นกิจกรรมที่มีบทบาทสําคัญต่อการจัดการโลจิ สติกส์ โดยผ่านกิจกรรมย่อยๆ เกี่ยวกับการบริหาร จัดการคลังสินค ้า อาทิ การเลือก ประเภท การเลือกขนาดการเลือกทําเลที่ตั้ง การวางผังคลังสินค ้า การวางแผนการ เคลื่อนย ้าย สินค ้าภายในคลังสินค ้า รวมทั้งการนําเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช ้ในการ บริหารคลังสินค ้า เป็นต ้น ซึ่งระบบการจัดการคลังสินค ้าที่มีประสิทธิภาพจะก่อให ้เกิด ประโยชน์ต่อองค์กร ดังนี้ • 1. ทําให ้มีการเก็บสะสมวัตถุดิบไว ้ในคลังสินค ้า และมีจํานวนที่เพียงพอต่อการ ผลิต และไม่ทําให ้การผลิตหยุดชะงักไม่ต่อเนื่อง • 2. ทําให ้มีการกระจายสินค ้าออกสู่ตลาดจากผู้ผลิตสู่ผู้บริโภค โดยผู้ผลิตจะเก็บ สินค ้าสําเร็จรูปไว ้ในคลังสินค ้า เพื่อรอการจําหน่ายต่อไป
  • 4. 3. เป็นที่เก็บรักษาและสะสมพัสดุสําหรับธุรกิจบริการที่ไม่จําเป็นต ้องเก็บ วัตถุดิบในการผลิตสินค ้า อย่างไรก็ตาม ธุรกิจบริการที่จําเป็นต ้องมีคลังสินค ้า ไว ้เก็บพัสดุ และอุปกรณ์ที่จําเป็นต่อการดาเนินธุรกิจ 4. เป็นที่ให ้เครดิตกับธุรกิจ กล่าวคือ ผู้ฝากสินค ้าที่อยู่ในคลังสินค ้าสาธารณะ สามารถนําสินค ้านั้นเป็นหลักประกันในการกู้ยืมจากสถาบันการเงิน เช่น ธนาคาร เป็นต ้น 5. เป็นที่สําหรับให ้หน่วยงานของรัฐใช ้สําหรับสะสม หรือเก็บรักษาสินค ้าที่ รัฐบาลต ้องการเข ้าไปแทรกแซงราคาตลาดสินค ้าบางชนิด เช่น ข ้าว มัน สําปะหลัง ยางพารา เป็นต ้น เพื่อรักษาระดับราคาให ้กับเกษตรกร 6. ทําให ้ประหยัดค่าขนส่ง ในกรณีที่เป็นสินค ้าสําเร็จรูป เพื่อรอนําไปจําหน่าย ต่อจะนําสินค ้านั้นมารวมที่คลังสินค ้าก่อน ซึ่งจะทําให ้มีการประหยัดค่าขนส่ง มากกว่าที่ผู้ผลิตส่งไปที่ร ้านจําหน่ายสินค ้าโดยตรง
  • 5. กระบวนการที่สําคัญในการ จัดการคลังสินค ้า โดยปกติแล ้วคลังสินค ้ามีเป้าหมายที่สําคัญคือเป็นสถานที่พักในการเคลื่อนที่ของสินค ้า ในโซ่ อุปทานจนถึงลูกค ้าปลายทาง ซึ่งมีกระบวนการพื้นฐานที่สําคัญในการบริหารคลังสินค ้า 3 กระบวนการประกอบด ้วย การรับสินค ้า การจัดเก็บสินค ้า และการกระจายสินค ้า ดังภาพที่ 61 การรับ สินค ้า การจัดเก็บ สินค ้า การ กระจาย สินค ้า
  • 6. 1. การรับสินค ้า ประกอบด ้วยกิจกรรม เช่น การขนถ่ายสินค ้าจากพาหนะที่นําเข ้าคลัง สินค ้า การตรวจนับสินค ้าให ้ตรงกับจํานวนที่สั่งซื้อ รวมทั้งการรับสินค ้าคืนจากลูกค ้า เป็นต ้น การ รับ สินค ้าจึงเป็นกิจกรรมพื้นฐานของทุกคลังสินค ้าสําหรับการเป็นสถานที่พักสินค ้า ถ ้ามีการบริหาร จัดการการรับสินค ้าที่ดี องค์การจะมั่นใจได ้ว่ามีสินค ้าเพียงพอต่อความต ้องการของลูกค ้าไม่ว่า ลูกค ้าจะอยู่ส่วนใดของโซ่อุปทานก็ตาม สิ่งแวดล ้อมใหม่ที่เกิดขึ้นกับระบบ การกระจายสินค ้าระดับโลก ช่องทางการกระจายสินค ้าแบบดั้งเดิม ศูนย์กระจายสินค ้าจะได ้รับการจัดส่ง สินค ้าจากส่วนกลาง และส่งต่อไปยังผู้ค ้าส่งและผู้ค ้าปลีกตามลําดับ ในการดําเนินการที่ มีหลายขั้นตอนจําเป็นต ้องทําให ้แน่ใจว่ามีสินค ้าเพียงพอสําหรับผู้บริโภคขั้นสุดท ้าย ผล คือระบบมีการตอบสนองที่ช ้าทําให ้ระดับ การให ้บริการ และยิ่งมีระดับความต ้องการสูง จะส่งผลให ้สินค ้าขาดสต็อกรวมทั้งระดับการหมุนเวียน สินค ้าคงคลังก่อให ้เกิดต ้นทุน การจัดเก็บที่สูงมากขึ้น ระบบเท่านี้กําลังจะมีการเปลี่ยนแปลง ซึ่ง จะมีความหลากหลาย มากขึ้น ทําให ้เกิดการบริการที่รวดเร็วขึ้นและมีต ้นทุนในการเปลี่ยนแปลงที่ ลดลง การ เก็บสินค ้าคงคลังจะถูกเก็บไว ้ที่ส่วนกลางโดยมีระดับการจัดเก็บที่น้อยลง ขจัดการ สร ้าง หรือใช ้ศูนย์กระจายสินค ้าโดยหันมาใช ้ศูนย์กระจายสินค ้าจากส่วนกลางหรือการกระจาย สินค ้าโดยตรงไปยังลูกค ้า เราจะพิจารณาตัวอย่างจาก 3 อุตสาหกรรมต่อไปนี้คือ
  • 7. อุตสาหกรรมร้านค้าปลีก ในปัจจุบันอุตสาหกรรมค ้าปลีกมีการพัฒนาการเติบโตเพิ่มมากขึ้น ซึ่งร ้านค ้าปลีกเหล่านี้ จําเป็นต ้องมีการสั่งสินค ้าเข ้าร ้านเพิ่มมากขึ้น ทําให ้ส่งผลกระทบต่อกิจกรรมการกระจาย สินค ้า บริษัทพรอตเตอร์แอนด์แกรมเบิล (P&G) ได ้ส่งมอบสินค ้ามายังร ้านค ้าที่เป็น Modern Trade โดยผ่าน การจัดส่งจากโรงงานมายังศูนย์กระจายสินค ้าของผู้ค ้าปลีกโดยใช ้ ระบบ Cross-Dock หรือจัดส่งให ้ผู้ค ้าปลีกโดยตรง โดยผ่านทางแนวคิดใหม่ เช่น ผ่านทาง ระบบ VMI เพื่อตอบสนองลูกค ้าได ้อย่างมี ประสิทธิภาพ
  • 8. อุตสาหกรรมสิ่งทอ ผู้จัดส่งสิ่งทอได ้ใช ้เทคนิคการตอบสนองที่รวดเร็ว (Quick Response) เพื่อลดช่วงเวลาโดยใช ้การสื่อสารข ้อมูลที่มี ประสิทธิภาพ ความจําเป็นสําหรับคําสั่งซื้อ และการส่งมอบที่ รวดเร็วทําให ้เกิด การเปลี่ยนแปลงหลายประการไม่เพียงแต่ระดับ
  • 9. อุตสาหกรรมยานยนต์ ส่วนใหญ่มักมีรูปแบบการเก็บรถยนต์ในจํานวนมาก เพื่อให ้ลูกค ้าสามารถเลือกแบบและสี ตามที่ลูกค ้าต ้องการ ดังนั้นเมื่อมีการผลิตรุ่นใหม่ออกมา ทําให ้รถรุ่นเก่าที่ยังอยู่ในสต๊อกตก รุ่นไป ซึ่ง ในประเทศญี่ปุ่ นได ้จัดการปัญหาเหล่านี้โดยจะมีการแสดงรถยนต์เพียงไม่กี่แบบ เพื่อใช ้เป็นแบบ ตัวอย่างให ้กับลูกค ้า หลังจากที่ลูกค ้าเลือกแบบแล ้ว แบบและสีที่ลูกค ้า ต ้องการจะถูกส่งไปยัง โรงงานเพื่อที่จะผลิตตามความต ้องการของลูกค ้า โดยจะใช ้เวลาส่ง มอบไม่เกิน 2 สัปดาห์ ความ พยายามที่จะลดช่วงเวลาในการสั่งซื้อ และส่งมอบรถยนต์มี เป้าหมายเพื่อที่จะตัด สต๊อกส่วนเกิน ออกไป การนํา E-Commerce มาใช ้เป็นอีกช่องทาง หนึ่งซึ่งจะทําให ้การสั่งซื้อรถยนต์สามารถทําได ้ผ่านทาง Website โดยลูกค ้าสามารถเลือก รุ่นและ Option ต่างๆ ที่ต ้องการอีกรูปแบบหนึ่งซึ่งจะเป็น ปัจจัยที่กระทบต่อการจําหน่าย รถยนต์ คือการจําหน่ายรถยนต์อาจจะไม่ใช่แหล่งสร ้างทําไรอีกต่อไป แต่จะเป็นการให ้
  • 10. กลุ่มผู้ค้าส่ง บทบาทของผู้ค ้าส่งกําลังจะเปลี่ยนไปในอุตสาหกรรม อาหาร ผู้ค ้าปลีกและผู้ผลิตจะเป็นผู้ดําเนินการศูนย์กระจายสินค ้าในการที่จะ จัดเก็บแยกประเภทสินค ้า และส่งต่อไปยังลูกค ้า การขนส่ง โดยตรงไปยังผู้ จําหน่ายอาจจะถูกเปลี่ยนโดยรวมสินค ้าคงคลังไว ้ที่ศูนย์กลาง เพื่อดําเนิน กิจกรรมทาง ด ้านโลจิสติกส์อื่นๆ ต่อไป ในขณะที่กลุ่มสินค ้าบางประเภท เช่น สินค ้าประเภทเวชภัณฑ์ อุปกรณ์ สํานักงานและสุขภัณฑ์ ยังจําเป็นต ้อง ใช ้กระจายสินค ้าเช่นเดิม
  • 11. ศูนย์กระจายสินค้า ศูนย์กระจายสินค ้าในอุตสาหกรรมค ้าปลีกอาจจะเลือกที่จะจัดเก็บสินค ้าคงคลังเพื่อ ใช ้ใน การจัดส่งในแต่ละท ้องถิ่น การนําเทคนิค (Cross Dock เข ้ามาใช ้หรือแม ้แต่ การบรรจุผลิตภัณฑ์ต่างๆ ไว ้บน Palet เพื่อทําการส่งไปยังร ้านค ้าปลีกต่างๆ หรือจะ เป็นการนําระบบบริหารคลังสินค ้ามาใช ้ใน การควบคุมสินค ้าคงคลัง
  • 12. เกี่ยวข ้องกับระบบการขนส่งและข ้อมูลในหลายๆ แง่มุม ระบบการขนส่งที่มีความรวดเร็ว และมีต ้นทุน ที่จะช่วยให ้ระบบการเติมเต็มสินค ้าทําได ้รวดเร็วมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ระบบข ้อมูล จะช่วยทําให ้ธุรกิจ สามารถควบคุมสินค ้าคงคลัง กระบวนการสั่งซื้อ และการเคลื่อนย ้ายผลิตภัณฑ์ ได ้อย่างมี ประสิทธิภาพ ความสนใจที่จะแตกต่างกันออกไปขึ้นอยู่กับแต่ละอุตสาหกรรม โดยจะมี 4 ขั้นตอนของการ บูรณาการดังนี้ 1. การควบคุมสอร์แต่ละแห่ง 2. การควบคุมศูนย์กระจายสินค ้า 3. การควบคุมสํานักงานใหญ่ 4. ส่งมอบแบบทันเวลาพอดี รูปแบบต่างๆ เหล่านี้แสดงให ้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงระบบการเคลื่อนย ้ายจากสถานที่ต่างๆ มาเป็นการรวมศูนย์ที่ใดที่หนึ่ง การสร ้างความสัมพันธ์กับผู้จัดส่งสินค ้าและผู้ให ้บริการโลจิ สติกส์ เชื่อมโยงเข ้ากับเครือข่ายของศูนย์กระจายสินค ้าโดยประสานเข ้ากับระบบการขนส่ง ปัญหาต่างๆ ที่ เกิดขึ้นจะถูกนําไปแก ้ปัญหาร่วมกัน ซึ่งแตกต่างจากรูปแบบเดิมๆ ที่มักจะ
  • 13. เป็นหน่วยเชื่อมโยงระหว่างผู้ผลิต (Manufacturer) กับผู้ขายปลีก (Retailers) จะเป็นผู้ให ้บริการทาง ด ้านโลจิสติกส์ (Logistics Provider) ในด ้านการจัดเก็บสินค ้าและการจัดการขนส่งสินค ้าสําเร็จรูปให ้ กับลูกค ้าได ้อย่างทันเวลาและถูกต ้องตรงตามความต ้องการ DC ส่วนใหญ่จะเป็นผู้ให ้บริการภายนอก (Outsource) หรือ Third Party Logistics Service Providers (3PL) จะทําหน้าที่รับสินค ้าจากผู้ผลิต แต่ ละรายมาเก็บในคลังสินค ้าของตน โดยดําเนินการบริหารจัดการในการควบคุมปริมาณด ้าน เทคโนโลยีในการกระจายและจัดส่งสินค ้าแทนเจ ้าของสินค ้าหรือผู้ผลิตสินค ้าโดยรับผิดชอบงาน ขนส่งจนสินค ้าไปสู่ผู้รับ ประโยชน์ที่เกิดขึ้นนี้ คือ การลดค่าใช ้จ่ายในการขนส่งของผู้ผลิตไปสู่ผู้ขาย ปลีกหรือลูกค ้าแต่ละราย ผู้ผลิตสามารถขนส่งมาที่ DC เพียงแห่งเดียว โดย DC จะทําการกระจาย สินค ้าสู่ผู้ขายปลีกตามความถี่ที่ผู้ขายปลีกต ้องการทําให ้ไม่จําเป็นต ้องมีที่เก็บสินค ้าคงคลังจํานวน มากที่ผู้ขายปลีกอีกต่อไป ค่าใช ้จ่ายส่วนวัสดุคงคลังของร ้านขายปลีกก็ลดลง ทําให ้ต ้นทุนรวมส่งผล ให ้มีความได ้เปรียบในด ้านการแข่งขันทั้งด ้านราคาและความรวดเร็วในการบริการ ในปัจจุบันร ้าน ขายปลีกหลายแห่งจึงสามารถรับประกันราคาตํ่าสุดแก่ผู้บริโภคได ้ (สมโรตม์ โกมลวนิช และอนันต์ โรจนวงศ์ 2552. 3) ศูนย์กระจายสินค ้า หรือที่มักเรียก ทับศัพท์ว่า DC เป็นส่วนหนึ่งที่อยู่ในกิจกรรมของโลจิสติกส์ โดย เป็นกลไกให ้เกิดการขับเคลื่อนหรือเคลื่อนย ้ายสินค ้าไปสู่ลูกค ้าภายใต ้เงื่อนไขของเวลา และ ต ้นทุน ที่สามารถแข่งขันได ้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยความหมายของศูนย์กระจายสินค ้าเป็นหน่วย ของโลจิ สติกส์ในการทําหน้าที่ทางธุรกรรมรับช่วงส่งสินค ้าสําเร็จรูปที่เป็น Final Production เพื่อให ้มี การส่ง
  • 14. ทําหน้าที่ในการรับและส่งมอบหรือจัดส่งสินค ้า อะไหล่ วัตถุดิบ รวมทั้งบริการต่างๆ ซึ่งเป็น สาระ ส่วนควบคุมของสินค ้าจากแหล่งที่ใช ้เป็นศูนย์กลางไปสู่แหล่งที่มีความต ้องการตามเงื่อนไข และ เวลาที่ได ้มีการตกลงกัน ดังนั้น หน้าที่สําคัญของศูนย์กระจายสินค ้าจึงเป็นแหล่งในการรวบรวม แบ่ง ประกอบ บรรจุ คัดแยก ให ้เหมาะสมกับประเภทยานพาหนะที่จะใช ้ในการขนส่งให ้กับลูกค ้า หรือผู้รับสินค ้า ซึ่งจะมีความแตกต่างไปตามสภาพแวดล ้อม โดยพันธกิจที่สําคัญของศูนย์กระจาย สินค ้าจะเกี่ยวข ้องกับการจัดการปฏิสัมพันธ์ของข ้อมูลข่าวสารระหว่างคนและหรือหน่วยงานที่ เกี่ยวข ้อง รวมถึงการจัดการคลังสินค ้าประเภท “Cross Dock” และเกี่ยวกับ การบรรจุภัณฑ์ (Packaging) รวมทั้งการจัดการเปลี่ยนโหมดหรือประเภทของการขนส่ง (Mode of Transport) โดยเฉพาะหน้าที่ ของการวางแผนการส่งมอบสินค ้า เพื่อให ้ส่งสินค ้าที่ถูกต ้องในเวลาที่ถูกต ้อง ไปสู่ลูกค ้าตรงตาม สถานที่ซึ่งกําหนดไว ้ชัดเจนและส่งมอบตรงตามเวลาที่ต ้องการ
  • 15. 1. เป็นจุดรวบรวมสินค ้า แยกประเภท และกระจายสินค ้า ที่มาจากต ้นทาง หลายแห่งเพื่อ ไปยังลูกค ้า โดยผู้ขนส่งสินค ้าจากแหล่งต่างๆ จะนําสินค ้ามา รวบรวมที่ศูนย์กระจายสินค ้าเพื่อบรรจุ และคัดแยกสินค ้า ส่งมอบโดยกระจาย สินค ้าแก่ลูกค ้าปลายทางที่หลากหลาย การดําเนินการใน ลักษณะนี้จะช่วยลด ต ้นทุนในการขนส่งจากต ้นทาง (ผู้ผลิต) ไปยังลูกค ้าปลายทาง (ผู้ประกอบการ ค ้าส่งและค ้าปลีก 2. เป็นจุดเปลี่ยนถ่ายสินค ้าระหว่างการขนส่งหลายรูปแบบ เช่น การเปลี่ยน ถ่ายจาก การขนส่งโดยรถบรรทุกคอนเทนเนอร์ มาเป็นรถบรรทุกขนาดเล็ก หรือจากการขนส่งจากรถไฟมา เป็นรถบรรทุก ซึ่งเป็นเหตุผลสําคัญที่ทําให ้ สินค ้าและบริการเคลื่อนที่และส่งมอบให ้กับลูกค ้าปลายทาง ได ้อย่าง เหมาะสมตามสภาพของแต่ละท ้องถิ่น 3. ศูนย์กระจายสินค ้าจะทําหน้าที่เป็นจุดเก็บสินค ้า เพื่อเป็นที่เก็บสินค ้าในการ นําส่งต่อไป ยังลูกค ้า โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อลดระยะทางและเวลาในการ นําส่ง โดยปกติการจัดตั้งศูนย์กระจาย สินค ้าของผู้ประกอบการค ้าส่งและค ้า ปลีกขนาดใหญ่ มักจะกําหนดพื้นที่ในการจัดตั้งศูนย์โดยแบ่ง เป็นเขต โดยมี กําหนดระยะเวลาในการดําเนินงานสั้นๆ เพื่อให ้ทันเวลา สามารถส่งมอบสินค ้า ให ้ ลูกค ้าได ้อย่างสมํ่าเสมอ
  • 16. ศูนย์รวบรวมและกระจายสินค ้า หมายถึง คลังสินค ้าใช ้สําหรับในการรับสินค ้าและส่งสินค ้า ในเวลาเดียวกัน หรือ เป็นคลังสินค ้าซึ่งมีการออกแบบเป็นพิเศษ เพื่อใช ้ในการขนถ่ายจากพาหนะหนึ่ง ไปสู่อีกพาหนะหนึ่ง โดย Cross Dock ส่วนใหญ่แล ้วเหมาะจะเป็นสถานที่ ซึ่งมีลักษณะเป็นศูนย์ รวบรวมและกระจายสินค ้า ซึ่งจะทําหน้าที่ในการ บรรจุและคัดแยกสินค ้า โดย Cross Dock จะทํา หน้าที่เป็นสถานีเปลี่ยนถ่ายสินค ้าระหว่างรูปแบบการขนส่ง ซึ่ง อาจเป็นจากซัพพลายเออร์หลายราย แล ้วนํามาคัดแยกรวบรวมบรรทุก เพื่อจัดส่งให ้ลูกค ้าแต่ละราย ซึ่งจะจัดส่ง ต่อให ้ลูกค ้าซึ่งส่วนใหญ่ จะเป็นร ้านผู้ขายปลีก หรือร ้านสะดวกซื้อ ซึ่งจะมีความต ้องการสินค ้าย่อยที่หลากหลาย สมโรตม์ โกมลวนิช และอนันต์ โรจนวงศ์. 2553 5 Cross Dock จะมีลักษณะคล ้ายคลังสินค ้าที่มี 2 ด ้าน โดยด ้าน หนึ่งสําหรับใช ้ในการรับสินค ้า และอีกด ้านหนึ่งใช ้ในการจัดส่งสินค ้า โดยสินค ้า นําเข ้ามาใน Cross Dock จะมี กระบวนการคัดแยก บรรจุและรวบรวมสินค ้า เพื่อจัดส่งไปให ้กับผู้รับ ซึ่งโดยปกติแล ้ว สินค ้าเข ้ามาเก็บและจัดส่ง มักจะ ดําเนินการให ้เสร็จสิ้นภายใน 24 ชั่วโมง ภารกิจสําคัญของ Cross Dock จะเป็นตัวกลางในการ รวบรวม สินค ้าให ้สามารถจัดส่งได ้เต็มคันรถหรือใช ้พื้นที่ในคอนเทนเนอร์ให ้ได ้เต็มพิกัด โดย Cross Bock ซึ่งอาจจะเรียก ได ้ว่า ศูนย์รวบรวมและกระจายสินค ้า ส่วนใหญ่แล ้วศูนย์รวบรวมและกระจายสินค ้า จะกระจายอยู่ตามภาคหรือ จังหวัด ซึ่งเป็นศูนย์กลางของการขนส่ง จึงมีส่วนช่วยแก ้ปัญหารถ บรรทุกที่ไม่มีสินค ้าในเที่ยวกลับ ซึ่งเป็นปัญหา สําคัญของการขนส่งทางถนนในประเทศไทย ทั้งนี้ Cross Dock อาจจะทําหน้าที่เป็น ICD (Inland Container Depot) โดยสามารถเชื่อมโยงการขนส่งใน รูปแบบต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นการขนส่งทางรถไฟ ทางรถบรรทุก หรือ ขนส่งทางนํ้า หรือท่าเรือ-สนามบิน ซึ่งแสดงให ้เห็นว่า Cross Dock จะมีบทบาทและเป็นปัจจัยสําคัญต่อการ สนับสนุนรูปแบบการขนส่ง ที่เรียกว่า Multimodal Transport
  • 17. สมโรตม์ โกมลวนิช และอนันต์ โรจนวงศ์ 2553 : 45) ได ้กล่าวไว ้ว่า การส่งมอบ หมายถึง การ จัดสรรทรัพยากรที่มีอยู่ให ้สามารถผลิตสินค ้า หรือบริการได ้ถึงมือลูกค ้าตรงตามเวลาที่กําหนด โดยวิธีการให ้หน่วยงานสามารถผลิตและส่งสินค ้าให ้หน่วยงานต่อไปได ้โดยไม่ล่าช ้า เพื่อที่จะ สามารถส่งมอบสินค ้าให ้ลูกค ้าได ้ตามกําหนดเวลาที่ลูกค ้าต ้องการ การส่งมอบที่ดีจะช่วยให ้เกิด การ ลดต ้นทุน และทําให ้เกิดคุณภาพของสินค ้า การส่งมอบแบ่งเป็น 2 ส่วน คือ ส่งมอบภายใน หน่วยงาน และการส่งมอบภายนอก ธนิต โสรัตน์ (2550 : 68-72) ได ้กล่าวถึงความสัมพันธ์กับผู้ส่งมอบ (Supplier Relationship) ของ Burnes (1998) ไว ้ว่า “ความสัมพันธ์กับผู้ส่งมอบ คือ การที่ลูกค ้าและผู้ส่งมอบมีการพัฒนา ความสัมพันธ์กันอย่างใกล ้ชิดและในระยะยาวร่วมกันแบบพันธมิตร (Partnership) โดยมี วัตถุประสงค์ เพื่อให ้ได ้มาซึ่งผลประโยชน์ทางการค ้าอย่างดีที่สุด” และ Tennyson, et al. (2000) ว่า “ความสัมพันธ์ กับผู้ส่งมอบเป็นความร่วมมือระหว่างสองบริษัทหรือมากกว่าซึ่งเห็นชอบที่จะ ทํางานร่วมกันเพื่อมุ่งสู่ การดําเนินงานที่ยั่งยืน การทําธุรกิจลักษณะนี้ต ้องมีการแลกเปลี่ยนความ เสี่ยงและผลประโยชน์ ร่วมกัน รวมทั้งควรมีการประเมินและทบทวนการทํางานร่วมกันอย่าง สมํ่าเสมอเพื่อสร ้างความ ยั่งยืนในการดาเนินงาน จากความหมายดังกล่าวสรุปได ้ว่า การส่งมอบ หมายถึง การจัดการวัสดุ วัตถุดิบ และ ผลิตภัณฑ์ สินค ้า หรือบริการจากผู้ผลิตต ้นทางไปยังผู้บริโภคปลายทางได ้อย่างรวดเร็วทันเวลาและ ถูกต ้อง ตามความต ้องการของผู้บริโภคตามที่ได ้ตกลงกันไว ้
  • 18. การแข่งขันในโลกธุรกิจปัจจุบันมีความรุนแรงมากขึ้น เนื่องจากลูกค ้ามีความต ้องการสินค ้า ที่มี ความแตกต่างและหลากหลาย ตัวอย่าง เช่น รถยนต์ ซึ่งจะมีหลายรุ่น หลายแบบ และในแต่ละ รุ่นก็ จะมีรายละเอียดการออกแบบที่แตกต่างกันไปตามความต ้องการของลูกค ้า นอกเหนือจาก คุณภาพ กําหนด (Specitation) ที่ต ้องผลิตเพื่อให ้ลูกค ้าพอใจแล ้ว การส่งมอบสินค ้าที่รวดเร็ว และ ทันเวลาก็ เป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่จะช่วยให ้บริษัทมีความได ้เปรียบในการแข่งขันซึ่งการที่จะบรรลุ วัตถุประสงค์ ดังกล่าวได ้บริษัท หรือโรงงานจะต ้องมีระบบการส่องมอบภายในที่ดีเสียก่อน การ ปรับปรุงการส่ง มอบนั้นต ้องเริ่มจากหน่วยย่อยที่สุดของการผลิต นั่นคือการส่งมอบระหว่างหน่วยที่ ผลิตต่อกัน โดย ต ้องพยายามลดความสูญเสียต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นในระหว่างกระบวนการผลิตเพราะ ทุกขั้นตอนของ การส่งมอบในสายการผลิตจะมีผลกระทบต่อการส่งมอบในขั้นสุดท ้าย คือ การส่ง มอบให ้ลูกค ้า ซึ่ง สามารถแบ่งการส่งมอบออกเป็น 2 ลักษณะ คือ 1. การส่งมอบภายในหน่วยงาน คือ การส่งมอบสินค ้า บริการ หรืองานที่มีคุณภาพให ้กับ ผู้ที่รองาน วันถัดไป ซึ่งลูกค ้านั้นอาจจะเป็นเพื่อนร่วมงาน โดยหน่วยงานจะต ้องมีการดําเนินการใน การสร ้าง คุณภาพ โดยใช ้เทคนิควิธีการของการเพิ่มผลผลิตเข ้ามาช่วย เช่น การดําเนินกิจกรรม 5 การใช ้ ระบบ Just in time การให ้พนักงานทุกคนมีส่วนร่วมในการสร ้างคุณภาพในการทํางาน 2. การส่งมอบภายนอก ได ้แก่ การส่งสินค ้า หรือบริการให ้แก่ลูกค ้า โดยจะต ้องเป็นไปตาม กําหนดเวลา ปริมาณ คุณภาพตามที่ลูกค ้ากําหนด จากความสําคัญของการส่งมอบสามารถสรุปได ้ว่า การส่งมอบภายในหน่วยงานและการ ส่งมอบ ภายนอกหน่วยงาน จําเป็นจะต ้องคํานึงถึงความสูญเสียที่เป็นอุปสรรคต่อการส่งมอบทําให ้ไม่ สามารถส่งมอบสินค ้าได ้ตามกําหนดเวลาตามความต ้องการของลูกค ้า ความสูญเสียดังกล่าว ได ้แก่ ระยะทางในการผลิตที่ยาวเกินไป
  • 19. กําลังการผลิตไม่เพียงพอ วิธีการทํางานของพนักงานไม่ เหมาะสม เครื่องจักรไม่มีประสิทธิภาพ การรอคอยคําสั่งซื้อหรือการคอยข ้อมูลอื่นๆ โดยประเภทความสัมพันธ์ของผู้ส่งมอบแต่ละประเภทจะมีลักษณะและระยะเวลาในการ พัฒนา ความสัมพันธ์ที่แตกต่างกัน ดังสรุปได ้ตามตารางที่ 6.1
  • 20. ตารางที่ 6.1 แสดงให ้เห็นว่าการให ้ความร่วมมือในระดับ Cooperation จะเน้นการจัดซื้อ กับผู้ส่งมอบ จํานวนน้อยราย โดยจะมีการทําสัญญาซื้อขายในระยะยาว ซึ่งความสัมพันธ์ระดับนี้จะ เป็นการ ดําเนินงานระหว่างหน่วยงานจัดซื้อของผู้ซื้อกับผู้ส่งมอบ ซึ่งใช ้ระยะเวลาสั้นในการพัฒนา ความสัมพันธ์แบบ Cooperation ให ้สําเร็จผล แต่ความสัมพันธ์แบบ Coordination เป็นความสัมพันธ์ ที่ จะต ้องใช ้ระยะเวลายาวในการพัฒนาความสัมพันธ์ให ้ประสบผลสําเร็จเนื่องจากจะต ้องมีการ เชื่อมโยงระบบสารสนเทศรวมทั้งการแลกเปลี่ยนข ้อมูลทางอิเล็กทรอนิคส์ระหว่างบริษัทในหลายๆ หน่วยงาน และสําหรับความสัมพันธ์แบบ Collaboration เป็นความสัมพันธ์ที่จะต ้องใช ้ระยะเวลายาว ในการพัฒนาให ้ประสบผลสําเร็จและต ้องมีการพัฒนาต่อไปเรื่อยๆ ไม่มีกําหนด เนื่องจากต ้องมีการ วางแผนการดําเนินงานร่วมกัน การแบ่งปันเทคโนโลยี ทําให ้บริษัทผู้ส่งมอบและผู้ซื้อสามารถมอง เห็นซึ่งกันและกันเหมือนกับเป็นบริษัทของตนเอง Just in Time หรืออาจเรียกว่า JIT ซึ่งหมายถึง การส่งมอบแบบทันเวลาถูกต ้อง ถูกสถานที่ ตรงความ ต ้องการ ภายใต ้ต ้นทุนที่แข่งขัน (Delivers the right items at the right place in the righ need by the right time with the right cost) โดยหลักการของ Just in Time จะหมายถึง การจัดการ กระบวนการ ต่างๆ เพื่อให ้มีการส่งมอบผลิตภัณฑ์ สินค ้า หรือบริการให ้กับลูกค ้าตามวันและเวลาที่ ได ้มีการตกลง กัน คือ ส่งมอบสินค ้าเมื่อมีการใช ้จริงเท่านั้น ทั้งนี้ ความหมายของ Justin Time Delivery ยัง ครอบคลุมไปถึงความถูกต ้องของปริมาณ (Quality) จํานวน (Quantity) เงื่อนไข สถานที่ และ ความ ปลอดภัย รวมถึงต ้นทุนที่แข่งขันได ้ ส่วนใหญ่แล ้วยังเข ้าใจว่า Just in Time มีความหมาย
  • 21. การที่จะทําการจัดซื้อจัดหาสินค ้าหรือวัตถุดิบชนิดใดชนิดหนึ่งนั้น กลยุทธ์หนึ่งในการสร ้าง ความ ได ้เปรียบก็คือ การสร ้างและการพัฒนาผู้ส่งมอบ ซึ่งรูปแบบของการพัฒนาผู้ส่งมอบมีหลาย รูปแบบ การแบ่งประเภทของผู้ส่งมอบ โดยสมาคมการบริหารการจัดซื้อแห่งชาติ (Nation Associati tion of Purchasing Management : NAPM) ซึ่งแบ่งผู้ส่งมอบออกเป็น 4 ประเภทหลักๆ ตามความ สัมพันธ์ระหว่างผู้ส่งมอบกับธุรกิจ ได ้ดังนี้ 1. ผู้ส่งมอบที่ผ่านการคัดเลือก (Approved Suppliers) เป็นผู้ส่งมอบที่ผ่านกระบวนการคัดเลือกของธุรกิจในเบื้องต ้น และได ้รับการยอมรับให ้อยู่ใน รายชื่อ ของผู้ส่งมอบของวัตถุดิบนั้นๆ ของธุรกิจ หรือเรียกว่า บัญชีรายชื่อผู้ส่งมอบที่ผ่านการคัดเลือก (Approve Vendor List JAVL) ซึ่งผู้ส่งมอบที่จะอยู่ในรายชื่อของธุรกิจได ้นั้น จําเป็นอย่างยิ่งที่จะต ้อง มี คุณสมบัติเฉพาะ ดังนี้ 1.1 วัตถุดิบหรือสินค ้าของผู้ส่งมอบมีลักษณะตรงตามข ้อกําหนดและคุณสมบัติที่ 1.2 ราคาที่ผู้ส่งมอบนําเสนอเป็นราคาที่ยอมรับได ้ในตลาดกําหนดไว ้ของบริษัท 1.3 ผู้ส่งมอบความสามารถที่จะส่งมอบสินค ้าหรือวัตถุดิบได ้ตรงตามเวลาและปริมาณที่ต ้องการ
  • 22. 2. ผู้ส่งมอบในลาดับต้น (Preferred Suppliers) เป็นผู้ส่งมอบที่ดําเนินธุรกิจกับบริษัทอยู่แล ้ว โดยมีการจัดส่งสินค ้าหรือวัตถุดิบให ้กับบริษัท อย่างสมํ่าเสมอและสามารถตอบสนองต่อความต ้องการของบริษัทได ้อย่างดี เช่น มีการส่ง มอบ วัตถุดิบหรือสินค ้าที่ตรงเวลาและปริมาณที่ต ้องการ คุณภาพของวัตถุดิบหรือสินค ้าตรง ตามที่ตกลง ราคาของวัตถุดิบหรือสินค ้ามีความสมเหตุสมผล นอกจากนี้ยังมีคุณลักษณะ พิเศษบางอย่างที่เพิ่มเติม ขึ้นจากผู้ส่งมอบที่ผ่านการคัดเลือก (Approved Suppliers) ดังนี้ 2.1 เมื่อบริษัทมีการปรับเปลี่ยนเงื่อนไขของการส่งมอบวัตถุดิบหรือสินค ้า เช่น ปริมาณ การ สั่งซื้อ ระยะเวลาในการส่งมอบ คุณสมบัติของวัตถุดิบหรือสินค ้า เป็นต ้น ผู้ส่งมอบก็สามารถ ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงในเงื่อนไขดังกล่าวได ้อย่างดี 2.2. ต ้องเป็นผู้ส่งมอบที่มีความคิดริเริ่มสร ้างสรรค์ สามารถนําเสนอรูปแบบของผลิตภัณฑ์ หรือบริการที่จะทําให ้ตลาดและลูกค ้ามีความพึงพอใจยิ่งขึ้น 2.3 หากเกิดปัญหาเกี่ยวกับเรื่องการส่งมอบสินค ้า หรือวัตถุดิบ ผู้ส่งมอบที่อยู่ใน ประเภทนี้จะ มีการแจ ้งเตือนบริษัทที่เป็นลูกค ้าของตนล่วงหน้าถึงปัญหาที่จะเกิดขึ้น เพื่อที่ว่า บริษัท นั้นๆ จะได ้มีการวางแผนปรับปรุงการผลิต รวมถึงแผนการรองรับด ้านอื่นๆ 2.4 ผู้ส่งมอบที่อยู่ในประเภทนี้จะมีห ้องทดลอง เพื่อทดสอบและตรวจสอบคุณภาพของ วัตถุดิบหรือสินค ้าก่อนที่จะทําการส่งมอบให ้กับลูกค ้าของตน อีกทั้งยังต ้องสามารถออก เอกสารการ รับรองคุณภาพสินค ้าหรือวัตถุดิบให ้กับลูกค ้าได ้อีกด ้วย 2.5 ผู้ส่งมอบที่อยู่ในประเภทนี้จะต ้องเป็นผู้ส่งมอบที่มีความมุ่งมั่นที่จะพัฒนาความ สัมพันธ์
  • 23. 3. ผู้ส่งมอบที่ได้รับการยอมรับ (Certied Suppliers) เป็นผู้ส่งมอบที่มีระบบคุณภาพที่สามารถทดแทนระบบการควบคุมคุณภาพของบริษัทได ้ ทําให ้สินค ้าหรือวัตถุดิบที่ส่งมาจากผู้ส่งมอบไม่จําเป็นต ้องมีการตรวจสอบสินค ้าหรือ วัตถุดิบที่รับ เข ้ามา Incoming Quality Control Inspection) ซึ่งลักษณะเช่นนี้แสดงถึง ความไว ้วางใจในระบบการ ตรวจสอบคุณภาพของผู้ส่งมอบที่อยู่ในประเภทนี้ โดยปกติ แล ้วบริษัทจะมีการตรวจสอบระบบต่างๆ ของผู้ส่งมอบประเภทที่ได ้รับการยอมรับ อาทิ เช่น ระบบการตรวจรับวัตถุดิบของผู้ส่งมอบ ระบบ การผลิตสินค ้าหรือวัตถุดิบของผู้ส่ง มอบ ระบบการตรวจสอบก่อนมีการส่งมอบสินค ้าให ้ลูกค ้า เป็นต ้น ซึ่งระบบการ ตรวจสอบก่อนที่จะทําการส่งมอบสินค ้าให ้กับลูกค ้าของผู้ส่งมอบแต่ละรายนั้น มักจะมี ลักษณะคล ้ายคลึงกับการตรวจเช็กคุณภาพของวัตถุดิบของลูกค ้าเมื่อผู้ส่งมอบได ้ส่ง มอบ วัตถุดิบหรือสินค ้าชนิดนั้นๆ สรุปแล ้วผู้ส่งมอบที่ได ้รับการยอมรับนี้เป็นผู้ส่งมอบที่ ได ้รับความไว ้วางใจสูงมากในแง่คุณภาพ ไม่เกิดการส่งคืนสินค ้าหรือวัตถุดิบ นอกจากนี้จะต ้องเป็นผู้ส่งมอบที่มี ข ้อตกลงในอันที่จะพัฒนาความสัมพันธ์ไปสู่ ความสัมพันธ์ระยะยาวกับบริษัท
  • 24. 4. ผู้ส่งมอบที่อยู่ในฐานะหุ้นส่วน (Partnership Suppliers) เป็นผู้ส่งมอบที่มีปริมาณการซื้อขายวัตถุดิบหรือสินค ้ากับบริษัทมากที่สุด และมีการดําเนิน งานร่วมกันในฐานะหุ้นส่วนที่จะได ้รับประโยชน์ร่วมกัน จากการซื้อขายสินค ้าหรือวัตถุดิบ ตลอดจน การแลกเปลี่ยนผลประโยชน์กันอย่างยุติธรรมด ้วยเช่นเดียวกัน นอกจากนี้ ยังหมายรวมถึงการ ทํางานในด ้านอื่นๆ ร่วมกัน เช่น การวางแผนการส่ง มอบ การร่วมกันพัฒนาสินค ้าใหม่ เป็นต ้น นอกเหนือจากคุณลักษณะ พิเศษที่กล่าวมาแล ้ว ยังรวมถึงการเป็นผู้ส่งมอบที่มีความรู้ความสามารถ มี ความคิดริเริ่มสร ้างสรรค์ในด ้านการนําเอาเทคโนโลยีมาปรับใช ้ตลอดจน การมีข ้อตกลงร่วมกันใน ด ้านของการส่งมอบสินค ้าที่สามารถปรับเปลี่ยน ได ้ตามเงื่อนไขหรือการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ซึ่งโดย ทั่วไปแล ้วผู้ส่งมอบที่มี การดําเนินการวิจัยและพัฒนาสินค ้าร่วมกับบริษัท จะมีการลงทุนในสินค ้า นั้นๆ ร่วมกันด ้วย ทําให ้เกิดการร่วมทุนกันที่จะพัฒนาสินค ้าในอนาคตจาก ผลกําไรที่เกิดขึ้น
  • 25. บทสรุป การจัดการคลังสินค ้าเป็นกิจกรรมหนึ่งที่สําคัญของโลจิสติกส์ ที่ช่วยเชื่อมต่อกับกิจกรรม อื่นๆ ในห่วงโซ่อุปทาน การจัดการคลังสินค ้าที่ดีจะช่วยทําให ้องค์การมีโครงสร ้างพื้นฐาน (Infrastructure) ที่ดี ปัจจุบันหลายธุรกิจจึงให ้ความสําคัญเป็นอย่างยิ่งต่อการจัดการ คลังสินค ้า เพราะนับวันความ สําคัญของการจัดการคลังสินค ้าก็จะมากขึ้น และเป็นดัชนีชี้ วัดความสําเร็จในระยะยาวขององค์การ ต่อไป ในขณะที่คลังสินค ้าบางแห่งรับสินค ้าเข ้า มาทําการคัดแยก แล ้วกระจายออกไป เรียกว่า ศูนย์กระจายสินค ้า และกระบวนการ ดังกล่าวเรียกว่า Cross Docking ซึ่งมีประโยชน์ ดังนี้ 1) เป็นจุด รวบรวมสินค ้า แยก ประเภท และกระจายสินค ้า ที่มาจากต ้นทางหลายแห่งเพื่อไปยังลูกค ้า 2) เป็น จุดเปลี่ยน ถ่ายสินค ้าระหว่างการขนส่งหลายรูปแบบ 3) ทําหน้าที่เป็นจุดเก็บสินค ้า 4) เป็นจุดให ้ บริการด ้านการผลิต และบริการด ้านโลจิสติกส์ การส่งมอบ หมายถึง การจัดการวัสดุ วัตถุดิบ และ ผลิตภัณฑ์สินค ้า หรือบริการจากผู้ผลิตต ้นทางไปยังผู้บริโภคปลายทางได ้ อย่างรวดเร็ว ทันเวลา และถูกต ้องตามความต ้องการของผู้บริโภคตามที่ได ้ตกลงกันไว ้ น.ส.สุวรรณี อยู่รักษา 6421297002