SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
Download to read offline
ขอสอบครูดอทคอม ชุดที่ 10
1. คํากลาวที่วา "ชุมชนทองถิ่นเดิม มีสิทธิในการอนุรักษและฟนฟูจารีตประเพณี ภูมิปญญาท
ศิลป หรือ สัจจะธรรม" คํากลาวนี้ ปรากฏอยูในหมวดใดของรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2540
ก. หมวด 1 บททั่วไป
ข. หมวด 2 พระมหากษัตริย
ค. หมวด 3 สิทธิเสรีภาพของชนชาวไทย
ง. หมวด 4 หนาที่ของชนชาวไทย
2. คํากลาวที่วา "การจัดการศึกษาอบรมของรัฐตองคํานึงถึงการมีสวนรวมขององคกรปกครอ
สวนทองถิ่น" คํากลาวนี้ปรากฏในสวนใดของรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2540
ก.หมวด 1 มาตรา 40
ข. หมวด 2 มาตรา 42
ค. หมวด 3 มาตรา 43 วรรคหนึ่ง
ง. หมวด 2 มาตรา 43 วรรคสอง
3. "รัฐตองจัดการศึกษาอบรมและสนับสนุนใหเอกชนจัดการศึกษาอบรมใหเกิดความรูคูคุณธ
ใหมีกฎหมายเกี่ยวกับการศึกษาแหงชาติ ปรับปรุงการศึกษาใหสอดคลองกับความเปลี่ยนแปล
ทางเศรษฐกิจและสังคม" คํากลาวนี้ปรากฎอยูในสวนใดของรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2540
ก. มาตรา 82 ของหมวดที่ 6
ข. มาตรา 81 ของหมวดที่ 5
ค. มาตรา 82 ของหมวดที่ 5
ง. มาตรา 43 ของหมวดที่ 3
4. ตามรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2540 มาตรา 69 ขอใดกลาวผิด
ก. บุคคลผูเปนขาราชการ มีหนาที่ดําเนินการใหเปนไปตามกฏหมาย
ข. บุคคลมีหนาที่ปองกันประเทศรับราชการทหารเสียภาษีอากร. ค.บุคคลมีหนาที่รับการศึกษาอบรมพิ
ปองและสืบสานศิลปะวัฒนธรรม
ง. บุคคลมีหนาที่สืบสานศิลปะวัฒนธรรมของชาติและภูมิปญญาทองถิ่น
5. คํากลาวที่วา "รัฐตองกระจายอํานาจใหทองถิ่นพึ่งและตัดสินใจในกิจการทองถิ่นไดเอง พัฒ
เศรษฐกิจทองถิ่นฯ" ปรากฏในมาตราใดของรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2540
ก. มาตรา 77
ข. มาตรา 78
ค. มาตรา 79
ง. มาตรา 80
6. "องคกรปกครองสวนทองถิ่นยอมมีหนาที่บํารุงรักษาศิลปะจารีตประเพณี ภูมิปญญาทองถิ่น
กลาวนี้ปรากฏอยูในสวนใดของรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2540
ก. หมวด 9 มาตรา 289
ข. หมวด 9 มาตรา 288
ค. หมวด 8 มาตรา 287
ง. หมวด 8 มาตรา 286
7. ในมาตราใดของรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2540 ระบุใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นมีสิทธิที่จะจัด
การศึกษาอบรมและฝกอาชีพตามความเหมาะสม และความตองการภายในทองถิ่น
ก. มาตรา 77
ข. มาตรา 288
ค. มาตรา 289
ง. มาตรา 287
8. ปจจุบันองคกรปกครองสวนทองถิ่นที่จัดการศึกษาขอใดที่กลาวผิด
ก. อบจ.
หนา 1 ของ 4ติวสอบบรรจุครู
5/3/2550file://D:back up_(d)website(upload)website_bavonweb sobkroo.comtest_s...
ข. เทศบาล
ค. กรุงเทพมหานคร
ง. พัทยา
9. การจัดการศึกษาของ กทม. ในระดับอุดมศึกษาขอใดกลาวผิด
ก. กทม.มอบใหสํานักการแพทยเปนผูดูแลการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษา
ข. วิทยาลัยแพทยศาสตร เกื้อการุณยจัดสอนระดับอุดมศึกษา
ค. วิทยาลัยพยาบาลเกื้อการุณย ขึ้นกับกรุงเทพมหานคร
ง. กทม.จัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาเฉพาะการศึกษานอกระบบโรงเรียน
10. ผลการวิจัย สภาพปญหาการจัดการศึกษาขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ผลการวิจัยดัง
ขอใดที่กลาวผิด
ก. การจัดการศึกษาของทองถิ่นดานแผนงาน ยังขาดอิสระ
ข. การบริหารงานทั่วไปของทองถิ่นขาดการวางแผน
ค. การบริหารงบประมาณ/การเงิน ขาดอิสระ รายไดไมเพียงพอกับการบริหารไมมีอิสระในการจัดเก็บรา
ชัดเจน
ง. มีความไมเทาเทียมกันในการจัดสรรทรัพยากรเพื่อการศึกษาระหวางสวนกลางและสวนทองถิ่น
11. ผลการวิจัยตามขอ 10 ขอใดกลาวผิด
ก. การจัดการศึกษายังขาดการมีสวนรวมของประชาชน
ข. นายกเทศมนตรีมีอํานาจโยกยายบุคลากรระดับ 6 ลงมา
ค. ไมมีคณะกรรมการบริหารการศึกษาของทองถิ่นโดยเฉพาะ
ง. การตัดสินใจขึ้นอยูกับคณะกรรมการบริหารของทองถิ่น
12. ผลการวิจัยในขอ 10 อํานาจหนาที่ของคณะกรรมการโรงเรียน ขอใดกลาวผิด
ก. เปนกรรมการที่ปรึกษา เพื่อใหคําปรึกษาแก โรงเรียน
ข. ใหความชวยเหลือดานการเงิน วัสดุ ครุภัณฑ แกโรงเรียน
ค. มีสวนรวมในการคิดการตัดสินใจ และรวมติดตามผลกับโรงเรียน
ง. มีสวนรวมในการเสนอแนะการบริหารโรงเรียนในสังกัด องคการปกครองสวนทองถิ่น
13. การจัดการศึกษาในทศวรรษใหมขององคกร ปกครองสวนทองถิ่น ควรเปนดังนี้ ยกเวนขอ
ก. สวนกลางควบคุม และสงเสริมดาน งบประมาณอยางใกลชิด
ข. มีความอิสระ คลองตัวในการจัดการศึกษา
ค. ไดรับการสนับสนุนกํากับดูแลจากรัฐอยูหาง ๆ
ง. องคกรปกครองสวนทองถิ่นจัดการศึกษาภายใตความตองการของทองถิ่นและประชาชนไดตรงประเ
ที่สุด
14. องคกรปกครองสวนทองถิ่นที่มีความพรอมและเขมแข็งในการจัดการศึกษามีดังนี้ยกเวน
ก. มีศักยภาพดานกําลังคน
ข. รัฐฯ กําหนดมาตรการควบคุมดูแลใหไดผล
ค. มีรายไดเปนของตนมากพอเพียง
ง. มีสาธาธูปโภคเอื้ออํานวย
15. ขอเสนอแนะในการวิจัยในขอ 10 ขอใดกลาวผิด
ก. พลังประชาชนเปนแรงจะชวยผลักดันการจัดการศึกษาใหมีประสิทธิภาพขึ้น
ข. รัฐควรเปดโอกาสใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นจัดการศึกษาจนถึงสูงกวาขั้นพื้นฐาน
ค. หนวยงานที่ควรจัดการศึกษาคือ กทม. เทศบาล และ อบจ.
ง. อบต. เปนองคกรปกครองสวนทองถิ่นที่อยูใกลชิดกับประชาชนมากที่สุด
16. "สงเสริมศาสนา ศิลป วัฒนธรรมของชาติ การกีฬา ภูมิปญญาทองถิ่น" ขอความนี้ปรากฏ
ใดของ พรบ.การศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542
ก. มาตรา 22 หมวด 4 แนวการจัดการศึกษา
ข. มาตรา 15 หมวด 3 ระบบการศึกษา
ค. มาตรา 10 หมวด 2 สิทธิและหนาที่ทางการศึกษา
ง. มาตรา 7 หมว ด 1 บททั่วไป (ความมุงหมายและหลักการ)
17. ตาม พ.ร.บ.การศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 ไดกําหนดหลักการจัดการศึกษาไวดังนี้ ยกเว
ก. เปนการศึกษาตลอดชีวิตสําหรับประชาชน
ข. มุงสรางเอกภาพในการจัดการศึกษา
หนา 2 ของ 4ติวสอบบรรจุครู
5/3/2550file://D:back up_(d)website(upload)website_bavonweb sobkroo.comtest_s...
ค. ใหสังคมมีสวนรวมในการจัดการศึกษา
ง. การพัฒนาสาระและกระบวนการเรียนรูใหเปนไปอยางตอเนื่อง
18. ตาม พ.ร.บ.การศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 กลาวคือ การปกครองสวนทองถิ่นใชตามมาต
ขอใด (การจัดระบบ/โครงสรางกระบวนการจัดการศึกษา)
ก. ขอ 2 กระจายอํานาจไปสู….และองคกร….และขอ 6ฯ
ข. ขอ 1 มีเอกภาพดานนโยบายหลากหลายในการปฏิบัติ
ค. กําหนดมาตรฐานการศึกษา และการประกันคุณภาพในขอ 3
ง. ระดมทรัพยากรจาก..มาใชในการจัดการศึกษา
19. ตามมาตรา 18 ของ พ.ร.บ.การศึกษาแหงชาติ 2542 ขอใดที่ครอบคลุมการจัดการศึกษา
ในทองถิ่นมาก ที่สุด
ก. การศึกษาปฐมวัย
ข. ศูนยพัฒนาเด็กกอนเกณฑ
ค. ศูนยการเรียน
ง. โรงเรียน
20. ในมาตรา 23 ของ พ.ร.บ.การศึกษาแหงชาติ 2542 ในการจัดการศึกษาใหแกผูเรียนขอใ
สัมพันธ กับการจัดการศึกษาเพื่อนําไปใชในทองถิ่นไดมากที่สุด
ก. ความรูและทักษะดานวิทยาศาสตร/เทคโนโลยี
ข. ความรู/ทักษะในการประกอบอาชีพและการดํารงชีวิตอยางมีความสุข
ค. ความรูเกี่ยวกับตนเองและความสัมพันธของตนกับสังคม
ง. ความรูเกี่ยวกับศาสนา ศิลป วัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถิ่น
21. คํากลาวที่วา "สงเสริมองคกรปกครองสวนทองถิ่นใหสามารถจัดการศึกษาสอดคลองกับน
และไดมาตรฐานการศึกษา เสนอแนะการจัดสรรงบประมาณอุดหนุน การจัดการศึกษาของ
องคกรปกครองสวนทองถิ่น" ปรากฏอยูในสวนใดของ พ.ร.บ.การศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542
ก. มาตรา 42 หมวดที่ 5 วาดวยการบริหารและการจัดการศึกษา
ข. มาตรา 41 หมวดที่ 5 วาดวยการบริหารและการจัดการศึกษา
ค. มาตรา 42 หมวดที่ 3 วาดวยการบริหารและการจัดการศึกษาขององคกรปกครองสวนทองถิ่น
ง. มาตรา 41 หมวดที่ 3 วาดวยการบริหารและการจัดการศึกษาขององคกรปกครองสวนทองถิ่น
22. ในหมวด 8 วาดวยทรัพยากรและการลงทุนเพื่อการศึกษาของ พ.ร.บ.การศึกษาแหงชาติ
ศ.2542 ขอใดกลาวผิด
ก. ใหมีการระดมทรัพยากรและการลงทุนดานงบประมาณเพื่อจัดการศึกษา
ข. รัฐ บุคคล ชุมชน ครอบครัว องคกรชุมชน เอกชน สนับสนุนการลงทุนเพื่อการศึกษา
ค. ใหองคกรปกครองสวนทองถิ่น องคกรวิชาชีพ ลงทุนดานงบประมาณชวยจัดการศึกษา
ง. ใหมีการยืมเงินจากตางประเทศมาลงทุนเพื่อจัดการศึกษาอยางเหมาะสม/จําเปน
23. ใครมีอํานาจประกาศกําหนดเขตพื้นที่การศึกษา
ก. รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษา
ข. รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาโดยคําแนะนําของสภาการศึกษา
ค. รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการโดยคํายินยอมของสภาการศึกษา
ง. คณะรัฐมนตรี
24. บุคคลที่ทําหนาที่ในการกํากับและสงเสริมสนับสนุนกิจการของสถานศึกษาคือขอใด
ก. คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
ข. คณะกรรมการสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาที่ต่ํากวาปริญญา
ค. คณะกรรมการสถานศึกษาระดับอาชีวะศึกษา
ง. ถูกทุกขอ
25. การจัดระเบียบราชการกระทรวงศึกษาธิการใหเปนไปตามขอใด
ก. พรบ.ระเบียบบริหารราชการแผนดิน
ข. พรบ.ปรับปรุง กระทรวง ทบวง กรม
ค. พรบ.การศึกษาแหงชาติ
ง. พรบ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ
26. การดําเนินการตามขอใดใหยึดหลักการบริหารราชการแผนดิน
ก. การจัดสรรงบประมาณ
หนา 3 ของ 4ติวสอบบรรจุครู
5/3/2550file://D:back up_(d)website(upload)website_bavonweb sobkroo.comtest_s...
ข. การบรรจุแตงตั้งบุคคลเขารับตําแหนง
ค. การปฏิบัติหนาที่ราชการ
ง. ถูกทุกขอ
27. การจัดระเบียบราชการในกระทรวงใดๆใหเปนไปตามกฎหมายวาดวยการปรับปรุงกระทร
ทบวง กรม ยกเวนกระทรวงใด
ก. สํานักนายกรัฐมนตรี
ข. กระทรวงกลาโหม
ค. กระทรวงศึกษาธิการ
ง. ขอ ข และ ค ถูก
28. การจัดระบบโครงสรางและกระบวนการศึกษาใหยึดหลักอะไรบาง
ก. มีเอกภาพดานนโยบายและหลากหลายใน การปฏิบัติ
ข. มีการกระจายอํานาจไปสูเขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษา
ค. ระดมทรัพยากรจากแหลงตางๆ มาใชในการจัดการศึกษา
ง. ถูกทั้ง ก ข และ ค
29. ขอใดตอไปนี้กลาวไมถูกตอง
ก. ใหมีการศึกษาภาคบังคับ 9 ป
ข. การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานประกอบดวยการจัดการศึกษาซึ่งไมนอยกวา 12 ป
ค. การศึกษาภาคบังคับ 9 ป และการจัดการ ศึกษาขั้นพื้นฐาน 12 ป จะตองดําเนินการ
ภายในป 2545 เปนอยางชา
ง. การศึกษาระดับอุดมศึกษามีสองระดับ คือ ระดับต่ํากวาปริญญา และระดับปริญญา
30. ภรรยาทานเปนขาราชการครูสอนในโรงเรียนเดียวกันกับทานแตไดรับการผาตัดใสติ่งที่
โรงพยาบาลในกรุงเทพมหานคร ทานตองลาประเภทใด
ก. ลาปวย
ข. ลากิจสวนตัว
ค. ลาพักผอน
ง. เลือกระหวางลากิจสวนตัวหรือลาพักผอน
หนาแรก หนาเมนูขอสอบ ดูเฉลย ทําขอสอบชุดถัดไ
หนา 4 ของ 4ติวสอบบรรจุครู
5/3/2550file://D:back up_(d)website(upload)website_bavonweb sobkroo.comtest_s...

More Related Content

Similar to ชุดที่10

พรบ.การศึกษาแห่งชาติ ขีดเส้น
พรบ.การศึกษาแห่งชาติ ขีดเส้นพรบ.การศึกษาแห่งชาติ ขีดเส้น
พรบ.การศึกษาแห่งชาติ ขีดเส้นสายฝน ต๊ะวันนา
 
ข อสอบ กฎหมายการศ กษา
ข อสอบ กฎหมายการศ กษาข อสอบ กฎหมายการศ กษา
ข อสอบ กฎหมายการศ กษาคน ขี้เล่า
 
พระราชบัญญัติการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2551
พระราชบัญญัติการอาชีวศึกษา  พ.ศ. 2551พระราชบัญญัติการอาชีวศึกษา  พ.ศ. 2551
พระราชบัญญัติการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2551Totsaporn Inthanin
 
Social onet a
Social onet aSocial onet a
Social onet apeemai12
 
ภาค ก. ความรู้ความเข้าใจด้านกฎหมาย
ภาค ก. ความรู้ความเข้าใจด้านกฎหมายภาค ก. ความรู้ความเข้าใจด้านกฎหมาย
ภาค ก. ความรู้ความเข้าใจด้านกฎหมายนายจักราวุธ คำทวี
 
ชุดที่19
ชุดที่19ชุดที่19
ชุดที่19peter dontoom
 
สรุปแนวข้อสอบครู
สรุปแนวข้อสอบครูสรุปแนวข้อสอบครู
สรุปแนวข้อสอบครูNuttapol Boonpila
 
ข้อสอบเก่า ข้อสอบ ขรก.สังงกัด สพฐ. ปนกับ สกอ.และ สป.
ข้อสอบเก่า ข้อสอบ ขรก.สังงกัด สพฐ. ปนกับ สกอ.และ สป.ข้อสอบเก่า ข้อสอบ ขรก.สังงกัด สพฐ. ปนกับ สกอ.และ สป.
ข้อสอบเก่า ข้อสอบ ขรก.สังงกัด สพฐ. ปนกับ สกอ.และ สป.นายจักราวุธ คำทวี
 
กลางภาค ส31101 4
กลางภาค ส31101 4กลางภาค ส31101 4
กลางภาค ส31101 4thnaporn999
 

Similar to ชุดที่10 (15)

พรบ.การศึกษาแห่งชาติ ขีดเส้น
พรบ.การศึกษาแห่งชาติ ขีดเส้นพรบ.การศึกษาแห่งชาติ ขีดเส้น
พรบ.การศึกษาแห่งชาติ ขีดเส้น
 
ข อสอบ กฎหมายการศ กษา
ข อสอบ กฎหมายการศ กษาข อสอบ กฎหมายการศ กษา
ข อสอบ กฎหมายการศ กษา
 
ชุดที่86
ชุดที่86ชุดที่86
ชุดที่86
 
ชุดที่86
ชุดที่86ชุดที่86
ชุดที่86
 
พระราชบัญญัติการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2551
พระราชบัญญัติการอาชีวศึกษา  พ.ศ. 2551พระราชบัญญัติการอาชีวศึกษา  พ.ศ. 2551
พระราชบัญญัติการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2551
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑๐
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑๐แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑๐
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑๐
 
Social onet a
Social onet aSocial onet a
Social onet a
 
ภาค ก. ความรู้ความเข้าใจด้านกฎหมาย
ภาค ก. ความรู้ความเข้าใจด้านกฎหมายภาค ก. ความรู้ความเข้าใจด้านกฎหมาย
ภาค ก. ความรู้ความเข้าใจด้านกฎหมาย
 
ชุดที่19
ชุดที่19ชุดที่19
ชุดที่19
 
สรุปแนวข้อสอบครู
สรุปแนวข้อสอบครูสรุปแนวข้อสอบครู
สรุปแนวข้อสอบครู
 
ข้อสอบ พลเมือง
ข้อสอบ พลเมืองข้อสอบ พลเมือง
ข้อสอบ พลเมือง
 
ข อสอบกฎหมาย 2
ข อสอบกฎหมาย 2ข อสอบกฎหมาย 2
ข อสอบกฎหมาย 2
 
ชุดที่ 2 วิชากฎหมายการศึกษา 130 ข้อ
ชุดที่ 2 วิชากฎหมายการศึกษา 130 ข้อชุดที่ 2 วิชากฎหมายการศึกษา 130 ข้อ
ชุดที่ 2 วิชากฎหมายการศึกษา 130 ข้อ
 
ข้อสอบเก่า ข้อสอบ ขรก.สังงกัด สพฐ. ปนกับ สกอ.และ สป.
ข้อสอบเก่า ข้อสอบ ขรก.สังงกัด สพฐ. ปนกับ สกอ.และ สป.ข้อสอบเก่า ข้อสอบ ขรก.สังงกัด สพฐ. ปนกับ สกอ.และ สป.
ข้อสอบเก่า ข้อสอบ ขรก.สังงกัด สพฐ. ปนกับ สกอ.และ สป.
 
กลางภาค ส31101 4
กลางภาค ส31101 4กลางภาค ส31101 4
กลางภาค ส31101 4
 

More from peter dontoom

ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdfpeter dontoom
 
Instruction Supervision 66.pdf
Instruction Supervision 66.pdfInstruction Supervision 66.pdf
Instruction Supervision 66.pdfpeter dontoom
 
Supervision Report 65.pdf
Supervision Report 65.pdfSupervision Report 65.pdf
Supervision Report 65.pdfpeter dontoom
 

More from peter dontoom (20)

research 653.pdf
research 653.pdfresearch 653.pdf
research 653.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
 
portfolio 66.2.pdf
portfolio 66.2.pdfportfolio 66.2.pdf
portfolio 66.2.pdf
 
supervision 65.pdf
supervision 65.pdfsupervision 65.pdf
supervision 65.pdf
 
research 65.pdf
research 65.pdfresearch 65.pdf
research 65.pdf
 
Instruction Supervision 66.pdf
Instruction Supervision 66.pdfInstruction Supervision 66.pdf
Instruction Supervision 66.pdf
 
portfolio 2022.pdf
portfolio 2022.pdfportfolio 2022.pdf
portfolio 2022.pdf
 
Supervision Report 65.pdf
Supervision Report 65.pdfSupervision Report 65.pdf
Supervision Report 65.pdf
 
4.3.pdf
4.3.pdf4.3.pdf
4.3.pdf
 

ชุดที่10

  • 1. ขอสอบครูดอทคอม ชุดที่ 10 1. คํากลาวที่วา "ชุมชนทองถิ่นเดิม มีสิทธิในการอนุรักษและฟนฟูจารีตประเพณี ภูมิปญญาท ศิลป หรือ สัจจะธรรม" คํากลาวนี้ ปรากฏอยูในหมวดใดของรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2540 ก. หมวด 1 บททั่วไป ข. หมวด 2 พระมหากษัตริย ค. หมวด 3 สิทธิเสรีภาพของชนชาวไทย ง. หมวด 4 หนาที่ของชนชาวไทย 2. คํากลาวที่วา "การจัดการศึกษาอบรมของรัฐตองคํานึงถึงการมีสวนรวมขององคกรปกครอ สวนทองถิ่น" คํากลาวนี้ปรากฏในสวนใดของรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2540 ก.หมวด 1 มาตรา 40 ข. หมวด 2 มาตรา 42 ค. หมวด 3 มาตรา 43 วรรคหนึ่ง ง. หมวด 2 มาตรา 43 วรรคสอง 3. "รัฐตองจัดการศึกษาอบรมและสนับสนุนใหเอกชนจัดการศึกษาอบรมใหเกิดความรูคูคุณธ ใหมีกฎหมายเกี่ยวกับการศึกษาแหงชาติ ปรับปรุงการศึกษาใหสอดคลองกับความเปลี่ยนแปล ทางเศรษฐกิจและสังคม" คํากลาวนี้ปรากฎอยูในสวนใดของรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2540 ก. มาตรา 82 ของหมวดที่ 6 ข. มาตรา 81 ของหมวดที่ 5 ค. มาตรา 82 ของหมวดที่ 5 ง. มาตรา 43 ของหมวดที่ 3 4. ตามรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2540 มาตรา 69 ขอใดกลาวผิด ก. บุคคลผูเปนขาราชการ มีหนาที่ดําเนินการใหเปนไปตามกฏหมาย ข. บุคคลมีหนาที่ปองกันประเทศรับราชการทหารเสียภาษีอากร. ค.บุคคลมีหนาที่รับการศึกษาอบรมพิ ปองและสืบสานศิลปะวัฒนธรรม ง. บุคคลมีหนาที่สืบสานศิลปะวัฒนธรรมของชาติและภูมิปญญาทองถิ่น 5. คํากลาวที่วา "รัฐตองกระจายอํานาจใหทองถิ่นพึ่งและตัดสินใจในกิจการทองถิ่นไดเอง พัฒ เศรษฐกิจทองถิ่นฯ" ปรากฏในมาตราใดของรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2540 ก. มาตรา 77 ข. มาตรา 78 ค. มาตรา 79 ง. มาตรา 80 6. "องคกรปกครองสวนทองถิ่นยอมมีหนาที่บํารุงรักษาศิลปะจารีตประเพณี ภูมิปญญาทองถิ่น กลาวนี้ปรากฏอยูในสวนใดของรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2540 ก. หมวด 9 มาตรา 289 ข. หมวด 9 มาตรา 288 ค. หมวด 8 มาตรา 287 ง. หมวด 8 มาตรา 286 7. ในมาตราใดของรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2540 ระบุใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นมีสิทธิที่จะจัด การศึกษาอบรมและฝกอาชีพตามความเหมาะสม และความตองการภายในทองถิ่น ก. มาตรา 77 ข. มาตรา 288 ค. มาตรา 289 ง. มาตรา 287 8. ปจจุบันองคกรปกครองสวนทองถิ่นที่จัดการศึกษาขอใดที่กลาวผิด ก. อบจ. หนา 1 ของ 4ติวสอบบรรจุครู 5/3/2550file://D:back up_(d)website(upload)website_bavonweb sobkroo.comtest_s...
  • 2. ข. เทศบาล ค. กรุงเทพมหานคร ง. พัทยา 9. การจัดการศึกษาของ กทม. ในระดับอุดมศึกษาขอใดกลาวผิด ก. กทม.มอบใหสํานักการแพทยเปนผูดูแลการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษา ข. วิทยาลัยแพทยศาสตร เกื้อการุณยจัดสอนระดับอุดมศึกษา ค. วิทยาลัยพยาบาลเกื้อการุณย ขึ้นกับกรุงเทพมหานคร ง. กทม.จัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาเฉพาะการศึกษานอกระบบโรงเรียน 10. ผลการวิจัย สภาพปญหาการจัดการศึกษาขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ผลการวิจัยดัง ขอใดที่กลาวผิด ก. การจัดการศึกษาของทองถิ่นดานแผนงาน ยังขาดอิสระ ข. การบริหารงานทั่วไปของทองถิ่นขาดการวางแผน ค. การบริหารงบประมาณ/การเงิน ขาดอิสระ รายไดไมเพียงพอกับการบริหารไมมีอิสระในการจัดเก็บรา ชัดเจน ง. มีความไมเทาเทียมกันในการจัดสรรทรัพยากรเพื่อการศึกษาระหวางสวนกลางและสวนทองถิ่น 11. ผลการวิจัยตามขอ 10 ขอใดกลาวผิด ก. การจัดการศึกษายังขาดการมีสวนรวมของประชาชน ข. นายกเทศมนตรีมีอํานาจโยกยายบุคลากรระดับ 6 ลงมา ค. ไมมีคณะกรรมการบริหารการศึกษาของทองถิ่นโดยเฉพาะ ง. การตัดสินใจขึ้นอยูกับคณะกรรมการบริหารของทองถิ่น 12. ผลการวิจัยในขอ 10 อํานาจหนาที่ของคณะกรรมการโรงเรียน ขอใดกลาวผิด ก. เปนกรรมการที่ปรึกษา เพื่อใหคําปรึกษาแก โรงเรียน ข. ใหความชวยเหลือดานการเงิน วัสดุ ครุภัณฑ แกโรงเรียน ค. มีสวนรวมในการคิดการตัดสินใจ และรวมติดตามผลกับโรงเรียน ง. มีสวนรวมในการเสนอแนะการบริหารโรงเรียนในสังกัด องคการปกครองสวนทองถิ่น 13. การจัดการศึกษาในทศวรรษใหมขององคกร ปกครองสวนทองถิ่น ควรเปนดังนี้ ยกเวนขอ ก. สวนกลางควบคุม และสงเสริมดาน งบประมาณอยางใกลชิด ข. มีความอิสระ คลองตัวในการจัดการศึกษา ค. ไดรับการสนับสนุนกํากับดูแลจากรัฐอยูหาง ๆ ง. องคกรปกครองสวนทองถิ่นจัดการศึกษาภายใตความตองการของทองถิ่นและประชาชนไดตรงประเ ที่สุด 14. องคกรปกครองสวนทองถิ่นที่มีความพรอมและเขมแข็งในการจัดการศึกษามีดังนี้ยกเวน ก. มีศักยภาพดานกําลังคน ข. รัฐฯ กําหนดมาตรการควบคุมดูแลใหไดผล ค. มีรายไดเปนของตนมากพอเพียง ง. มีสาธาธูปโภคเอื้ออํานวย 15. ขอเสนอแนะในการวิจัยในขอ 10 ขอใดกลาวผิด ก. พลังประชาชนเปนแรงจะชวยผลักดันการจัดการศึกษาใหมีประสิทธิภาพขึ้น ข. รัฐควรเปดโอกาสใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นจัดการศึกษาจนถึงสูงกวาขั้นพื้นฐาน ค. หนวยงานที่ควรจัดการศึกษาคือ กทม. เทศบาล และ อบจ. ง. อบต. เปนองคกรปกครองสวนทองถิ่นที่อยูใกลชิดกับประชาชนมากที่สุด 16. "สงเสริมศาสนา ศิลป วัฒนธรรมของชาติ การกีฬา ภูมิปญญาทองถิ่น" ขอความนี้ปรากฏ ใดของ พรบ.การศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 ก. มาตรา 22 หมวด 4 แนวการจัดการศึกษา ข. มาตรา 15 หมวด 3 ระบบการศึกษา ค. มาตรา 10 หมวด 2 สิทธิและหนาที่ทางการศึกษา ง. มาตรา 7 หมว ด 1 บททั่วไป (ความมุงหมายและหลักการ) 17. ตาม พ.ร.บ.การศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 ไดกําหนดหลักการจัดการศึกษาไวดังนี้ ยกเว ก. เปนการศึกษาตลอดชีวิตสําหรับประชาชน ข. มุงสรางเอกภาพในการจัดการศึกษา หนา 2 ของ 4ติวสอบบรรจุครู 5/3/2550file://D:back up_(d)website(upload)website_bavonweb sobkroo.comtest_s...
  • 3. ค. ใหสังคมมีสวนรวมในการจัดการศึกษา ง. การพัฒนาสาระและกระบวนการเรียนรูใหเปนไปอยางตอเนื่อง 18. ตาม พ.ร.บ.การศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 กลาวคือ การปกครองสวนทองถิ่นใชตามมาต ขอใด (การจัดระบบ/โครงสรางกระบวนการจัดการศึกษา) ก. ขอ 2 กระจายอํานาจไปสู….และองคกร….และขอ 6ฯ ข. ขอ 1 มีเอกภาพดานนโยบายหลากหลายในการปฏิบัติ ค. กําหนดมาตรฐานการศึกษา และการประกันคุณภาพในขอ 3 ง. ระดมทรัพยากรจาก..มาใชในการจัดการศึกษา 19. ตามมาตรา 18 ของ พ.ร.บ.การศึกษาแหงชาติ 2542 ขอใดที่ครอบคลุมการจัดการศึกษา ในทองถิ่นมาก ที่สุด ก. การศึกษาปฐมวัย ข. ศูนยพัฒนาเด็กกอนเกณฑ ค. ศูนยการเรียน ง. โรงเรียน 20. ในมาตรา 23 ของ พ.ร.บ.การศึกษาแหงชาติ 2542 ในการจัดการศึกษาใหแกผูเรียนขอใ สัมพันธ กับการจัดการศึกษาเพื่อนําไปใชในทองถิ่นไดมากที่สุด ก. ความรูและทักษะดานวิทยาศาสตร/เทคโนโลยี ข. ความรู/ทักษะในการประกอบอาชีพและการดํารงชีวิตอยางมีความสุข ค. ความรูเกี่ยวกับตนเองและความสัมพันธของตนกับสังคม ง. ความรูเกี่ยวกับศาสนา ศิลป วัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถิ่น 21. คํากลาวที่วา "สงเสริมองคกรปกครองสวนทองถิ่นใหสามารถจัดการศึกษาสอดคลองกับน และไดมาตรฐานการศึกษา เสนอแนะการจัดสรรงบประมาณอุดหนุน การจัดการศึกษาของ องคกรปกครองสวนทองถิ่น" ปรากฏอยูในสวนใดของ พ.ร.บ.การศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 ก. มาตรา 42 หมวดที่ 5 วาดวยการบริหารและการจัดการศึกษา ข. มาตรา 41 หมวดที่ 5 วาดวยการบริหารและการจัดการศึกษา ค. มาตรา 42 หมวดที่ 3 วาดวยการบริหารและการจัดการศึกษาขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ง. มาตรา 41 หมวดที่ 3 วาดวยการบริหารและการจัดการศึกษาขององคกรปกครองสวนทองถิ่น 22. ในหมวด 8 วาดวยทรัพยากรและการลงทุนเพื่อการศึกษาของ พ.ร.บ.การศึกษาแหงชาติ ศ.2542 ขอใดกลาวผิด ก. ใหมีการระดมทรัพยากรและการลงทุนดานงบประมาณเพื่อจัดการศึกษา ข. รัฐ บุคคล ชุมชน ครอบครัว องคกรชุมชน เอกชน สนับสนุนการลงทุนเพื่อการศึกษา ค. ใหองคกรปกครองสวนทองถิ่น องคกรวิชาชีพ ลงทุนดานงบประมาณชวยจัดการศึกษา ง. ใหมีการยืมเงินจากตางประเทศมาลงทุนเพื่อจัดการศึกษาอยางเหมาะสม/จําเปน 23. ใครมีอํานาจประกาศกําหนดเขตพื้นที่การศึกษา ก. รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษา ข. รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาโดยคําแนะนําของสภาการศึกษา ค. รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการโดยคํายินยอมของสภาการศึกษา ง. คณะรัฐมนตรี 24. บุคคลที่ทําหนาที่ในการกํากับและสงเสริมสนับสนุนกิจการของสถานศึกษาคือขอใด ก. คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ข. คณะกรรมการสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาที่ต่ํากวาปริญญา ค. คณะกรรมการสถานศึกษาระดับอาชีวะศึกษา ง. ถูกทุกขอ 25. การจัดระเบียบราชการกระทรวงศึกษาธิการใหเปนไปตามขอใด ก. พรบ.ระเบียบบริหารราชการแผนดิน ข. พรบ.ปรับปรุง กระทรวง ทบวง กรม ค. พรบ.การศึกษาแหงชาติ ง. พรบ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ 26. การดําเนินการตามขอใดใหยึดหลักการบริหารราชการแผนดิน ก. การจัดสรรงบประมาณ หนา 3 ของ 4ติวสอบบรรจุครู 5/3/2550file://D:back up_(d)website(upload)website_bavonweb sobkroo.comtest_s...
  • 4. ข. การบรรจุแตงตั้งบุคคลเขารับตําแหนง ค. การปฏิบัติหนาที่ราชการ ง. ถูกทุกขอ 27. การจัดระเบียบราชการในกระทรวงใดๆใหเปนไปตามกฎหมายวาดวยการปรับปรุงกระทร ทบวง กรม ยกเวนกระทรวงใด ก. สํานักนายกรัฐมนตรี ข. กระทรวงกลาโหม ค. กระทรวงศึกษาธิการ ง. ขอ ข และ ค ถูก 28. การจัดระบบโครงสรางและกระบวนการศึกษาใหยึดหลักอะไรบาง ก. มีเอกภาพดานนโยบายและหลากหลายใน การปฏิบัติ ข. มีการกระจายอํานาจไปสูเขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษา ค. ระดมทรัพยากรจากแหลงตางๆ มาใชในการจัดการศึกษา ง. ถูกทั้ง ก ข และ ค 29. ขอใดตอไปนี้กลาวไมถูกตอง ก. ใหมีการศึกษาภาคบังคับ 9 ป ข. การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานประกอบดวยการจัดการศึกษาซึ่งไมนอยกวา 12 ป ค. การศึกษาภาคบังคับ 9 ป และการจัดการ ศึกษาขั้นพื้นฐาน 12 ป จะตองดําเนินการ ภายในป 2545 เปนอยางชา ง. การศึกษาระดับอุดมศึกษามีสองระดับ คือ ระดับต่ํากวาปริญญา และระดับปริญญา 30. ภรรยาทานเปนขาราชการครูสอนในโรงเรียนเดียวกันกับทานแตไดรับการผาตัดใสติ่งที่ โรงพยาบาลในกรุงเทพมหานคร ทานตองลาประเภทใด ก. ลาปวย ข. ลากิจสวนตัว ค. ลาพักผอน ง. เลือกระหวางลากิจสวนตัวหรือลาพักผอน หนาแรก หนาเมนูขอสอบ ดูเฉลย ทําขอสอบชุดถัดไ หนา 4 ของ 4ติวสอบบรรจุครู 5/3/2550file://D:back up_(d)website(upload)website_bavonweb sobkroo.comtest_s...