SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
บทที่ 4 การตัดสินใจในการเขียนโปรแกรม
คาสั่งเพื่อการตัดสินใน (Decision)
ในการเขียนโปรแกรม คาสั่งเพื่อการตัดสินใจ (Decision) นับเป็น
สิ่งสาคัญอย่างมากในการเขียนโปรแกรม เพื่อให้เกิดทางเลือกในการ
ทางานอย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่งลักษณะการตัดสินใจในการเขียน
โปรแกรมนั้นมีหลายรูปแบบ โดยทั่วไปการตัดสินใจในโปรแกรม จะมี
3 ประเภท
มีทางเลือกเดียว
มีทางเลือก 2 ทางเลือก
มีทางเลือกมากกว่า 2 ทางเลือก
คาสั่งแบบมีเงื่อนไข แบ่งออกเป็น 2 คาสั่ง
IF Statement แบ่งเป็น 3 ลักษณะ
IF…Then…
IF…Then…Else…
IF…Then…Else…ซ้อนกันหลายชั้น
คาสั่ง IF…Then…
คาสั่ง IF นี้ใช้ในการเขียนโปรแกรมที่สั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ตัดสินใจ
เลือกเงือนไขที่เป็นจริง แล้วปฏิบัติตามคาสั่งที่ต้องการ โดยมีทางเลือก
เพียง 1 ทางเลือกเท่านั้น
คาสั่ง IF…Then...Else…
หลักการทางาน จากรูปแบบเมื่อโปรแกรมพบคาสั่งนี้จะทาการตรวจสอบ
เงื่อนไขหลัง If โดยมีทางเลือกให้ 2 ทาง ดั้งนี้
- ถ้าเงื่อนไขเป็นจริงจะทาตาสมคาสั่งที่อยู่หลัง Then
- ถ้าเงื่อนไขเป็นเท็จจะทาตามคาสั่งที่อยู่หลัง Else
คาสั่ง IF…Then…Else…ซ้อนกันหลายชั้น
คาสั่ง IF ซ้อนกันจะเกิดขึ้นเมื่อเกิดทางเลือกนั้นมีมากว่า 2 ทางเลือก
หลักการทางาน
มีหลักการทางานเหมือนกันกับคาสั่ง If…Then…Else… แบบชั้น
เดียว แตกต่างกันคือ เมื่อมีการตรวจสอบเงือนไขที่ 1 เป็นเท็จ ก็จะข้าม
คาสั่งหลัง Then ของเงื่อนไขที่ 1 และเข้าตรวจสอบเงื่อนไขที่ 2 ถ้าจริง
ก็จะทาคาสั่งที่อยู่หลัง Then ของเงื่อนไขที่ 2 ถ้ายังไม่จริงอีกก็จาทา
ตามเงื่อนไขที่ 3 หรือเงื่อนไขต่อไปอีกเรื่อย ๆ แต่ถ้าเงื่อนไขหลัง If ทุก
คาสั่งไม่เป็นจริง ก็จะทาตามคาสั่งที่อยู่หลัง Else
คาสั่ง Select Case
เป็นคาสั่งที่เหมาะสาหรับการตรวจสอบเงื่อนไข และมีทางเลือกให้ทา
มากว่า 2 ทางเลือกนิยมใช้ในกรณีที่เงื่อนไขการตัดสินใจขึ้นอยู่กับตัวแปร
เพียงตัวเดียว คาสั่ง Select Case มีลักษณะการทางานคล้ายกับคาสั่ง
If…Then…Else แบบซับซ้อนกันหลายชั้น คือ มีการตัดสินใจในการทางาน
มากว่า 2 ทางเลือก แต่จะมีโครงสร้างซับซ้อนน้อยกว่าคาสั่ง If…Then…Else
แบบซ้อนกันหลายชั้น
หลักการทางาน
รูปแบบของ Select Case มีหลักการทางาน คือ จะมีการตรวจสอบค่า
ของตัวแปรหลัง Select Case ว่ามีค่าตรงกับเงื่อนไขใดหลังคาสั่ง Case ก็ให้
ทาคาสั่ง Case ก็ให้ทาคาสั่งที่อยู่ต่อจากคาสั่ง Case นั้น ๆ และถ้าค่าของตัว
แปรไม่ตรงกับเงื่อนไขคาสั่งหลัง Case ใดเลย โปรแกรมก็จะทาคาสั่งที่อยู่
หลัง Case Else

More Related Content

More from patchareepoim

Powerpoint บทที่ 7
Powerpoint บทที่ 7Powerpoint บทที่ 7
Powerpoint บทที่ 7patchareepoim
 
Powerpoint บทที่ 6
Powerpoint บทที่ 6Powerpoint บทที่ 6
Powerpoint บทที่ 6patchareepoim
 
Powerpoint บทที่ 5
Powerpoint บทที่ 5Powerpoint บทที่ 5
Powerpoint บทที่ 5patchareepoim
 
Powerpoint บทที่ 3
Powerpoint บทที่ 3Powerpoint บทที่ 3
Powerpoint บทที่ 3patchareepoim
 
Powerpoint บทที่ 2
Powerpoint บทที่ 2Powerpoint บทที่ 2
Powerpoint บทที่ 2patchareepoim
 
Powerpoint บทที่ 1
Powerpoint บทที่ 1Powerpoint บทที่ 1
Powerpoint บทที่ 1patchareepoim
 

More from patchareepoim (6)

Powerpoint บทที่ 7
Powerpoint บทที่ 7Powerpoint บทที่ 7
Powerpoint บทที่ 7
 
Powerpoint บทที่ 6
Powerpoint บทที่ 6Powerpoint บทที่ 6
Powerpoint บทที่ 6
 
Powerpoint บทที่ 5
Powerpoint บทที่ 5Powerpoint บทที่ 5
Powerpoint บทที่ 5
 
Powerpoint บทที่ 3
Powerpoint บทที่ 3Powerpoint บทที่ 3
Powerpoint บทที่ 3
 
Powerpoint บทที่ 2
Powerpoint บทที่ 2Powerpoint บทที่ 2
Powerpoint บทที่ 2
 
Powerpoint บทที่ 1
Powerpoint บทที่ 1Powerpoint บทที่ 1
Powerpoint บทที่ 1
 

Powerpoint บทที่ 4

  • 1. บทที่ 4 การตัดสินใจในการเขียนโปรแกรม คาสั่งเพื่อการตัดสินใน (Decision) ในการเขียนโปรแกรม คาสั่งเพื่อการตัดสินใจ (Decision) นับเป็น สิ่งสาคัญอย่างมากในการเขียนโปรแกรม เพื่อให้เกิดทางเลือกในการ ทางานอย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่งลักษณะการตัดสินใจในการเขียน โปรแกรมนั้นมีหลายรูปแบบ โดยทั่วไปการตัดสินใจในโปรแกรม จะมี 3 ประเภท มีทางเลือกเดียว มีทางเลือก 2 ทางเลือก มีทางเลือกมากกว่า 2 ทางเลือก
  • 2. คาสั่งแบบมีเงื่อนไข แบ่งออกเป็น 2 คาสั่ง IF Statement แบ่งเป็น 3 ลักษณะ IF…Then… IF…Then…Else… IF…Then…Else…ซ้อนกันหลายชั้น คาสั่ง IF…Then… คาสั่ง IF นี้ใช้ในการเขียนโปรแกรมที่สั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ตัดสินใจ เลือกเงือนไขที่เป็นจริง แล้วปฏิบัติตามคาสั่งที่ต้องการ โดยมีทางเลือก เพียง 1 ทางเลือกเท่านั้น
  • 3. คาสั่ง IF…Then...Else… หลักการทางาน จากรูปแบบเมื่อโปรแกรมพบคาสั่งนี้จะทาการตรวจสอบ เงื่อนไขหลัง If โดยมีทางเลือกให้ 2 ทาง ดั้งนี้ - ถ้าเงื่อนไขเป็นจริงจะทาตาสมคาสั่งที่อยู่หลัง Then - ถ้าเงื่อนไขเป็นเท็จจะทาตามคาสั่งที่อยู่หลัง Else
  • 4. คาสั่ง IF…Then…Else…ซ้อนกันหลายชั้น คาสั่ง IF ซ้อนกันจะเกิดขึ้นเมื่อเกิดทางเลือกนั้นมีมากว่า 2 ทางเลือก หลักการทางาน มีหลักการทางานเหมือนกันกับคาสั่ง If…Then…Else… แบบชั้น เดียว แตกต่างกันคือ เมื่อมีการตรวจสอบเงือนไขที่ 1 เป็นเท็จ ก็จะข้าม คาสั่งหลัง Then ของเงื่อนไขที่ 1 และเข้าตรวจสอบเงื่อนไขที่ 2 ถ้าจริง ก็จะทาคาสั่งที่อยู่หลัง Then ของเงื่อนไขที่ 2 ถ้ายังไม่จริงอีกก็จาทา ตามเงื่อนไขที่ 3 หรือเงื่อนไขต่อไปอีกเรื่อย ๆ แต่ถ้าเงื่อนไขหลัง If ทุก คาสั่งไม่เป็นจริง ก็จะทาตามคาสั่งที่อยู่หลัง Else
  • 5. คาสั่ง Select Case เป็นคาสั่งที่เหมาะสาหรับการตรวจสอบเงื่อนไข และมีทางเลือกให้ทา มากว่า 2 ทางเลือกนิยมใช้ในกรณีที่เงื่อนไขการตัดสินใจขึ้นอยู่กับตัวแปร เพียงตัวเดียว คาสั่ง Select Case มีลักษณะการทางานคล้ายกับคาสั่ง If…Then…Else แบบซับซ้อนกันหลายชั้น คือ มีการตัดสินใจในการทางาน มากว่า 2 ทางเลือก แต่จะมีโครงสร้างซับซ้อนน้อยกว่าคาสั่ง If…Then…Else แบบซ้อนกันหลายชั้น หลักการทางาน รูปแบบของ Select Case มีหลักการทางาน คือ จะมีการตรวจสอบค่า ของตัวแปรหลัง Select Case ว่ามีค่าตรงกับเงื่อนไขใดหลังคาสั่ง Case ก็ให้ ทาคาสั่ง Case ก็ให้ทาคาสั่งที่อยู่ต่อจากคาสั่ง Case นั้น ๆ และถ้าค่าของตัว แปรไม่ตรงกับเงื่อนไขคาสั่งหลัง Case ใดเลย โปรแกรมก็จะทาคาสั่งที่อยู่ หลัง Case Else