SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
1
1.  นายจักรพันธ์  อันภักดี  เลขที่  3 2.  นายยุทธภูมิ  โสเส  เลขที่  10 3.  นายอรรถกฤษ  สุราวรรณ์  เลขที่  13 1 หน้าถัดไป ครูชมัยพร  โคตรโยธา
คำนำ ,[object Object],[object Object],1 หน้าถัดไป
สารบัญ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],1
ในสภาวะที่อุณหภูมิและความดันเหมาะสม สารหลายชนิดสามารถเปลี่ยนของแข็ง ของเหลวหรือแก็สได้ นอกจากนี้ธาตุที่เป็นอโลหะ เช่น ไฮโดรเจน ฟลูออรีน คลอรีน ออกซิเจน ไนโตรเจนและแก๊สเฉื่อย รวมทังสารประกอบโคเวเลนต์ที่มีมวลโมเลกุลต่ำบางสาร เช่น  CO CO 2  NH 3  H 2 S SO 2  ล้วนมีสถานะแก๊สที่อุณหภูมิห้อง สารในสถานะแก๊สมีสมบัติเหมือนหรือแตกต่างจากของแข็งและของเหลว คือ  1 1 หน้าถัดไป
แก๊สมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างนะภาคน้อยมาก อนุภาคจะอยู่ห่างกันมากเมื่อเปรียบเทียบกับของแข็งและของเหลว ดังนั้นเมื่อบรรจุแก๊สไว้ในภาชนะ แก๊สจึงแพร่เต็มภาชนะที่บรรจุ ทำให้มีรูปร่างเปลี่ยนแปลงตามขณะและรูปร่างตามภาชนะ แก๊สมีความ หนาแน่นต่ำกว่าของเหลวและของแข็งมาก รวมทั้งสามารถบีบอัดได้มากที่สุด 1 2 หน้าถัดไป
จากการศึกษาของนักวิทยาศาสตร์ในอดีตเกี่ยวกับพฤติกรรมแลละสมบัติต่างๆ ของแก๊สในระดับอนุภาค พบว่าแก๊สเกือบทุกชนิดมีสมบัติบางประการคล้ายกันจนสรุปเป็นทฤษฎีที่สามารถนำไปใช้อธิบายสมบัติต่างๆ ของแก๊สได้ ทฤษฎีดังกล่าวนั้นเรียกว่า ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส มีสาระสำคัญดังนี้  1.  แก๊สประกอบด้วยอนุภาคจำนวนมากที่มีขนาดเล็กมาก จนถือได้ว่าอนุภาคแก๊สไม่มีปริมาตรเมื่อเทียบกับขนาดภาชนะที่บรรจุ 2.  โมเลกุลของแก๊สอยู่ห่างกันมาก ทำให้แรงดึงดูดและแรงผลักระหว่างโมเลกุลน้อยมาก จนถือได้ว่าไม่มีแรงกระทำต่อกัน 3.  โมเลกุลของแก๊สเคลื่อนที่อย่างรวดเร็วในแนวเส้นตรง เป็นอิสระด้วยอัตราเร็วคงที่และไม่เป็นระเบียบ จนกระทั่งชนกันโมเลกุลอื่นหรือชนกับผนังของภาชนะจึงจะเปลี่ยนทิศทางและอัตราเร็ว 1 3 หน้าถัดไป
4.  โมเลกุลของแก๊สที่ชนกันเองหรือชนกับผนังภาชนะ จะเกิดการถ่ายโอนพลังงานให้แก่กันได้พลังงานรวมของระบบมีค่าคงที่ 5.  ณ อุณหภูมิเดียวกัน โมเลกุลของแก๊สแต่ละโมเลกุลเคลื่อนที่ด้วยความเร็วไม่เท่ากัน แต่จะมีพลังงานจลน์เฉลี่ยเท่ากัน โดยพลังงานจลน์เฉลี่ยของแก๊สจะแปรผันตรงกันอุณหภูมิเคลวิน 1 4 สารบัญ
ความสัมพันธ์ของปริมาตร จากทฤษฎีจลน์ของแก๊สทำให้ทราบว่า แก๊สประกอบด้วยโมเลกุลจำนวนมากที่อยู่ห่างกันจนถือได้ว่าไม่มีแรงกระทำต่อกัน ซึ่งเป็นผลให้แก๊สฟุ้งกระจายได้ง่าย แก๊สจึงมีรูปร่างและปริมาตรไม่แน่นอนขึ้นอยู่กับภาชนะที่บรรจุ ซึ่งเป็นสมบัติประการหนึ่งที่แตกต่างจากของแข็งและของเหลว ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงปริมาตรของแก๊ส ได้ศึกษาจากการทดลอง 1 5 หน้าถัดไป
การทดลอง ผลของความดันหรืออุณหภูมิต่อปริมาตรของแก๊ส ตอนที่  1   ผลของความดันต่อปริมาตรของแก๊ส 1.  ดึงก้านหลอดฉีดยาขึ้นมาอยู่ประมาณกึ่งกลางของกระบอกฉีดยา    ใช้ปลายนิ้วอุดปลายกระบอกฉีดยาไว้ กดก้านหลอดฉีดยาช้าๆ    จนกระทั่งกดไม่ลง ปล่อยมือที่กดและสังเกตการเปลี่ยนแปลง 2.  ดึงก้านหลอดฉีดยาขึ้นมาอยู่ประมาณกึ่งกลางของกระบอกฉีกยา    ใช้ปลายนิ้วอุดปลายกระบอกฉีดยา แล้วดึงก้านหลอดฉีกยาช้าๆ    จนเกือบสุด ปล่อยมือและสังเกตการเปลี่ยนแปลง  1 6 หน้าถัดไป
ตอนที่  2   ผลของอุณหภูมิต่อปริมาตรของแก๊ส 1.  ดึงก้านหลอกฉีดยาให้มีอากาศอยู่ภายในประมาณครึ่งกระบอกฉีดยา แล้วนำไปดูดน้ำให้มีปริมาตร  2  cm 3 2.  จุ่มกระบอกฉีดยาจากข้อ  1  ลงในน้ำร้อนที่มีอุณหภูมิประมาณ  60 - 70  ๐ c   สังเกตการเปลี่ยนแปลง  เมื่อการปลี่ยนแปลง  สิ้นสุดแล้ว ตั้งกระบอกฉีดยาให้ตรงและเลื่อนกระบอกฉีดยาขึ้น หรือลงจนกระทั่งน้ำภายในกระบอกฉีดยาเท่ากับระดับน้ำภายนอกอ่านปริมาตรอากาศในกระบอกฉีดยาทันที 3.  ทำการทดลองเช่นเดียวกับข้อ  2  แต่เปลี่ยนเป็นจุ่มระบอกฉีดยาทันที 1 7 หน้าถัดไป
ในการทดลองตอนที่  1  เมื่อกดก้านหลอดฉีดยาลดลง และเมื่อปล่อยมือก้านหลอดฉีดยาจะเลื่อนกลับสู่ตำแหน่งเดิม ในทำนองเดียวกันเมื่อดึงก้านหลอกฉีดยาขึ้น ทำให้ปริมาตรแก๊สภายในกระบอกฉีดยาเพิ่มขึ้น และเมื่อปล่อยมือจะทำให้ก้านหลอดฉีดกลับสู่ตำแหน่งเดิม ผลการทดลองดังกล่าวนี้ใช้ทฤษฎีจลน์ของแก๊สอธิบายได้ว่า เมื่อปริมาตรของแก๊สในกระบอกฉีดยาลดลง ทำให้โมเลกุลของแก๊สอยู่ใกล้กันมากขึ้น จึงเกิดการชนกันเองและชนกับผนังภาชนะมากขึ้น เป็นผลให้ความดันของแก๊สในกระบอกฉีดยาเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับตอนเริ่มต้น ในทางตรงกันข้ามการเพิ่มปริมาตรของแก๊สในกระบอกฉีดยา ทำให้โมเลกุลของแก๊สอยู่ห่างกัน การชนกันเองของโมเลกุลของแก๊สและชนกับผนังภาชนะมีความถี่ลดลง ความดันของแก๊สในกระบอกฉีดยาจึงลดลง 1 8 สารบัญ
กฎของบอยล์ นักวิทยาศาสตร์ได้ทำการทดลองเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปริมาตรและความดันของแก๊ส โดยการควบคุมให้อุณหภูมิคงที่ ได้ผลการทดลองดังตาราง 1 8 หน้าถัดไป
นักวิทยาศาสตร์ได้ทำการทดลองเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปริมาตรกับความดันของแก๊ส โดยควบคุมในอุณหภูมิคงที่ ได้ผลการทดลองดังตาราง ตารางความสัมพันธ์ระหว่างปริมาตร ( V ) กับความดัน ( P ) ของแก๊สเมื่ออุณหภูมิคงที่ 1 9 หน้าถัดไป การทดลองครั้งที่ V ( cm 3 ) P ( mmHg ) PV ( mmHg.cm 3 ) 1 2 3 4 5 6 7 8 9 5.00 10.00 15.00 20.00 25.00 30.00 35.00 40.00 45.00 760 380 253 191 151 127 109 95 84 3.80  x  10 3 3.80  x  10 3   3.80  x  10 3 3.82  x  10 3 3.78  x  10 3 3.81  x  10 3 3.82  x  10 3 3.80  x  10 3 3.78  x  10 3
รอเบิร์ต บอยล์ นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษได้ทำการศึกษาเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงปริมาตรและความดันของแก๊ส ในปี ค . ศ . 1662 ( พ . ศ . 2205)  ได้สรุปเป็นสาระสำคัญกว่า เมื่ออุณหภูมิและมวลของแก๊สคงที่ ปริมาตรของแก๊สจะแปรผกผันกับความดัน ซึ่งต่อมาเรียกความสัมพันธ์นี้เรียกว่า กฎของบอยล์ 1 10 สารบัญ
กฎของชาร์ล จากกฎของบอยล์ แสดงว่าการเปลี่ยนความดันมีผลทำให้ปริมาตรแก๊สเปลี่ยนแปลง นอกจากความดันแล้วมีปัจจัยอื่นอีกหรือไม่มีผลต่อปริมาตรของแก๊ส ในการทดลองพบว่าเมื่อจุ่มกระบอกฉีดยาเมื่อบรรจุน้ำ  2  cm 3  ในน้ำร้อน น้ำในกระบอกฉีดยาจะถูกดันออก ในทางตรงกันข้ามถ้าจุ่มกระบอกฉีดยาในน้ำเย็น น้ำจากภายนอกจะเข้าไปแทนที่อากาศในกระบอกฉีดยา การเปลี่ยนแปลงเหล่านี้ใช้ความรู้เรื่องทฤษฎีจลน์ 1 11 หน้าถัดไป
จากผลการทดลองในตอนที่  2  อธิบายได้ว่าการเพิ่มอุณหภูมิมีผลให้ปริมาตรของแก๊สเพิ่มขึ้นและการลดอุณหภูมิมีผลให้ปริมาตรของแก๊สลดลงด้วย แสดงว่าอุณหภูมิมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงปริมาตรของแก๊ส ซึ่งใช้ทฤษฎีจลน์ของแก๊สอธิบายได้ว่า การเพิ่มอุณหภูมิจะทำให้โมเลกุลของแก๊สมีพลังงานจลน์เฉลี่ยเพิ่มขึ้น โมเลกุลของแก๊สจึงเคลื่อนที่เร็วขึ้น ทำให้โมเลกุลชนกันเองและชนกับผนังของภาชนะมากขึ้น รวมทั้งพลังงานในการชนกันสูงขึ้นด้วย เป็นผลให้แก๊สในกระบอกฉีดยามีความดันเพิ่มขึ้น จึงดันน้ำออกจากกระบอกฉีดยาจนความดันของแก๊สภายในเท่ากับความดันภายนอก จึงสังเกตเห็นว่าแก๊สในกระบอกฉีดยามรปริมาตรเพิ่มขึ้น ในทางกับกันเมื่ออุณหภูมิลดลง พลังงานจลน์เฉลี่ยของโมเลกุลของแก๊สจะลดลง ทำให้โมเลกุลชนกันเองระหว่างโมเลกุลและชนกับผนังของภาชนะน้อยลง รวมทั้งพลังงานในการชนลดลงด้วย ความดันของแก๊สภายในกระบอกฉีดยาจึงต่ำ อากาศภายนอกซึ่งมีความดันสูงกว่าจึงดันน้ำให้เข้าไปในกระบอกฉีดยา ความดันภายในจึงเพิ่มขึ้นจนเท่ากับความดันภายนอก จึงสังเกตเห็นว่าปริมาตรของแก๊สในกระบอกฉีดยาลดลงจนกระทั่งคงที่ จากผลการทดลองและคำอธิบายดังกล่าวจึงสรุปได้ว่าอุณหภูมิเป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงปริมาตรของแก๊ส 1 12 สารบัญ
กฎรวมแก๊ส เนื่องจากกฎของบอยล์และชาร์ลกล่าวถึงเฉพาะความสัมพันธ์ ระหว่างปริมาตรและความดัน และปริมาตรกับอุณหภูมิ แต่การเปลี่ยนแปลงในธรรมชาติอาจเกิดขึ้นพร้อมๆ กัน ดังนั้นจึงมีการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปริมาตร ความดัน และอุณหภูมิของแก๊สในขณะที่มวลมีค่าคงที่ ความสัมพันธ์ระหว่างความดัน อุณหภูมิ และปริมาตรที่แสดงไว้นี้เรียกว่า  “ กฎรวมแก๊ส ” ซึ่งสามารถนำไปใช้ในการคำนวณหาความดัน ปริมาตรและอุณภูมิของแก๊สได้ 1 13 สารบัญ
[object Object],[object Object],1 14 สารบัญ
1 สวัสดีครับ

More Related Content

Similar to Gass คอม

6สมบัติของแก๊ส
6สมบัติของแก๊ส6สมบัติของแก๊ส
6สมบัติของแก๊สWijitta DevilTeacher
 
กมลชนก
กมลชนกกมลชนก
กมลชนกBlovely123
 
สุปราณี ม.5
สุปราณี  ม.5สุปราณี  ม.5
สุปราณี ม.5bee255taiy
 
กมลชนก
กมลชนกกมลชนก
กมลชนกkamon369
 
อดิศักดิ์
อดิศักดิ์อดิศักดิ์
อดิศักดิ์adiak11
 
อดิศักดิ์
อดิศักดิ์อดิศักดิ์
อดิศักดิ์adiak11
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีchemnpk
 
ปฏิบัติการทดลอง
ปฏิบัติการทดลอง ปฏิบัติการทดลอง
ปฏิบัติการทดลอง ืkanya pinyo
 
ฟิสิกส์ บทที่ 6 คุณสมบัติของของไหล
ฟิสิกส์ บทที่ 6 คุณสมบัติของของไหลฟิสิกส์ บทที่ 6 คุณสมบัติของของไหล
ฟิสิกส์ บทที่ 6 คุณสมบัติของของไหลChirawat Samrit
 
Hw 1 state_of_matter
Hw 1 state_of_matterHw 1 state_of_matter
Hw 1 state_of_matteradriamycin
 

Similar to Gass คอม (16)

6สมบัติของแก๊ส
6สมบัติของแก๊ส6สมบัติของแก๊ส
6สมบัติของแก๊ส
 
Som
SomSom
Som
 
กมลชนก
กมลชนกกมลชนก
กมลชนก
 
สุปราณี ม.5
สุปราณี  ม.5สุปราณี  ม.5
สุปราณี ม.5
 
กมลชนก
กมลชนกกมลชนก
กมลชนก
 
อดิศักดิ์
อดิศักดิ์อดิศักดิ์
อดิศักดิ์
 
อดิศักดิ์
อดิศักดิ์อดิศักดิ์
อดิศักดิ์
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
ปฏิบัติการทดลอง
ปฏิบัติการทดลอง ปฏิบัติการทดลอง
ปฏิบัติการทดลอง
 
ฟิสิกส์ บทที่ 6 คุณสมบัติของของไหล
ฟิสิกส์ บทที่ 6 คุณสมบัติของของไหลฟิสิกส์ บทที่ 6 คุณสมบัติของของไหล
ฟิสิกส์ บทที่ 6 คุณสมบัติของของไหล
 
แก๊ส (Gases)
แก๊ส (Gases)แก๊ส (Gases)
แก๊ส (Gases)
 
2
22
2
 
Hw 1 state_of_matter
Hw 1 state_of_matterHw 1 state_of_matter
Hw 1 state_of_matter
 
Solid Liquid And Gas
Solid   Liquid  And   GasSolid   Liquid  And   Gas
Solid Liquid And Gas
 
Fluid
FluidFluid
Fluid
 
สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)
 

Gass คอม

  • 1. 1
  • 2. 1. นายจักรพันธ์ อันภักดี เลขที่ 3 2. นายยุทธภูมิ โสเส เลขที่ 10 3. นายอรรถกฤษ สุราวรรณ์ เลขที่ 13 1 หน้าถัดไป ครูชมัยพร โคตรโยธา
  • 3.
  • 4.
  • 5. ในสภาวะที่อุณหภูมิและความดันเหมาะสม สารหลายชนิดสามารถเปลี่ยนของแข็ง ของเหลวหรือแก็สได้ นอกจากนี้ธาตุที่เป็นอโลหะ เช่น ไฮโดรเจน ฟลูออรีน คลอรีน ออกซิเจน ไนโตรเจนและแก๊สเฉื่อย รวมทังสารประกอบโคเวเลนต์ที่มีมวลโมเลกุลต่ำบางสาร เช่น CO CO 2 NH 3 H 2 S SO 2 ล้วนมีสถานะแก๊สที่อุณหภูมิห้อง สารในสถานะแก๊สมีสมบัติเหมือนหรือแตกต่างจากของแข็งและของเหลว คือ 1 1 หน้าถัดไป
  • 6. แก๊สมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างนะภาคน้อยมาก อนุภาคจะอยู่ห่างกันมากเมื่อเปรียบเทียบกับของแข็งและของเหลว ดังนั้นเมื่อบรรจุแก๊สไว้ในภาชนะ แก๊สจึงแพร่เต็มภาชนะที่บรรจุ ทำให้มีรูปร่างเปลี่ยนแปลงตามขณะและรูปร่างตามภาชนะ แก๊สมีความ หนาแน่นต่ำกว่าของเหลวและของแข็งมาก รวมทั้งสามารถบีบอัดได้มากที่สุด 1 2 หน้าถัดไป
  • 7. จากการศึกษาของนักวิทยาศาสตร์ในอดีตเกี่ยวกับพฤติกรรมแลละสมบัติต่างๆ ของแก๊สในระดับอนุภาค พบว่าแก๊สเกือบทุกชนิดมีสมบัติบางประการคล้ายกันจนสรุปเป็นทฤษฎีที่สามารถนำไปใช้อธิบายสมบัติต่างๆ ของแก๊สได้ ทฤษฎีดังกล่าวนั้นเรียกว่า ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส มีสาระสำคัญดังนี้ 1. แก๊สประกอบด้วยอนุภาคจำนวนมากที่มีขนาดเล็กมาก จนถือได้ว่าอนุภาคแก๊สไม่มีปริมาตรเมื่อเทียบกับขนาดภาชนะที่บรรจุ 2. โมเลกุลของแก๊สอยู่ห่างกันมาก ทำให้แรงดึงดูดและแรงผลักระหว่างโมเลกุลน้อยมาก จนถือได้ว่าไม่มีแรงกระทำต่อกัน 3. โมเลกุลของแก๊สเคลื่อนที่อย่างรวดเร็วในแนวเส้นตรง เป็นอิสระด้วยอัตราเร็วคงที่และไม่เป็นระเบียบ จนกระทั่งชนกันโมเลกุลอื่นหรือชนกับผนังของภาชนะจึงจะเปลี่ยนทิศทางและอัตราเร็ว 1 3 หน้าถัดไป
  • 8. 4. โมเลกุลของแก๊สที่ชนกันเองหรือชนกับผนังภาชนะ จะเกิดการถ่ายโอนพลังงานให้แก่กันได้พลังงานรวมของระบบมีค่าคงที่ 5. ณ อุณหภูมิเดียวกัน โมเลกุลของแก๊สแต่ละโมเลกุลเคลื่อนที่ด้วยความเร็วไม่เท่ากัน แต่จะมีพลังงานจลน์เฉลี่ยเท่ากัน โดยพลังงานจลน์เฉลี่ยของแก๊สจะแปรผันตรงกันอุณหภูมิเคลวิน 1 4 สารบัญ
  • 9. ความสัมพันธ์ของปริมาตร จากทฤษฎีจลน์ของแก๊สทำให้ทราบว่า แก๊สประกอบด้วยโมเลกุลจำนวนมากที่อยู่ห่างกันจนถือได้ว่าไม่มีแรงกระทำต่อกัน ซึ่งเป็นผลให้แก๊สฟุ้งกระจายได้ง่าย แก๊สจึงมีรูปร่างและปริมาตรไม่แน่นอนขึ้นอยู่กับภาชนะที่บรรจุ ซึ่งเป็นสมบัติประการหนึ่งที่แตกต่างจากของแข็งและของเหลว ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงปริมาตรของแก๊ส ได้ศึกษาจากการทดลอง 1 5 หน้าถัดไป
  • 10. การทดลอง ผลของความดันหรืออุณหภูมิต่อปริมาตรของแก๊ส ตอนที่ 1 ผลของความดันต่อปริมาตรของแก๊ส 1. ดึงก้านหลอดฉีดยาขึ้นมาอยู่ประมาณกึ่งกลางของกระบอกฉีดยา ใช้ปลายนิ้วอุดปลายกระบอกฉีดยาไว้ กดก้านหลอดฉีดยาช้าๆ จนกระทั่งกดไม่ลง ปล่อยมือที่กดและสังเกตการเปลี่ยนแปลง 2. ดึงก้านหลอดฉีดยาขึ้นมาอยู่ประมาณกึ่งกลางของกระบอกฉีกยา ใช้ปลายนิ้วอุดปลายกระบอกฉีดยา แล้วดึงก้านหลอดฉีกยาช้าๆ จนเกือบสุด ปล่อยมือและสังเกตการเปลี่ยนแปลง 1 6 หน้าถัดไป
  • 11. ตอนที่ 2 ผลของอุณหภูมิต่อปริมาตรของแก๊ส 1. ดึงก้านหลอกฉีดยาให้มีอากาศอยู่ภายในประมาณครึ่งกระบอกฉีดยา แล้วนำไปดูดน้ำให้มีปริมาตร 2 cm 3 2. จุ่มกระบอกฉีดยาจากข้อ 1 ลงในน้ำร้อนที่มีอุณหภูมิประมาณ 60 - 70 ๐ c สังเกตการเปลี่ยนแปลง เมื่อการปลี่ยนแปลง สิ้นสุดแล้ว ตั้งกระบอกฉีดยาให้ตรงและเลื่อนกระบอกฉีดยาขึ้น หรือลงจนกระทั่งน้ำภายในกระบอกฉีดยาเท่ากับระดับน้ำภายนอกอ่านปริมาตรอากาศในกระบอกฉีดยาทันที 3. ทำการทดลองเช่นเดียวกับข้อ 2 แต่เปลี่ยนเป็นจุ่มระบอกฉีดยาทันที 1 7 หน้าถัดไป
  • 12. ในการทดลองตอนที่ 1 เมื่อกดก้านหลอดฉีดยาลดลง และเมื่อปล่อยมือก้านหลอดฉีดยาจะเลื่อนกลับสู่ตำแหน่งเดิม ในทำนองเดียวกันเมื่อดึงก้านหลอกฉีดยาขึ้น ทำให้ปริมาตรแก๊สภายในกระบอกฉีดยาเพิ่มขึ้น และเมื่อปล่อยมือจะทำให้ก้านหลอดฉีดกลับสู่ตำแหน่งเดิม ผลการทดลองดังกล่าวนี้ใช้ทฤษฎีจลน์ของแก๊สอธิบายได้ว่า เมื่อปริมาตรของแก๊สในกระบอกฉีดยาลดลง ทำให้โมเลกุลของแก๊สอยู่ใกล้กันมากขึ้น จึงเกิดการชนกันเองและชนกับผนังภาชนะมากขึ้น เป็นผลให้ความดันของแก๊สในกระบอกฉีดยาเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับตอนเริ่มต้น ในทางตรงกันข้ามการเพิ่มปริมาตรของแก๊สในกระบอกฉีดยา ทำให้โมเลกุลของแก๊สอยู่ห่างกัน การชนกันเองของโมเลกุลของแก๊สและชนกับผนังภาชนะมีความถี่ลดลง ความดันของแก๊สในกระบอกฉีดยาจึงลดลง 1 8 สารบัญ
  • 14. นักวิทยาศาสตร์ได้ทำการทดลองเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปริมาตรกับความดันของแก๊ส โดยควบคุมในอุณหภูมิคงที่ ได้ผลการทดลองดังตาราง ตารางความสัมพันธ์ระหว่างปริมาตร ( V ) กับความดัน ( P ) ของแก๊สเมื่ออุณหภูมิคงที่ 1 9 หน้าถัดไป การทดลองครั้งที่ V ( cm 3 ) P ( mmHg ) PV ( mmHg.cm 3 ) 1 2 3 4 5 6 7 8 9 5.00 10.00 15.00 20.00 25.00 30.00 35.00 40.00 45.00 760 380 253 191 151 127 109 95 84 3.80 x 10 3 3.80 x 10 3 3.80 x 10 3 3.82 x 10 3 3.78 x 10 3 3.81 x 10 3 3.82 x 10 3 3.80 x 10 3 3.78 x 10 3
  • 15. รอเบิร์ต บอยล์ นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษได้ทำการศึกษาเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงปริมาตรและความดันของแก๊ส ในปี ค . ศ . 1662 ( พ . ศ . 2205) ได้สรุปเป็นสาระสำคัญกว่า เมื่ออุณหภูมิและมวลของแก๊สคงที่ ปริมาตรของแก๊สจะแปรผกผันกับความดัน ซึ่งต่อมาเรียกความสัมพันธ์นี้เรียกว่า กฎของบอยล์ 1 10 สารบัญ
  • 16. กฎของชาร์ล จากกฎของบอยล์ แสดงว่าการเปลี่ยนความดันมีผลทำให้ปริมาตรแก๊สเปลี่ยนแปลง นอกจากความดันแล้วมีปัจจัยอื่นอีกหรือไม่มีผลต่อปริมาตรของแก๊ส ในการทดลองพบว่าเมื่อจุ่มกระบอกฉีดยาเมื่อบรรจุน้ำ 2 cm 3 ในน้ำร้อน น้ำในกระบอกฉีดยาจะถูกดันออก ในทางตรงกันข้ามถ้าจุ่มกระบอกฉีดยาในน้ำเย็น น้ำจากภายนอกจะเข้าไปแทนที่อากาศในกระบอกฉีดยา การเปลี่ยนแปลงเหล่านี้ใช้ความรู้เรื่องทฤษฎีจลน์ 1 11 หน้าถัดไป
  • 17. จากผลการทดลองในตอนที่ 2 อธิบายได้ว่าการเพิ่มอุณหภูมิมีผลให้ปริมาตรของแก๊สเพิ่มขึ้นและการลดอุณหภูมิมีผลให้ปริมาตรของแก๊สลดลงด้วย แสดงว่าอุณหภูมิมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงปริมาตรของแก๊ส ซึ่งใช้ทฤษฎีจลน์ของแก๊สอธิบายได้ว่า การเพิ่มอุณหภูมิจะทำให้โมเลกุลของแก๊สมีพลังงานจลน์เฉลี่ยเพิ่มขึ้น โมเลกุลของแก๊สจึงเคลื่อนที่เร็วขึ้น ทำให้โมเลกุลชนกันเองและชนกับผนังของภาชนะมากขึ้น รวมทั้งพลังงานในการชนกันสูงขึ้นด้วย เป็นผลให้แก๊สในกระบอกฉีดยามีความดันเพิ่มขึ้น จึงดันน้ำออกจากกระบอกฉีดยาจนความดันของแก๊สภายในเท่ากับความดันภายนอก จึงสังเกตเห็นว่าแก๊สในกระบอกฉีดยามรปริมาตรเพิ่มขึ้น ในทางกับกันเมื่ออุณหภูมิลดลง พลังงานจลน์เฉลี่ยของโมเลกุลของแก๊สจะลดลง ทำให้โมเลกุลชนกันเองระหว่างโมเลกุลและชนกับผนังของภาชนะน้อยลง รวมทั้งพลังงานในการชนลดลงด้วย ความดันของแก๊สภายในกระบอกฉีดยาจึงต่ำ อากาศภายนอกซึ่งมีความดันสูงกว่าจึงดันน้ำให้เข้าไปในกระบอกฉีดยา ความดันภายในจึงเพิ่มขึ้นจนเท่ากับความดันภายนอก จึงสังเกตเห็นว่าปริมาตรของแก๊สในกระบอกฉีดยาลดลงจนกระทั่งคงที่ จากผลการทดลองและคำอธิบายดังกล่าวจึงสรุปได้ว่าอุณหภูมิเป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงปริมาตรของแก๊ส 1 12 สารบัญ
  • 18. กฎรวมแก๊ส เนื่องจากกฎของบอยล์และชาร์ลกล่าวถึงเฉพาะความสัมพันธ์ ระหว่างปริมาตรและความดัน และปริมาตรกับอุณหภูมิ แต่การเปลี่ยนแปลงในธรรมชาติอาจเกิดขึ้นพร้อมๆ กัน ดังนั้นจึงมีการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปริมาตร ความดัน และอุณหภูมิของแก๊สในขณะที่มวลมีค่าคงที่ ความสัมพันธ์ระหว่างความดัน อุณหภูมิ และปริมาตรที่แสดงไว้นี้เรียกว่า “ กฎรวมแก๊ส ” ซึ่งสามารถนำไปใช้ในการคำนวณหาความดัน ปริมาตรและอุณภูมิของแก๊สได้ 1 13 สารบัญ
  • 19.