SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
คุณสมบัติของพื้น
พื้นโครงสร้างไม้
ข้อดี คือ น้าหนักเบา ติดตั้งได้สะดวก รวดเร็ว เป็น งานแห้ง ไม่เลอะเทอะ
ข้อเสีย คือ รับน้าหนักไม่ได้มาก มีเสียงดัง กัน น้าไม่ได้ และในปัจจุบันไม้ที่ดีหายาก
และราคาค่อนข้างแพง
พื้นโครงสร้างคอนกรีต
ข้อดี คือ มีความแข็งแรง สามารถรับน้าหนักได้ดี กันน้าได้เหมาะสาหรับทาห้องน้า หรือชั้นดาดฟ้า
วัสดุที่ใช้ปูผิวมีให้เลือกมาก เช่น ปาร์เก้กระเบื้องเคลือบ หินอ่อน แกรนิต
ข้อเสีย คือ เป็นงานเปียก เลอะเทอะง่าย ค่อนข้างยุ่งยากในการก่อสร้าง ต้องใช้ช่างที่มีประสบการณ์
ใช้เวลานานจึงจะใช้งานได้ต้องมีระยะเวลาบ่มคอนกรีต มีน้าหนักมาก
พื้นสาเร็จรูป
พื้นสาเร็จรูป คือ แผ่นพื้นคอนกรีตที่หล่อมาจากโรง งานแล้วมาวางตามสถานที่ก่อสร้างได้เลย
หลังจากนั้นก็วาง เหล็กเสริมด้านบน โดยมีเหล็กยื่นเข้าไปในคานด้วย แล้วจึง
เทปูนทับหน้าอีกทีหนึ่งหนาประมาณ 5 ซม.
ข้อดี คือ สามารถก่อสร้างได้สะดวก รวดเร็ว แต่ห้ามใช้ในพื้นที่ที่โดนน้า เช่นห้องน้า
ระเบียงชั้นดาดฟ้า ควรใช้พื้นที่หล่อกับที่
ข้อควรระวัง การออกแบบโครงสร้างที่รับพื้นสาเร็จ รูปกับพื้นหล่อกับที่ต่างกัน ห้ามเปลี่ยนแปลงเอง
นอกจากจะแจ้งให้วิศวกรแก้ไขปรับปรุงโครงสร้างให้ก่อน
ชนิดของพื้น
พื้นไม้
- พื้นไม้เป็นส่วนที่รับน้าหนัก จากพื้นลงสู่โครงสร้างพื้นซึ่งได้แก่ ตง คาน และเสาตามลาดับ
ขนาดพื้นไม้ที่นิยมใช้คือ 1”x4” หรือ 1”x6” การวางแผ่นพื้นจะวางตั้งฉากกับแนวตง
พื้นเหล็ก
- การใช้พื้นเหล็กแผ่นเป็นพื้นอาคารส่วนใหญ่จะใช้แผ่นเหล็กที่มีรูปลอนเพื่อนเพิ่มความแข็งแรง
และมักจะเทคอนกรีตทับหน้าเพื่อป้องกันไฟแฟ่แผ่นเหล็ก
การใช้เหล็กแผ่นเป็นพื้นอาคารสามารถทาได้ใน 3 ลักษณะ คือ
1. Form decking
2. Composite decking
3. Cellular decking
พื้นคอนกรีต
- พื้นคอนกรีตต่างจากพื้นไม้ คือ การถ่ายน้าหนักจากพื้นจะลงสู่คาน (ถ้ามี) ตามลาดับ
พื้นคอนกรีตสามารถแบ่งหยาบๆ ได้ 2 ลักษณะ คือ
1. Slab ongrade
2. Slab onbeam
- พื้นคอนกรีตมีหลายลักษณะแบ่งตามการถ่ายน้าหนัก ได้ดังนี้
1. One-way slab
2. One-way flat slab with beam
3. One-way concrete joist system (ribbed slab)
4. Two-way slab
5. Two-way concrete joist system (waffle slab)
6. Two-way flat plate
7. Two-way flat slab
- พื้นคอนกรีตเสริมเหล็กสามารถทาได้ 2ลักษณะใหญ่ๆ คือ
1. Cast-in place (site cast) คือ พื้นคอนกรีตหล่อกับที่ ได้แก่slab ongrade และ slab on beam
2. Pre-cast (prestressed, prefabricated) คือ พื้นคอนกรีตหล่อสาเร็จ มีความยาวตั้งแต่ 2.50 ม.
จนถึง 12.00 ม. ให้เลือกใช้ตามการใช้สอยพื้นที่อาคาร การผลิตจะผลิตใน 2 ลักษณะ ได้แก่
2.1 Pre-tensioning
Post-tensioning
-พื้นคอนกรีตหล่อสาเร็จมี 6 ลักษณะใหญ่ๆ คือ
1. Solid flat slab
2. Hollow core slab
3. Double tee
4. Single tee
5. Composite floor
6. ตัวยูคว่า
วิธีการก่อสร้าง
1.ขั้นตอนการก่อสร้างพื้นวางบนดิน
1.1 การเตรียมพื้นที่สาหรับวางเหล็กเสริม ส่วนที่เป็นที่ต่า เช่น แอ่ง ท้องร่อง บริเวณที่เป็นหลุมเป็นบ่อ
ต้องถมและทาการบดอัดให้แน่น หากพื้นคอนกรีตขวางทางน้าไหล
ต้องการทาทางระบายน้าออกก่อนบดอัดดิน โดยการบดอัดดินต้องได้อัดแน่นตามแบบก่อสร้างระบุ
1.2 สาหรับพื้นอาคารที่มีเสาอาคาร ควรทาแบบหล่อกั้นแยกรอยต่อระหว่างเสากับพื้น
เพื่อป้องกันการแตกร้าวของพื้น จากการทรุดตัว พร้อมทั้งทาระดับให้ได้ตามแบบก่อสร้าง รอยต่อของพื้น
มีดังนี้
Contraction joint มีไว้เพื่อให้เกิดการเคลื่อนตัวของคอนกรีต เนื่องจากคอนกรีตเกิดการหดตัวแบบแห้ง
จากการที่น้าในคอนกรีตระเหยไปในอากาศ การหดตัวนี้ทาให้เกิดการแตกร้าวของคอนกรีตได้ การทา
Contraction joint เป็นการบังคับให้การแตกร้าว เกิดในตาแหน่งที่กาหนด โดยทั่วไป ควรทา contraction
joint ที่ระยะห่างทุกๆ 24-35 เท่าของความหน้าแผ่นพื้น และแบ่งพื้นเป็นสี่เหลี่ยมชิ้นเล็ก ๆ โดยให้อัตราส่วน
ด้านยาวต่อด้านสั้น ไม่เกิน 1.5:1.0 ถ้าเป็นไปได้ ควรกาหนดเป็นสี่เหลี่ยมจัตุรัส
Isolation joint เป็นรอยต่อที่ทาขึ้น เพื่อให้โครงสร้างคอนกรีตส่วนแนวดิ่ง เช่น เสาผนัง
สามารถเลื่อนตัวอย่างอิสระจาก โครงสร้างคอนกรีตในแนวราบ เช่น พื้น เพื่อไม่ให้เกิดการยึดรั้ง
อันเป็นสาเหตุให้เกิดการแตกร้าวของโครงสร้างในระยะยาว
1.3 คั่นแผ่นพื้นด้วยวัสดุประเภทโฟมให้แยกออกจากผนังหรือคานประมาณ 1.5 - 2.5 ซม.
และควรปรับระดับให้ลาดเอียงเล็กน้อยลงไปบริเวณประตูทางเข้า เพื่อระบายน้าฝน
หรือน้าจากการทาความสะอาด
1.4 การวางเหล็กไม่ควรวางบนดิน ควรใช้แผ่นพลาสติกปูรองพื้นก่อนเพื่อป้องกันดินด้านล่างดูดน้าปูน
และป้องกันความชื้นจากพื้นดินซึมผ่านแผ่นพื้นคอนกรีตขึ้นมา
1.5 จัดวางเหล็กเสริมให้ได้ขนาด ตาแหน่ง และระยะถูกต้องตามแบบก่อสร้าง
วางเหล็กเสริมด้านบนเพื่อป้องกันการแตกร้าวที่ผิวของคอนกรีต
1.6 ติดตั้งแบบหล่อด้านข้างพื้น โดยเคลือบผิวแบบหล่อด้วยน้ามัน หรือน้ายาเคลือบแบบหล่อ
เพื่อให้สามารถถอดแบบได้ง่าย รวมทั้งการทาความสะอาดแบบหล่อก่อนการเทคอนกรีต
1.7
เทคอนกรีตโดยเริ่มต้นจากมุมด้านในออกมาสู่ด้านนอกแบ่งการเทคอนกรีตทีละส่วนสลับกับการปาดแต่งเนื้
อคอนกรีตให้เสมอกันและได้ระดับที่ต้องการ
1.8 ใช้เครื่องสั่นคอนกรีตช่วยทาให้เนื้อคอนกรีตแน่น พร้อมทั้งปาดแต่งผิวหน้าให้เรียบสวยงาม
1.9 ทาการบ่มคอนกรีตต่อเนื่องอย่างน้อย 7 วันเพื่อให้คอนกรีตสามารถพัฒนากาลังได้เต็มที่
2.
พื้นคอนกรีตเสริมเหล็กหล่อในที่
สามารถก่อสร้างได้ 2 ลักษณะคือ การก่อสร้างพื้นร่วมกับคาน หรือการก่อสร้างพื้นหลังการเทคานแล้วเสร็จ
2.1 การก่อสร้างพื้นหล่อในที่ มีขั้นตอนดังนี้
2.1.1 ตรวจสอบระดับหลังคาน ระดับท้องพื้นให้ถูกต้องตามแบบก่อสร้าง
2.1.2 การติดตั้งนั่งร้านเพื่อก่อสร้างพื้นอาจทาไปพร้อมกับท้องคาน
หรืออาจก่อสร้างคานแล้วเสร็จก่อนแล้วค่อยติดตั้งท้องพื้น โดยมีค้ายันที่เพียงพอ แข็งแรง
สามารถรับน้าหนักของคอนกรีต ไม้แบบ และน้าหนักจรของคนงานขณะปฏิบัติงานได้
2.1.3 จัดวางเหล็กเสริมคาน พื้น ให้ได้ขนาด ตาแหน่ง และระยะถูกต้องตามแบบก่อสร้าง
2.1.4 ทาการเข้าแบบคานและพื้น พร้อมทั้งค้ายันแบบหล่อให้แข็งแรงสามารถรับแรงดันคอนกรีตได้
และหาระดับการเทคอนกรีต
2.1.5 ตรวจสอบแบบหล่อว่ามีรอยรั่วหรือเข้าแบบสนิทหรือไม่ ถ้าติดตั้งแบบหล่อสนิทแล้ว
ทาความสะอาดแบบหล่อ
และฉีดน้าหรือราดน้าปูนก่อนเทคอนกรีตเพื่อป้องกันไม่ให้ไม้แบบดูดน้าจากคอนกรีต
2.1.6 เทคอนกรีตและใช้เครื่องสั่นคอนกรีตทาให้คอนกรีตแน่นตัว
พร้อมทั้งเก็บตัวอย่างคอนกรีตเพื่อนาไปทดสอบหากาลังอัด
2.1.7 เมื่อคอนกรีตแข็งตัวแล้ว ประมาณ 1-2วัน ถอดแบบด้านข้าง
และทาการบ่มคอนกรีตส่วนค้ายันทิ้งไว้อีก 14 วันแล้วจึงถอดออก
การก่อสร้างพื้นพร้อมคานจะช่วยเพิ่มความสามารถในการับน้าหนักบรรทุกของคานได้
เพราะพฤติกรรมของคานจะเปลี่ยนจากรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าไปเป็นรูปตัวที หรือตัวไอ
2.2 การก่อสร้างพื้นสาเร็จรูป มีขั้นตอนดังนี้
2.2.1 คานจะต้องมีแนว (Alignment) ที่ถูกต้อง ค่าความคลาดเคลื่อนไม่น้อยกว่า ±2
ซม.และคานจะต้องมีระดับ (Level) หลังคานที่ถูกต้องและราบเรียบ
2.2.2
ในกรณีที่แผ่นพื้นมีความยาวและน้าหนักมากแล้วควรจะมีค้ายันแผ่นพื้นเพื่อไม่ให้เกิดการโก่งตัวขณะติดตั้ง
และเทคอนกรีต การวางแผ่นพื้นสาเร็จที่มีความยาวเกินกว่า 2.00 เมตร ควรมีไม้ค้ายันชั่วคราวอย่างน้อย 1
จุด

More Related Content

What's hot

แบบสอบถามละครเวที
แบบสอบถามละครเวทีแบบสอบถามละครเวที
แบบสอบถามละครเวทีPhattira Klinlakhar
 
โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง
โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง
โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง Bunnaruenee
 
จอห์น บี วัตสัน
จอห์น บี วัตสันจอห์น บี วัตสัน
จอห์น บี วัตสันping1393
 
ใบความรู้ แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง ดิน น้ำ อากาศ บ้านเรา ป.2+...
ใบความรู้  แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง ดิน น้ำ อากาศ บ้านเรา  ป.2+...ใบความรู้  แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง ดิน น้ำ อากาศ บ้านเรา  ป.2+...
ใบความรู้ แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง ดิน น้ำ อากาศ บ้านเรา ป.2+...Prachoom Rangkasikorn
 
ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1 วิชาสุขศึกษา 5
ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1  วิชาสุขศึกษา  5ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1  วิชาสุขศึกษา  5
ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1 วิชาสุขศึกษา 5Tikaben Phutako
 
mind map สถิติศาสตร์.pdf
mind map สถิติศาสตร์.pdfmind map สถิติศาสตร์.pdf
mind map สถิติศาสตร์.pdfssuser3892ca
 
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560krulef1805
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นAon Narinchoti
 
6. ข้อสอบ o net การงานฯ (มัธยมต้น)
6. ข้อสอบ o net การงานฯ (มัธยมต้น)6. ข้อสอบ o net การงานฯ (มัธยมต้น)
6. ข้อสอบ o net การงานฯ (มัธยมต้น)Kruthai Kidsdee
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมีKhwan Jomkhwan
 
บทที่ 3 อนุกรมอนันต์
บทที่ 3 อนุกรมอนันต์บทที่ 3 อนุกรมอนันต์
บทที่ 3 อนุกรมอนันต์eakbordin
 
เฉลยแบบฝึกหัดคณิต ม.1ภาคเรียนที่ 2
เฉลยแบบฝึกหัดคณิต ม.1ภาคเรียนที่ 2เฉลยแบบฝึกหัดคณิต ม.1ภาคเรียนที่ 2
เฉลยแบบฝึกหัดคณิต ม.1ภาคเรียนที่ 2kanjana2536
 
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์Aey Usanee
 
การคำนวณกระจกเว้า
การคำนวณกระจกเว้าการคำนวณกระจกเว้า
การคำนวณกระจกเว้าsripai52
 

What's hot (20)

ชุดการสอนที่ 8 ฟีโรโมน
ชุดการสอนที่ 8 ฟีโรโมนชุดการสอนที่ 8 ฟีโรโมน
ชุดการสอนที่ 8 ฟีโรโมน
 
สรุปสูตรตรีโกณมิติ
สรุปสูตรตรีโกณมิติสรุปสูตรตรีโกณมิติ
สรุปสูตรตรีโกณมิติ
 
แบบสอบถามละครเวที
แบบสอบถามละครเวทีแบบสอบถามละครเวที
แบบสอบถามละครเวที
 
โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง
โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง
โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง
 
จอห์น บี วัตสัน
จอห์น บี วัตสันจอห์น บี วัตสัน
จอห์น บี วัตสัน
 
พละ ม.1
พละ ม.1พละ ม.1
พละ ม.1
 
Function
FunctionFunction
Function
 
ใบความรู้ แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง ดิน น้ำ อากาศ บ้านเรา ป.2+...
ใบความรู้  แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง ดิน น้ำ อากาศ บ้านเรา  ป.2+...ใบความรู้  แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง ดิน น้ำ อากาศ บ้านเรา  ป.2+...
ใบความรู้ แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง ดิน น้ำ อากาศ บ้านเรา ป.2+...
 
ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1 วิชาสุขศึกษา 5
ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1  วิชาสุขศึกษา  5ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1  วิชาสุขศึกษา  5
ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1 วิชาสุขศึกษา 5
 
mind map สถิติศาสตร์.pdf
mind map สถิติศาสตร์.pdfmind map สถิติศาสตร์.pdf
mind map สถิติศาสตร์.pdf
 
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
 
ศักราช
ศักราชศักราช
ศักราช
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็น
 
6. ข้อสอบ o net การงานฯ (มัธยมต้น)
6. ข้อสอบ o net การงานฯ (มัธยมต้น)6. ข้อสอบ o net การงานฯ (มัธยมต้น)
6. ข้อสอบ o net การงานฯ (มัธยมต้น)
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
บทที่ 3 อนุกรมอนันต์
บทที่ 3 อนุกรมอนันต์บทที่ 3 อนุกรมอนันต์
บทที่ 3 อนุกรมอนันต์
 
31202 final
31202 final31202 final
31202 final
 
เฉลยแบบฝึกหัดคณิต ม.1ภาคเรียนที่ 2
เฉลยแบบฝึกหัดคณิต ม.1ภาคเรียนที่ 2เฉลยแบบฝึกหัดคณิต ม.1ภาคเรียนที่ 2
เฉลยแบบฝึกหัดคณิต ม.1ภาคเรียนที่ 2
 
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์
 
การคำนวณกระจกเว้า
การคำนวณกระจกเว้าการคำนวณกระจกเว้า
การคำนวณกระจกเว้า
 

คุณสมบัติของพื้น

  • 1. คุณสมบัติของพื้น พื้นโครงสร้างไม้ ข้อดี คือ น้าหนักเบา ติดตั้งได้สะดวก รวดเร็ว เป็น งานแห้ง ไม่เลอะเทอะ ข้อเสีย คือ รับน้าหนักไม่ได้มาก มีเสียงดัง กัน น้าไม่ได้ และในปัจจุบันไม้ที่ดีหายาก และราคาค่อนข้างแพง พื้นโครงสร้างคอนกรีต ข้อดี คือ มีความแข็งแรง สามารถรับน้าหนักได้ดี กันน้าได้เหมาะสาหรับทาห้องน้า หรือชั้นดาดฟ้า วัสดุที่ใช้ปูผิวมีให้เลือกมาก เช่น ปาร์เก้กระเบื้องเคลือบ หินอ่อน แกรนิต ข้อเสีย คือ เป็นงานเปียก เลอะเทอะง่าย ค่อนข้างยุ่งยากในการก่อสร้าง ต้องใช้ช่างที่มีประสบการณ์ ใช้เวลานานจึงจะใช้งานได้ต้องมีระยะเวลาบ่มคอนกรีต มีน้าหนักมาก พื้นสาเร็จรูป พื้นสาเร็จรูป คือ แผ่นพื้นคอนกรีตที่หล่อมาจากโรง งานแล้วมาวางตามสถานที่ก่อสร้างได้เลย หลังจากนั้นก็วาง เหล็กเสริมด้านบน โดยมีเหล็กยื่นเข้าไปในคานด้วย แล้วจึง เทปูนทับหน้าอีกทีหนึ่งหนาประมาณ 5 ซม. ข้อดี คือ สามารถก่อสร้างได้สะดวก รวดเร็ว แต่ห้ามใช้ในพื้นที่ที่โดนน้า เช่นห้องน้า ระเบียงชั้นดาดฟ้า ควรใช้พื้นที่หล่อกับที่ ข้อควรระวัง การออกแบบโครงสร้างที่รับพื้นสาเร็จ รูปกับพื้นหล่อกับที่ต่างกัน ห้ามเปลี่ยนแปลงเอง นอกจากจะแจ้งให้วิศวกรแก้ไขปรับปรุงโครงสร้างให้ก่อน ชนิดของพื้น พื้นไม้
  • 2. - พื้นไม้เป็นส่วนที่รับน้าหนัก จากพื้นลงสู่โครงสร้างพื้นซึ่งได้แก่ ตง คาน และเสาตามลาดับ ขนาดพื้นไม้ที่นิยมใช้คือ 1”x4” หรือ 1”x6” การวางแผ่นพื้นจะวางตั้งฉากกับแนวตง พื้นเหล็ก - การใช้พื้นเหล็กแผ่นเป็นพื้นอาคารส่วนใหญ่จะใช้แผ่นเหล็กที่มีรูปลอนเพื่อนเพิ่มความแข็งแรง และมักจะเทคอนกรีตทับหน้าเพื่อป้องกันไฟแฟ่แผ่นเหล็ก การใช้เหล็กแผ่นเป็นพื้นอาคารสามารถทาได้ใน 3 ลักษณะ คือ 1. Form decking 2. Composite decking 3. Cellular decking พื้นคอนกรีต - พื้นคอนกรีตต่างจากพื้นไม้ คือ การถ่ายน้าหนักจากพื้นจะลงสู่คาน (ถ้ามี) ตามลาดับ พื้นคอนกรีตสามารถแบ่งหยาบๆ ได้ 2 ลักษณะ คือ 1. Slab ongrade 2. Slab onbeam - พื้นคอนกรีตมีหลายลักษณะแบ่งตามการถ่ายน้าหนัก ได้ดังนี้ 1. One-way slab 2. One-way flat slab with beam 3. One-way concrete joist system (ribbed slab) 4. Two-way slab 5. Two-way concrete joist system (waffle slab) 6. Two-way flat plate 7. Two-way flat slab - พื้นคอนกรีตเสริมเหล็กสามารถทาได้ 2ลักษณะใหญ่ๆ คือ 1. Cast-in place (site cast) คือ พื้นคอนกรีตหล่อกับที่ ได้แก่slab ongrade และ slab on beam 2. Pre-cast (prestressed, prefabricated) คือ พื้นคอนกรีตหล่อสาเร็จ มีความยาวตั้งแต่ 2.50 ม. จนถึง 12.00 ม. ให้เลือกใช้ตามการใช้สอยพื้นที่อาคาร การผลิตจะผลิตใน 2 ลักษณะ ได้แก่
  • 3. 2.1 Pre-tensioning Post-tensioning -พื้นคอนกรีตหล่อสาเร็จมี 6 ลักษณะใหญ่ๆ คือ 1. Solid flat slab 2. Hollow core slab 3. Double tee 4. Single tee 5. Composite floor 6. ตัวยูคว่า วิธีการก่อสร้าง 1.ขั้นตอนการก่อสร้างพื้นวางบนดิน 1.1 การเตรียมพื้นที่สาหรับวางเหล็กเสริม ส่วนที่เป็นที่ต่า เช่น แอ่ง ท้องร่อง บริเวณที่เป็นหลุมเป็นบ่อ ต้องถมและทาการบดอัดให้แน่น หากพื้นคอนกรีตขวางทางน้าไหล ต้องการทาทางระบายน้าออกก่อนบดอัดดิน โดยการบดอัดดินต้องได้อัดแน่นตามแบบก่อสร้างระบุ 1.2 สาหรับพื้นอาคารที่มีเสาอาคาร ควรทาแบบหล่อกั้นแยกรอยต่อระหว่างเสากับพื้น เพื่อป้องกันการแตกร้าวของพื้น จากการทรุดตัว พร้อมทั้งทาระดับให้ได้ตามแบบก่อสร้าง รอยต่อของพื้น มีดังนี้ Contraction joint มีไว้เพื่อให้เกิดการเคลื่อนตัวของคอนกรีต เนื่องจากคอนกรีตเกิดการหดตัวแบบแห้ง จากการที่น้าในคอนกรีตระเหยไปในอากาศ การหดตัวนี้ทาให้เกิดการแตกร้าวของคอนกรีตได้ การทา Contraction joint เป็นการบังคับให้การแตกร้าว เกิดในตาแหน่งที่กาหนด โดยทั่วไป ควรทา contraction joint ที่ระยะห่างทุกๆ 24-35 เท่าของความหน้าแผ่นพื้น และแบ่งพื้นเป็นสี่เหลี่ยมชิ้นเล็ก ๆ โดยให้อัตราส่วน ด้านยาวต่อด้านสั้น ไม่เกิน 1.5:1.0 ถ้าเป็นไปได้ ควรกาหนดเป็นสี่เหลี่ยมจัตุรัส Isolation joint เป็นรอยต่อที่ทาขึ้น เพื่อให้โครงสร้างคอนกรีตส่วนแนวดิ่ง เช่น เสาผนัง สามารถเลื่อนตัวอย่างอิสระจาก โครงสร้างคอนกรีตในแนวราบ เช่น พื้น เพื่อไม่ให้เกิดการยึดรั้ง อันเป็นสาเหตุให้เกิดการแตกร้าวของโครงสร้างในระยะยาว
  • 4. 1.3 คั่นแผ่นพื้นด้วยวัสดุประเภทโฟมให้แยกออกจากผนังหรือคานประมาณ 1.5 - 2.5 ซม. และควรปรับระดับให้ลาดเอียงเล็กน้อยลงไปบริเวณประตูทางเข้า เพื่อระบายน้าฝน หรือน้าจากการทาความสะอาด 1.4 การวางเหล็กไม่ควรวางบนดิน ควรใช้แผ่นพลาสติกปูรองพื้นก่อนเพื่อป้องกันดินด้านล่างดูดน้าปูน และป้องกันความชื้นจากพื้นดินซึมผ่านแผ่นพื้นคอนกรีตขึ้นมา 1.5 จัดวางเหล็กเสริมให้ได้ขนาด ตาแหน่ง และระยะถูกต้องตามแบบก่อสร้าง วางเหล็กเสริมด้านบนเพื่อป้องกันการแตกร้าวที่ผิวของคอนกรีต 1.6 ติดตั้งแบบหล่อด้านข้างพื้น โดยเคลือบผิวแบบหล่อด้วยน้ามัน หรือน้ายาเคลือบแบบหล่อ เพื่อให้สามารถถอดแบบได้ง่าย รวมทั้งการทาความสะอาดแบบหล่อก่อนการเทคอนกรีต 1.7 เทคอนกรีตโดยเริ่มต้นจากมุมด้านในออกมาสู่ด้านนอกแบ่งการเทคอนกรีตทีละส่วนสลับกับการปาดแต่งเนื้ อคอนกรีตให้เสมอกันและได้ระดับที่ต้องการ 1.8 ใช้เครื่องสั่นคอนกรีตช่วยทาให้เนื้อคอนกรีตแน่น พร้อมทั้งปาดแต่งผิวหน้าให้เรียบสวยงาม 1.9 ทาการบ่มคอนกรีตต่อเนื่องอย่างน้อย 7 วันเพื่อให้คอนกรีตสามารถพัฒนากาลังได้เต็มที่
  • 5. 2. พื้นคอนกรีตเสริมเหล็กหล่อในที่ สามารถก่อสร้างได้ 2 ลักษณะคือ การก่อสร้างพื้นร่วมกับคาน หรือการก่อสร้างพื้นหลังการเทคานแล้วเสร็จ 2.1 การก่อสร้างพื้นหล่อในที่ มีขั้นตอนดังนี้ 2.1.1 ตรวจสอบระดับหลังคาน ระดับท้องพื้นให้ถูกต้องตามแบบก่อสร้าง 2.1.2 การติดตั้งนั่งร้านเพื่อก่อสร้างพื้นอาจทาไปพร้อมกับท้องคาน หรืออาจก่อสร้างคานแล้วเสร็จก่อนแล้วค่อยติดตั้งท้องพื้น โดยมีค้ายันที่เพียงพอ แข็งแรง สามารถรับน้าหนักของคอนกรีต ไม้แบบ และน้าหนักจรของคนงานขณะปฏิบัติงานได้ 2.1.3 จัดวางเหล็กเสริมคาน พื้น ให้ได้ขนาด ตาแหน่ง และระยะถูกต้องตามแบบก่อสร้าง 2.1.4 ทาการเข้าแบบคานและพื้น พร้อมทั้งค้ายันแบบหล่อให้แข็งแรงสามารถรับแรงดันคอนกรีตได้ และหาระดับการเทคอนกรีต 2.1.5 ตรวจสอบแบบหล่อว่ามีรอยรั่วหรือเข้าแบบสนิทหรือไม่ ถ้าติดตั้งแบบหล่อสนิทแล้ว ทาความสะอาดแบบหล่อ และฉีดน้าหรือราดน้าปูนก่อนเทคอนกรีตเพื่อป้องกันไม่ให้ไม้แบบดูดน้าจากคอนกรีต 2.1.6 เทคอนกรีตและใช้เครื่องสั่นคอนกรีตทาให้คอนกรีตแน่นตัว พร้อมทั้งเก็บตัวอย่างคอนกรีตเพื่อนาไปทดสอบหากาลังอัด 2.1.7 เมื่อคอนกรีตแข็งตัวแล้ว ประมาณ 1-2วัน ถอดแบบด้านข้าง และทาการบ่มคอนกรีตส่วนค้ายันทิ้งไว้อีก 14 วันแล้วจึงถอดออก การก่อสร้างพื้นพร้อมคานจะช่วยเพิ่มความสามารถในการับน้าหนักบรรทุกของคานได้ เพราะพฤติกรรมของคานจะเปลี่ยนจากรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าไปเป็นรูปตัวที หรือตัวไอ
  • 6. 2.2 การก่อสร้างพื้นสาเร็จรูป มีขั้นตอนดังนี้ 2.2.1 คานจะต้องมีแนว (Alignment) ที่ถูกต้อง ค่าความคลาดเคลื่อนไม่น้อยกว่า ±2 ซม.และคานจะต้องมีระดับ (Level) หลังคานที่ถูกต้องและราบเรียบ 2.2.2 ในกรณีที่แผ่นพื้นมีความยาวและน้าหนักมากแล้วควรจะมีค้ายันแผ่นพื้นเพื่อไม่ให้เกิดการโก่งตัวขณะติดตั้ง และเทคอนกรีต การวางแผ่นพื้นสาเร็จที่มีความยาวเกินกว่า 2.00 เมตร ควรมีไม้ค้ายันชั่วคราวอย่างน้อย 1 จุด