SlideShare a Scribd company logo
1 of 160
Download to read offline
การเข ้าถึงสารสนเทศ
1
โดย เนณุภา สุภเวชย์
กันยายน 2559
2
ในการสืบค้นข้อมูลเพื่อหาข้อมูลสาหรับ
การจัดทารายงานวิชาการนั้น
มีแหล่งข้อมูลที่สาคัญอยู่ 2 แหล่งคือ
ห้องสมุด และ อินเทอร์เน็ต
3
ห้องสมุด มีทรัพยากรมากมาย เช่น
หนังสือ วารสาร หนังสือพิมพ์
วิทยานิพนธ์ สื่อโสต ฯลฯ
4
นอกจากนี้ ห้องสมุด ยังจัดหา
ทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์มาให้บริการอีก
เช่น e-book e-journal ฯลฯ
5
แม้ทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์เหล่านี้
จะดูเหมือนเว็บไซต์ทั่วไป แต่เป็นฐานข้อมูล
สิ่งพิมพ์จากสานักพิมพ์หรือหน่วยงานอื่นๆ
ทรัพยากรเหล่านี้ เรียกว่า
ฐานข้อมูลออนไลน์ (Online Database)
OPAC
6
การสืบค้นทรัพยากรที่มีให้บริการในห้องสมุด
ทาได้โดยการสืบค้นฐานข้อมูลของห้องสมุด
ที่เรียกว่า
รายการออนไลน์ หรือ OPAC
(ออกเสียงว่า โอแพค)
OPAC
7
OPAC = Online Public Access Catalog
OPAC เป็น Library Catalog
OPAC เป็นคำที่มีควำมหมำยเชิงประวัติ
Library Catalog Online Catalog Online Public Access Catalog=OPAC
OPAC
8
OPAC vs Web OPAC
OPAC ในยุคแรกๆ เป็น Command-based
OPAC ยุคต่อมา เป็น Web จึงอาจเรียกเป็น Web OPAC
Online Public Access Catalog=OPAC Web OPAC
OPAC
Online Database
9
สาหรับการสืบค้นทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์
ที่ห้องสมุดจัดหามาให้บริการนั้น
ทาได้โดยการสืบค้น
ฐานข้อมูลออนไลน์ แต่ละฐานข้อมูล
OPAC
Online Database
10
คาว่า ฐานข้อมูลออนไลน์ เป็นคาเฉพาะ
ใช้สาหรับเรียกฐานข้อมูลสิ่งพิมพ์จากสานักพิมพ์
เป็นคาที่ใช้เรียกมานาน ตั้งแต่ 1970s
ฐานข้อมูลออนไลน์ จึงไม่ใช่ฐานข้อมูลทั่วไป
11
ปัจจุบัน Online Database มีทั้ง E-journal E-book Audio book
Reference book Thesis & Dissertation News Clip Citation database
12
มีทั้งที่เป็น Open Access แต่ส่วนมากจะเป็น Paid subscription ซึ่งผู้ที่สมัครและจัดหาให้ก็คือ
ห้องสมุดนั่นเอง จึงสงวนสิทธิ์การเข้าใช้สาหรับผู้ใช้ห้องสมุดหรืออาจารย์ นิสิต ที่สังกัดมหาวิทยาลัย
นั้นๆเท่านั้น หากเข้าถึงเว็บพวกนี้ไม่ถูกต้อง ก็จะไม่สามารถดู Full-text ได้
OPAC
Online Database
13
ทั้ง OPAC และฐานข้อมูลออนไลน์
สืบค้นได้จากเว็บไซต์ของห้องสมุด
OPAC
Online Database
(ให้เลือกฐานข้อมูลออนไลน์นั้นๆ)
14
OPAC+Online Database+ห้องสมุดทั่วโลก
OPAC ห้องสมุดอื่นๆในประเทศไทย
OPAC+Online Database
OPAC
Online Database
แต่ในปัจจุบัน เว็บไซต์ห้องสมุด
สามารถสืบค้นได้หลายอย่าง...
15
OPAC ห้องสมุดอื่นๆในประเทศไทย
OPAC+Online Database
OPAC
Online Database
ดังนั้น ต้องค้นให้ถูกช่อง...
OPAC+Online Database+ห้องสมุดทั่วโลก
16
http://www.car.chula.ac.th
OPAC
OPAC + Online Database
OPAC
Online Database
OPAC +
Online Database
Online Database
17
OPAC ห้องสมุดอื่นๆทั่วโลก
OPAC ห้องสมุดอื่นๆในประเทศไทย
http://www.car.chula.ac.th
OPAC Thailand
OPAC World Wide
Search Engine
18
ส่วนเครื่องมือสืบค้นเว็บไซต์นั้น
จริงๆแล้วมีหลำยประเภท
Google เริ่มในปี 1998
19
Metasearch tools Search engines Subject catalogues
และ directories
มีคุณค่าน้อย มีคุณค่ามาก
ผลการสืบค้นมาก ผลการสืบค้นน้อย
ในที่นี้จะเน้นการสืบค้น Search Engine นะจ๊ะ …
วิธีการสืบค ้น
20
OPAC
Online Database
Search Engine
21
การสืบค้น เป็นเรื่องของการจับคู่คาค้น
กับข้อมูลในฐานข้อมูล
OPAC
Online Database
Search Engine
22
เรามักจะป้อนคาค้น
และอาจจะคิดว่า คอมพิวเตอร์ หาให้เราหมด
OPAC
Online Database
Search Engine
23
culture
xxx
culture
xxxx xxx
xxx
cultures
xxxx xxx
xxx
cultured
xxxx xxx
xxx
cultural
xxxx xxx culturale
xxxx xxx
xxx xx
OPAC
Online Database
Search Engine
24
culture
xxx
culture
xxxx xxx
xxx
cultures
xxxx xxx
xxx
cultured
xxxx xxx
xxx
cultural
xxxx xxx culturale
xxxx xxx
xxx xx
แต่ในความเป็นจริง
ส่วนใหญ่แล้ว ค้นคาไหนได้คานั้น
OPAC
Online Database
Search Engine
25
วรรณกรรมเด็ก
xxx
วรรณกรรม
เด็ก xxxx
xxx
xxx
วรรณกรรม
เยาวชน
xxxx xxx
xxx xxxx
xxxx
xxxx xxx
xxx xxxx
xxxx
xxxx xxx xxxx xxxx
xxxx xxx
xxx xx
แต่ในความเป็นจริง
ส่วนใหญ่แล้ว ค้นคาไหนได้คานั้น
26
ผลก็คือ... ค้นคาไหน ได้คานั้น เท่านั้น
ไม่ถูก match
เครื่องหมำย Truncation
เครื่องหมำย Wildcard
*
?
27
การสืบค้นให้ครอบคลุมคาที่เกี่ยวข้อง ต้องใช้เครื่องหมาย * ? ช่วย
* 1 เครื่องหมาย ใช้แทนที่
อักขระได้หลายอักขระ
? 1 เครื่องหมาย ใช้แทนที่
อักขระได้ 1 อักขระ
28
ตัวอย่างเช่น
29
จะเห็นได้ว่าผลการสืบค้นมากขึ้น ครอบคลุมเรื่องที่เกี่ยวข้องมากขึ้น
30
แต่ไม่ต้องใช้ * และ ? กับ
Search Engine
(มีรายละเอียดในหัวข้อ Search Engine)
การสืบค้นเป็นเรื่องของการจับคู่
31
จับคู่คาค้น กับ คาที่ปรากฏในฐานข้อมูล
keyword
32
ผลก็คือ... ค้นคาไหน ได้คานั้น เท่านั้น
33
จานวนผลการสืบค้นไม่เท่ากัน = เป็นผลการสืบค้นคนละชุดกัน
34
การค้นด้วยคาค้นคาเดียว ได้ผลการสืบค้นมาก ไม่มีประสิทธิภาพ
ควรค้นด้วยคาค้นหลายคา ยิ่งใส่คาค้นมากผลการสืบค้นยิ่งน้อย และดีขึ้น
แต่การสืบค้นด้วยคาหลายคา
มีรูปแบบการจับคู่คาหลายแบบนะ
35
keyword
keyword
ดังนั้น ต้องบอกว่าจะเอาแบบไหน
หลักๆแล้วมี...
36
Boolean Vs. การสืบค้นเป็นวลี
คาค้นอยู่ติดกัน คาค้นต้องอยู่ติดกันเป็นวลี
หรือไม่ติดกันก็ได้
มี 3 เงื่อนไข
keyword
keyword
AND
OR
NOT
AND ใช้จำกัดผลกำรสืบค้นด้วยคำค้นเพิ่มเติม / เพิ่มเงื่อนไขกำรสืบค้น เช่น
วรรณกรรมเด็ก AND แปล
Child* AND Literature
Children AND Literature AND award
OR ใช้สืบค้นคำที่มีคำพ้อง หรือคำที่สะกดต่ำงกัน เช่น
วรรณกรรมเด็ก OR วรรณกรรมเยาวชน
Occupations OR jobs OR careers
Woman OR Women
Behavior OR Behaviour
NOT ใช้จำกัดผลกำรสืบค้นด้วยคำที่ไม่ต้องกำรให้ปรำกฏในผลกำรสืบค้น เช่น
กระท่อม NOT ยาเสพย์ติด
Khon NOT “Khon Kaen”
37
Boolean AND OR NOT
ดูเพิ่มเติมเรื่องการสืบค้นเป็นวลีในหน้าถัดไป
AND ต้องพบคาค้นที่ป้อนทุกคา
ยิ่ง AND มาก ผลการสืบค้นยิ่งน้อยลง
OR ต้องพบคาค้นที่ป้อน
คาใดคาหนึ่งหรือทุกคาก็ได้
ยิ่ง OR มาก ผลการสืบค้นยิ่งมากขึ้น
NOT ต้องไม่พบคาค้นที่ป้อนคานั้น
ใช้ NOT เมื่อต้องการกาจัด
รายการที่มีคาค้นคานั้นอยู่ออกไป
ผลการสืบค้นจึงน้อยลง
38
การสืบค้นเป็นวลี คล้ายการสืบค้นด้วย AND แต่เป็นการจากัดผลการ
สืบค้นเพิ่มขึ้น คือกาหนดให้พบคาที่ใช้ค้นอยู่ติดกันเป็นวลี
Digital OR Electronic AND Library
Digital OR Virtual AND Librar*
Academic OR College AND Writing
Occupations OR jobs OR careers AND thai*
Cure AND AIDS OR “Acquired immune deficiency syndrome”
39
สามารถสืบค้นโดยใช้ Boolean ค้นเป็นวลี และใช้เครื่องหมาย * ร่วมกันได้
ตัวอย่างเช่น...
40
แต่ระบบสืบค้นแต่ละระบบ อาจมีลาดับการประมวลผล Boolean แตกต่างกัน
AND  OR  NOT
OR  AND  NOT
AND  OR  NOT
NOT OR AND
NOT ANDOR
อื่นๆ
ประมวลผลจาก Boolean
ซ ้ายไปขวา
Digital OR Electronic AND Library
Digital OR Virtual AND Librar*
Academic OR College AND Writing
Occupations OR jobs OR careers AND thai*
Cure AND (AIDS OR “Acquired immune deficiency syndrome”
41
(Digital OR Electronic)
(Digital OR Virtual)
(Academic OR College)
(Occupations OR jobs OR careers)
(AIDS OR “Acquired immune deficiency syndrome”)
ควรสืบค้นเป็น...
ดังนั้น ถ้าใช้ Boolean มากกว่า 1 เงื่อนไข ให้ใส่วงเล็บเพื่อควบคุมการ
ประมวลผล
42
ปัญหาใหม่…
43
Quick Search Search
Home Advanced Search
General keyword Search
Home Advanced Search
Home Advanced Search
ฐานข้อมูลโดยทั่วไป มักมีหน้า Basic Search/
Simple Search และ Advanced Search
แต่ไม่ว่าจะสืบค้นจากหน้าใด ค่าตั้งต้นในการ
สืบค้น คือสืบค้นคาค้นในทุกเขตข้อมูล
ตั้งค่าตั้งต้นไว้ที่ค้นทุกเขตข้อมูล
ไม่มี field ให้เลือก =
ค้นทุกเขตข้อมูล
44
ผลคือ
หากคาค้นปรากฏอยู่ในชื่อเรื่อง ไม่ว่าจะเป็น
คาค้นอยู่ติดกันเป็นวลี หรืออยู่ไม่ติดกัน ก็จะมี
ความเกี่ยวข้อง (Relevant) กับเรื่องที่ค้นหา
แต่ถ้าคาค้นไม่ปรากฏในชื่อเรื่องเลย อาจ
เกี่ยวข้องหรือไม่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่ค้นหาก็ได้...
Keywords ใน title - อยู่ติดกันเป็นวลี
Relevancy
Keywords ใน title - ไม่อยู่ติดกันเป็นวลี
Relevancy
ความเกี่ยวข้อง
ความเกี่ยวข้อง
Basic Research Skills
Keywords พบในเขตข้อมูลอื่น
คาค้นไม่อยู่ติดกันเป็นวลี
Keywords พบในเขตข้อมูลอื่น
คาค้นอยู่ติดกันเป็นวลี
Relevancy
Relevancy
ความเกี่ยวข้อง
ความเกี่ยวข้อง
47
Quick Search Search
Home Advanced Search
General keyword Search
Home Advanced Search
Home Advanced Search
การสืบค้นให้ได้ประสิทธิภาพดี จึงต้องสืบค้นโดย
เลือกเขตข้อมูลเช่น Title ซึ่งมักมีใน Advanced
Search เท่านั้น
48
แต่ในบางกรณีชื่อเรื่องใช้คาที่หลากหลาย หรือชื่อเรื่องไม่สื่อความหมาย
การค้นด้วยคาในเขตข้อมูลชื่อเรื่อง จะได้ข้อมูลไม่ครบถ้วน
49
จึงต้องมีเขตข้อมูลอีก 1 เขตข้อมูล คือ หัวเรื่อง หรือ Subject
50
หัวเรื่องคือ คา กลุ่มคา หรือวลี ที่กาหนดขึ้นใช้อย่างมีหลักเกณฑ์เพื่อใช้ระบุเนื้อหาเรื่องสาคัญของวัสดุห้องสมุด
อย่างสั้นๆ ทรัพยากร 1 รายการ อาจมีหลายหัวเรื่องได้ แล้วแต่เนื้อหาภายในรายการ เช่น
หัวเรื่อง หรือ Subject
51
Quick Search Search
Home Advanced Search
General keyword Search
Home Advanced Search
Home Advanced Search
การสืบค้นให้ได้ประสิทธิภาพดี จึงต้องสืบค้นโดย
เลือกเขตข้อมูลเช่น Title หรือ Subject ซึ่งมักมี
ใน Advanced Search เท่านั้น
ดังนั้น...
Title หรือ Subject
OPAC
52
OPAC Chula มีชื่อว่า Chulalinet
53
chulalinet
ฐานข้อมูล OPAC ของจุฬาฯเป็นฐานข้อมูล
สาหรับสืบค้นทรัพยากรในห้องสมุดทุกแห่งใน
จุฬาฯ หมายรวมถึง หอกลาง ห้องสมุดคณะ
และห้องสมุดอื่นๆ มีชื่อเรียกว่า CHULALINET
OPAC
54
ห้องสมุดโดยทั่วไป มักมีเว็บไซต์ห้องสมุด
และเว็บ OPAC แยกออกจากกัน
สังเกตได้จากชื่อ URL ที่ต่างกัน
ว่าด้วย...เว็บไซต์ของห้องสมุด...
55
http://library.car.chula.ac.thhttp://www.car.chula.ac.th http://library.car.chula.ac.th
56
http://library.car.chula.ac.thhttp://www.car.chula.ac.th http://library.car.chula.ac.th
แต่ไม่ว่าจะค้นจากที่ใด จะเป็นการสืบค้นฐานข้อมูล OPAC
การแสดงผล จึงแสดงผลที่ เว็บ OPAC
57
http://www.car.chula.ac.th http://library.car.chula.ac.th
58
แต่ก็แนะนาให้สืบค้นจากเว็บ OPAC มากกว่า
เนื่องจากมี search option มากกว่า
มีประสิทธิภาพมากกว่า
http://www.car.chula.ac.th http://library.car.chula.ac.th
59
สาหรับวิธีการสืบค้น OPAC นั้น...
60
Simple Search
Advanced Search
ลักษณะที่ 3 คาค้นปรากฏอยู่ใน
ตาแหน่งใดๆ ของเขตข้อมูลที่เลือก
ลักษณะที่ 1 คาค้นปรากฏอยู่ใน
ตาแหน่งใดๆ ของเขตข้อมูลใดๆก็ได้
ลักษณะที่ 2 คาค้นปรากฏอยู่ใน
ตาแหน่งแรก ของเขตข้อมูลที่เลือก
จริงๆแล้ว แม้มีหน้าสืบค้น 2 หน้า
แต่มีการค้นหาอยู่ 3 ลักษณะ...
61
ผลการสืบค้นที่ได้...
คาค้นปรากฏอยู่ในตาแหน่งใดๆของรายการก็ได้
เหมาะกับการเริ่มต้นสืบค้น เพราะค้นง่าย ได้ผลการสืบค้นมาก
แต่บางรายการอาจไม่เกี่ยวข้องได้ แต่ค้นคาไหนได้คานั้นเท่านั้น
ลักษณะที่ 1 คาค้นปรากฏอยู่ในตาแหน่งใดๆ ของเขตข้อมูลใดๆก็ได้
ผลการสืบค้นมาก แต่ค้นคาไหน
ได้คานั้นเท่านั้น
ยังไม่ได้ musics musical
62
คาค้นปรากฏอยู่ในตาแหน่งแรกของเขตข้อมูล
ชื่อเรื่องขึ้นต้นด้วย... เท่านั้น
ชื่อผู้แต่งขึ้นต้นด้วย... เท่านั้น
หัวเรื่องใหญ่ หรือหัวเรื่องย่อยขึ้นต้นด้วย ...
ดังนั้นชื่อเรื่องเช่น
Introduction to Music 
Thai Music 
ผลการสืบค้นที่ได้...
ลักษณะที่ 2 คาค้นปรากฏอยู่ในตาแหน่งแรก ของเขตข้อมูลที่เลือก
63
ผลการสืบค้นที่ได้...
คาค้นปรากฏอยู่ในตาแหน่งใดๆของเขตข้อมูลที่เลือก
มีประสิทธิภาพมาก แต่ค้นคาไหนได้คานั้น เท่านั้น
ลักษณะที่ 3 คาค้นปรากฏอยู่ในตาแหน่งใดๆ ของเขตข้อมูลที่เลือก
ผลการสืบค้นดีมาก แต่ค้นคาไหน ได้
คานั้นเท่านั้น
ยังไม่ได้ Thailand cultures cultural
64
อย่างนั้นแล้ว...จะสืบค้นแต่ละ
แบบให้มีประสิทธิภาพได้ยังไง...
65
***แต่ไม่ครอบคลุม music musical***
***แต่ไม่ครอบคลุม Thailand cultures cultural***
ค้นคาไหน ได้คานั้น เท่านั้น
ลักษณะที่ 3 คาค้นปรากฏอยู่ในตาแหน่งใดๆ ของเขตข้อมูลที่เลือก
ลักษณะที่ 1 คาค้นปรากฏอยู่ในตาแหน่งใดๆ ของเขตข้อมูลใดๆก็ได้
ผล
ผล
66
ดังนั้น ให้เติม *
ดังนั้น ให้เติม *
ผล
ผล
ลักษณะที่ 3 คาค้นปรากฏอยู่ในตาแหน่งใดๆ ของเขตข้อมูลที่เลือก
ลักษณะที่ 1 คาค้นปรากฏอยู่ในตาแหน่งใดๆ ของเขตข้อมูลใดๆก็ได้
67
นอกจากการค้นโดยใช้ * ? เพื่อให้ครอบคลุม
คาที่เกี่ยวข้องแล้ว
ควรสืบค้นโดยใช้ Boolean AND OR NOT
และการสืบค้นเป็นวลี
ลักษณะที่ 3 คาค้นปรากฏอยู่ในตาแหน่งใดๆ ของเขตข้อมูลที่เลือก
ลักษณะที่ 1 คาค้นปรากฏอยู่ในตาแหน่งใดๆ ของเขตข้อมูลใดๆก็ได้
68
ลักษณะที่ 1 คาค้นปรากฏอยู่ในตาแหน่งใดๆ ของเขตข้อมูลใดๆก็ได้ สืบค้นยังงี้*
AND
AND
OR
NOT
วลี
Boolean มากกว่า 1 เงื่อนไข
ให้ใส่วงเล็บด้วย
69
ลักษณะที่ 3 คาค้นปรากฏอยู่ในตาแหน่งใดๆ ของเขตข้อมูลที่เลือก สืบค้นยังงี้
Boolean มากกว่า 1 เงื่อนไข ให้ใส่
Boolean ชุดเดียวกันไว้ช่องเดียวกัน
วลี
*
AND
OR
NOT
AND
70
ส่วนการสืบค้นอีกแบบ...
71
วิธีสืบค้น
ให้ป้อนตั้งแต่คาแรกของชื่อเรื่อง หรือผู้แต่ง
ดังนั้น...
ไม่ให้สืบค้นโดยใช้ Boolean AND OR NOT
ไม่สามารถสืบค้นเป็นวลีได้
และไม่ต้องใช้ * ด้วยนะ
ลักษณะที่ 2 คาค้นปรากฏอยู่ในตาแหน่งแรก ของเขตข้อมูลที่เลือก
เหมาะกับการสืบค้น กรณีทราบชื่อเรื่อง หรือผู้แต่ง
72
คาค้นปรากฏอยู่ในตาแหน่งแรกของเขตข้อมูล
กรณีทราบชื่อเรื่อง
ให้พิมพ์ตั้งแต่คาแรกของชื่อเรื่อง
กรณีทราบชื่อผู้แต่ง
ผู้แต่งชาวไทย พิมพ์ ชื่อ-นามสกุล
ผู้แต่งชาวต่างประเทศ พิมพ์ นามสกุล, ชื่อตัว
ผู้แต่งอาจเป็น ชื่อหน่วยงาน หรือนามแฝงได้
สืบค้นจากคาทั่วไป
ในหัวเรื่อง
73
ไม่ต้องพิมพ์เต็มคาก็ได้
คาค้นปรากฏอยู่ในตาแหน่งแรกของเขตข้อมูล
ชื่อเรื่องขึ้นต้นด้วย... เท่านั้น
ไม่ต้องใช้ * นะ
74
ไม่ต้องพิมพ์เต็มคาก็ได้
ชื่อผู้แต่งขึ้นต้นด้วย... เท่านั้น
ไม่ต้องใช้ * นะ
คาค้นปรากฏอยู่ในตาแหน่งแรกของเขตข้อมูล
75

ชื่อผู้แต่งขึ้นต้นด้วย... เท่านั้น
ค้นจากชื่อผู้แต่งทีละคน
Author 1
Author 2
Author 1
Author 2


76

ค้นจากชื่อเรื่องตั้งแต่คาแรก
ชื่อเรื่องขึ้นต้นด้วย... เท่านั้น

 ไม่ควร
ใช้ Booleanไม่ได้ และไม่ควรค้นโดยใช้วลีเช่นกัน
77
ค้นแล้ว อาจปรับปรุงการสืบค้น
โดยจากัดที่สถานที่ ปีพิมพ์ ฯลฯ
จาก OPAC สู่การเข้าถึงทรัพยากร
78
79
OPAC เป็นฐานข้อมูลของทรัพยากรห้องสมุด
ซึ่งมีทรัพยากรหลากหลายประเภท เมื่อ
สืบค้นแล้วให้สังเกตประเภทของทรัพยากร
และบันทึกที่อยู่ของทรัพยากรตามที่ระบุใน
รายละเอียดของรายการ
80
ห้องสมุดอาจมีชั้นเดียวหรือหลายชั้น
ทรัพยากรถูกจัดเก็บในห้องสมุดตามประเภท
ของทรัพยากร ดังนั้น ต้องศึกษาว่า
ห้องสมุดจัดเก็บทรัพยากรประเภทนั้นไว้ที่ใด
จัดเก็บโดยแยกประเภทเป็น
นวนิยาย เรื่องสั้น
หนังสืออ้างอิง เช่น พจนานุกรม สารานุกรม หนังสือภาพ ฯลฯ
หนังสือทั่วไป
81
หนังสือ
จัดเก็บคนละแผนกกัน
หนังสือ มีการจัดเก็บแบ่งตามหมวดหมู่ ซึ่งห้องสมุด
อาจใช้ระบบจัดหมวดหมู่แตกต่างกันไปได้...
82
หนังสือ
ระบบทศนิยมดิวอี้
Dewey Decimal Classification - Dewey
ระบบหอสมุดรัฐสภำอเมริกัน
Library of Congress Classification - LC
ระบบหอสมุดแพทย์แห่งชำติอเมริกำ
National Library of Medicine Classification - NLM
83
โดยทั่วไป มีระบบการจัดหมวดหมู่ดังนี้
มักใช้ในห้องสมุดทั่วไป
มักใช้ในห้องสมุดเฉพาะ
มักใช้ในห้องสมุดแพทย์
ระบบทศนิยมดิวอี้
Dewey Decimal Classification - Dewey
ระบบหอสมุดรัฐสภำอเมริกัน
Library of Congress Classification - LC
84
ในที่นี้ ขออธิบาย 2 ระบบที่ใช้มากที่สุด
ใช้สัญลักษณ์ตัวเลขแทนหมวดหมู่ต่างๆ แบ่งหมวดโดย
ใช้เลข 000-900 และแบ่งหมวดย่อย จนถึงทศนิยม
ใช้สัญลักษณ์ตัวอักษรผสมตัวเลขแทนหมวดหมู่ต่างๆ
แบ่งหมวดโดยใช้อักษรโรมันตัวใหญ่ A-Z ยกเว้น 5
ตัวอักษร ( I , O, W , X และ Y) ผสมตัวเลข
และอาจมีทศนิยมได้
การแบ่งหมวดหมู่ระดับแรก
85
การแบ่งหมวดหมู่ระดับแรกของระบบทศนิยมดิวอี้ การแบ่งหมวดหมู่ระดับแรกของระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน
000 วิทยาการคอมพิวเตอร์ สารสนเทศ และงานทั่วไป
(Computer science, information & general works)
100 ปรัชญาและจิตวิทยา (Philosophy & psychology)
200 ศาสนา (Religion)
300 สังคมศาสตร์ (Social sciences)
400 ภาษา (Language)
500 วิทยาศาสตร์ (Science)
600 เทคโนโลยี (Technology)
700 ศิลปะและนันทนาการ (Arts & recreation)
800 วรรณคดี (Literature)
900 ประวัติศาสตร์และภูมิศาสตร์ (History & geography)
A ความรู้ทั่วไป (General works)
B ปรัชญา จิตวิทยา ศาสนา (Philosophy, psychology, religion)
C ศาสตร์ที่เกี่ยวข ้องกับประวัติศาสตร์ (Auxiliary sciences of history)
D ประวัติศาสตร์โลก ประวัติศาสตร์ยุโรป เอเชีย แอฟริกา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และประเทศอื่น
(World history and history of Europe, Asia, Africa, Australia, New Zealand, etc.)
E-F ประวัติศาสตร์อเมริกา (History of the Americas)
G ภูมิศาสตร์ มานุษยวิทยา นันทนาการ (Geography, anthropology, recreation)
H สังคมศาสตร์ (Social sciences)
J รัฐศาสตร์ (Political science)
K กฎหมาย (Law)
L การศึกษา (Education)
M ดนตรีและหนังสือเกี่ยวกับดนตรี (Music and books on music)
N ศิลปกรรม (Fine arts)
P ภาษาและวรรณคดี (Language and literature)
Q วิทยาศาสตร์ (Science)
R แพทยศาสตร์ (Medicine)
S เกษตรศาสตร์ (Agriculture)
T เทคโนโลยี (Technology)
U ยุทธศาสตร์ (Military science)
V นาวิกศาสตร์ (Naval science)
Z บรรณานุกรม บรรณารักษศาสตร์ ทรัพยากรสารสนเทศ (โดยทั่วไป)
(Bibliography, library science, information resources (General))
86
ตัวอย่างการแบ่งหมวดหมู่ของ
ระบบทศนิยมดิวอี้
ตัวอย่างการแบ่งหมวดหมู่ของ
ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน
87
แต่การแบ่งหมวดหมู่ยังไม่เพียงพอ เนื่องจากหนังสือหลายเล่มอาจมีเลขหมู่/
รหัสหมวดหมู่เดียวกัน เมื่อเรียงบนชั้นจึงอาจหายาก หนังสือแต่ละเล่มจึง
จัดเรียงบนชั้นตาม “เลขเรียกหนังสือ”
641.8 Cooking
88
เลขเรียกหนังสือ จะปรากฏที่สันหนังสือ และในฐานข้อมูล
89
เลขเรียกหนังสือ
90
ส่วนประกอบพื้นฐานของเลขเรียกหนังสือ
91
ส่วนประกอบอื่นๆกรณีมีหลาย edition อาจมีปีที่พิมพ์
กรณีมีหลายเล่ม จะมีฉบับที่ หรือ copy ระบุ
กรณีมีหลายเล่มจบ จะมีเล่มที่หรือ volume ระบุ
92
ดังนั้น เมื่อสืบค้นแล้ว ให้จดชื่อ
ห้องสมุดที่มีรายการที่ต้องการ พร้อม
เลขเรียกหนังสือ
93
การเรียงลาดับเลขเรียกหนังสือ
ระบบทศนิยมดิวอี้
ระบบหอสมุดรัฐสภำอเมริกัน
ให้เปรียบเทียบส่วนประกอบของเลขเรียกหนังสือที่ละส่วน
780.75
ก27ก
2559
D368
G613T
2000
780.759
ง157ป
2556
780.759
ศ92ก
2557
780.759
ศ927ก
2559
ฉ.1
780.759
ศ927ก
2559
ฉ.2
DT98
K63S
2011
DT568
M86S
2015
DT568
M863S
2016
c.1
DT568
M863S
2016
c.2
780.8
ข15ป
2556
780.759
ศ927ก
2555
DT568
A798D
2016
DT568
M863S
2014
DT568.S3
A463S
2016
780.7
ก27ก
2559
94
การเรียงลาดับเลขเรียกหนังสือ
ระบบทศนิยมดิวอี้
Dewey Decimal Classification - Dewey
ระบบหอสมุดรัฐสภำอเมริกัน
Library of Congress Classification - LC
แต่การลาดับตัวเลขในเลขหมู่/รหัสหมวดหมู่
ของทั้งสองระบบนั้นแตกต่างกัน...
95
780.9593
J25T
2016
c.2
PS3515.E37
H489M
2015
c.2
รหัสหมวดหมู่เรียงทีละหลักจากซ้ายไปขวา ตัวเลขหลังจุดทศนิยมก็เช่นกัน เช่น 778, 779, 780
780.1, 780.2, 780.9, 780.94, 780.95, 780.959, 780.9593, 780.96
รหัสหมวดหมู่เรียงตามลาดับตัวอักษร เช่น P, PA, PH, PS
ตัวอักษรหลังจุดทศนิยม เรียงตามลาดับตัวอักษร
ตัวเลขชุดถัดมาเรียงตามหลักทศนิยม คือเรียงทีละหลักจากซ้ายไปขวา เช่น 3, 31, 37, 4
ระบบทศนิยมดิวอี้
ระบบหอสมุดรัฐสภำอเมริกัน
มีเพียงส่วนนี้ของ LC เท่านั้น ที่เรียงแบบตัวเลข Numeric
ตัวเลขในส่วนอื่นๆของเลขเรียกหนังสือ เรียงแบบหลักทศนิยม
เรียงเลขประจาผู้แต่งทีละหลักจากซ้ายไปขวา เช่น 25 250 255 26 261
เรียงเลขประจาผู้แต่งทีละหลักจากซ้ายไปขวา เช่น 25 250 255 26 261
ตัวเลขชุดถัดมาเรียงตามหลักการเรียงเลข (Numeric) เช่น 2, 4, 10, 15, 100, 300, 3515
3515
Books shelving
Dewey Classification
96
909 A123B
915 A123B
92 A123B
939 A123B
940 A123B
947 A123B
951 A123B
973 A123B
999 A123B
909
A123B
915
A123B
92
A123B
939
A123B
710.1 A123B
710.10 A123B
710.101 A123B
710.1011 A123B
710.11 A123B
710.110 A123B
710.111 A123B
710.12 A123B
710.2 A123B
710.1
A123B
710.10
A123B
710.101
A123B
710.1011
A123B
710.101 A123B
710.101 B123B
710.101 C123B
710.101 D123B
710.101
A123B
710.101
B123B
710.101
C123B
710.101
D123B
710.101 A12 B
710.101 A123B
710.101 A13 B
710.101 A134B
710.101 A135B
710.101 A23 B
710.101 A234B
710.101 A34 B
710.101 A345B 710.101
A123B
710.101
B234B
710.101
C345B
710.101
D456B
710.101 A123A
710.101 A123B
710.101 A123C
710.101 A123D
710.101
A123A
710.101
A123B
710.101
A123C
710.101
A123D
710.101 A123A
710.101 A123A 2008
710.101 A123A 2010
710.101 A123A 2016
710.101
A123A
710.101
A123A
2008
710.101
A123A
2010
710.101
A123A
2016
710.101 A123A C.1
710.101 A123A C.2
710.101 A123A C.3
710.101 A123A C.4
710.101
A123A
C.1
710.101
A123A
C.2
710.101
A123A
C.3
710.101
A123A
C.4
710.101 A123A V.1
710.101 A123A V.2
710.101 A123A V.3
710.101 A123A V.4
710.101
A123A
V.1
710.101
A123A
V.2
710.101
A123A
V.3
710.101
A123A
V.4
710.101 A123A V.1 C.1
710.101 A123A V.1 C.2
710.101 A123A V.2 C.1
710.101 A123A V.2 C.2
710.101
A123A
V.1 C.1
710.101
A123A
V.1 C.2
710.101
A123A
V.2 C.1
710.101
A123A
V.2 C.2
Books shelving
Library of Congress Classification
106
Online Information Searching and Communication
เรียงแบบนับเลข (Numeric)
G70.4 L729R 2011
G128 D286G 2006
G156.5 E19 2012
GA9 C689Q 2011
GB55 M366L
GB1205 S345 2005
G156.5
E19
2012
GA9
C689Q
2011
GB55
M366L
GB1205
S345
2005
G70.4 L729R 2011
G128 D286G 2006
G156.5 E19 2012
G1105 A211A
G1545 A881
G70.4
L729R
2011
G128
D286G
2006
G156.5
E19 2012
G1105
A211A
QA76.8.A15
M38
QA76.83.M3
W5469
QA76.85
C66
2011
QA76.9.A23
G48
QA76.51 O53I 2007
QA76.6 A599 2002
QA76.73 J38P 2008
QA76.8.A15 M38
QA76.83.M3 W5469
QA76.85 C66 2011
QA76.9.A23 G48
QA76.8
.A1774
I58
QA76.8
.A66
A683
QA76.8
.B3
E39
2001
QA76.8
.B33
B37
2000
QA76.8.A15 M38
QA76.8.A153 A25
QA76.8.A177 A6553
QA76.8.A1774 I58
QA76.8.A66 A683
QA76.8.B3 E39 2001
QA76.8.B33 B37 2000
HM623 B255C
HM623 C951 2015
HM623 D962C
HM623 G449C 2007
HM623 H638P 2009
HM623 M174U
HM623 S884C
HM623
B255C
HM623
C951
2015
HM623
D962C
HM623
G449C
2007
HM623 G44C 2011
HM623 G449C 2007
HM623 G778R 2003
HM623 G878C 2010
HM623
G44C
2011
HM623
G449C
2007
HM623
G778R
2003
HM623
G878C
2010
HM101 ป171น
HM101 ป171นค 2536
HM101 ป171ย
HM101 ป171อ
HM101
ป171น
HM101
ป171นค
2536
HM101
ป171ย
HM101
ป171อ
แนวโน้มการเปลี่ยนแปลง
สังคมไทย
แนวคิดและยุทธศาสตร์
สังคมสมานุภาพและวิชชา
ยุทธศาสตร์ทางปัญญาของชาติ
:ยุทธศาสตร์ที่สาคัญที่สุดของ
สังคมทั้งหมดร่วมกัน
ประเวศวะสี
ประเวศวะสี
ประเวศวะสี
DS568
K63T
DS568
K63T
1998
DS568
K63T
2000
DS568
K63T
2002
DS568 K63T
DS568 K63T 1998
DS568 K63T 2000
DS568 K63T 2002
DS568 K63T 2002 c.1
DS568 K63T 2002 c.2
DS568 K63T 2002 c.3
DS568 K63T 2002 c.4
DS568
K63T
2002
C.1
DS568
K63T
2002
C.2
DS568
K63T
2002
C.3
DS568
K63T
2002
C.4
JQ1747 ส678 2558 ล.1
JQ1747 ส678 2558 ล.2
JQ1747 ส678 2558 ล.3
JQ1747 ส678 2558 ล.4
JQ1747
ส678
2558
ล.1
JQ1747
ส678
2558
ล.2
JQ1747
ส678
2558
ล.3
JQ1747
ส678
2558
ล.4
QD505 C357 V.1 C.1
QD505 C357 V.1 C.2
QD505 C357 V.2 C.1
QD505 C357 V.2 C.2
QD505
C357
V.1 C.1
QD505
C357
V.1 C.2
QD505
C357
V.2 C.1
QD505
C357
V.2 C.2
จัดเก็บโดยแยกประเภทเป็น
วารสารปัจจุบัน โดยแยกวารสารภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ
วารสารล่วงเวลา โดยแยกวารสารภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ
119
วำรสำร
เรียงตามชื่อวารสาร
120
ปีที่ 1 ฉบับที่ 1
ม.ค.-มิ.ย. 2556
ปีที่ 1 ฉบับที่ 2
ก.ค.-ธ.ค. 2556
ปีที่ 2 ฉบับที่ 1
ม.ค.-มิ.ย. 2557
ปีที่ 2 ฉบับที่ 2
ก.ค.-ธ.ค. 2557
ปีที่ 3 ฉบับที่ 1
ม.ค.-มิ.ย. 2558
ปีที่ 3 ฉบับที่ 2
ก.ค.-ธ.ค. 2558
วารสารเป็นสิ่งพิมพ์ที่
ออกต่อเนื่อง ดังนั้นจึงต้อง
ทราบปีที่ ฉบับที่ ของ
วารสารฉบับที่ต้องการด้วย
121
122
วารสาร
เรียงตามชื่อวารสาร
โดยแยกวารสารภาษาไทย
และภาษาต่างประเทศ
123
และแยกวารสารปัจจุบัน กับวารสารล่วงเวลาออกจากกัน
มักจัดเก็บไว้ใกล้กับวารสาร
124
หนังสือพิมพ์
จัดเก็บแยกออกจากหนังสือทั่วไป อาจจัดเรียงแยกตาม
สาขาวิชา แล้วเรียงตามชื่อผู้แต่ง หรือจัดเรียงในลักษณะอื่น
125
วิทยำนิพนธ์
ของหอกลาง เรียงตามรหัสนิสิต
ของคณะอักษรฯ เรียงตามสาขาวิชา
แล้วเรียงตามชื่อผู้แต่ง
มักจัดเก็บโดยแยกตามประเภทของสื่อโสต และจัดเรียง
ตามเลขทะเบียน เมื่อสืบค้นแล้ว ให้จดเลขทะเบียนด้วย
126
สื่อโสต
Online Database
127
128
ฐานข้อมูลออนไลน์ หรือ
Online Database เป็นฐานข้อมูล
ทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์
เช่น e-book e-journal ฯลฯ
129
มีทั้งที่เป็น Open Access แต่ส่วนมากจะเป็น Paid subscription ซึ่งผู้ที่สมัครและจัดหาให้ก็คือ
ห้องสมุดนั่นเอง จึงสงวนสิทธิ์การเข้าใช้สาหรับผู้ใช้ห้องสมุดหรืออาจารย์ นิสิต ที่สังกัดมหาวิทยาลัย
นั้นๆเท่านั้น หากเข้าถึงเว็บพวกนี้ไม่ถูกต้อง ก็จะไม่สามารถดู Full-text ได้
130
ดังนั้นก่อนเข้าใช้ ต้อง Log in
เข้าสู่เครือข่ายของมหาวิทยาลัยก่อน
131
สามารถดูรายชื่อฐานข้อมูลออนไลน์ได้จาก
เว็บไซต์ห้องสมุด
http://www.car.chula.ac.th http://www.car.chula.ac.th/curef
1 2
หรือพิมพ์ URL โดยตรง
132
สามารถดูรายชื่อฐานข้อมูลออนไลน์
ได้หลายมุมมอง
http://www.car.chula.ac.th/curef
หรือค้นหาจากชื่อฐานข้อมูลจากช่องนี้
ฐานข้อมูลออนไลน์มีหลายประเภท
1. ฐานข้อมูลเนื้อหาฉบับเต็ม (Full-Text Databases)
2. ฐานข้อมูลบรรณานุกรม (Bibliographic Databases)
3. ฐานข้อมูลการอ้างอิงผลงานวิจัย (Citation Database)
133
134
ฐานข้อมูลที่แนะนา
135
ฐานข้อมูลเหล่านี้ มักมีหน้า Basic Search/Simple Search
และหน้า Advanced Search
136
การสืบค้นหน้า Basic Search /
Simple Search ให้พิมพ์คาค้นโดยใช้
เครื่องหมาย Truncation ใช้ Boolean
ค้นหาเป็นวลี กรณีใช้ Boolean
มากกว่า 1 เงื่อนไข ให้ใส่เครื่องหมาย
วงเล็บเพื่อควบคุมการประมวลผล
ใช้ AND OR NOT
ตัวพิมพ์เล็กได้
137
การสืบค้นหน้า Advanced Search ให้ใช้ Boolean จากแบบฟอร์มค้นหา
กรณีต้องการสืบค้นเป็นวลีให้ใส่เครื่องหมาย “...” เอง
ให้ใส่ Boolean 1 คู่
ในช่องเดียวกัน
138
อย่าลืมค้นแล้วเลือก field เช่น title, subject, keyword, title and abstract/
Anywhere except full text จะทาให้ได้ผลการสืบค้นที่ดีขึ้นมาก
139
ผลการสืบค้น อาจมีเนื้อหาฉบับเต็มที่อยู่ในรูปแบบ PDF หรือ HTML (web)
ทั้งนี้ บางรายการอาจไม่มี Full Text ให้ เนื่องจากการบอกรับเป็นสมาชิก
ฐานข้อมูล บอกรับจากชื่อวารสารที่ต้องการ ไม่ใช่ทั้งฐานข้อมูล
PDF Full Text
HTML Full Text
140
ดังนั้นในการสืบค้น ควรจากัดการสืบค้นให้แสดงเฉพาะรายการ
ที่มี Full Text ให้
นอกจากนี้ ยังอาจจากัดผลการสืบค้นด้วยปีที่พิมพ์ด้วย
141
ทั้งนี้ การสืบค้นอาจได้ผลแตกต่างกันไปในแต่ละฐานข้อมูล
เช่น บางฐานข้อมูล ใช้ ? กับ * กลับกัน
บางฐาน ค้น * ไม่ได้
บางฐานพิมพ์ AND OR NOT ตัวพิมพ์เล็กไม่ได้
ฯลฯ
ดังนั้น ต้องสังเกตผลการสืบค้นเองด้วยนะ
Single Search
142
143
Online db
OPAC
ค้นง่าย สะดวก แต่ไม่ค่อยดี ผลการสืบค้นมาก
และฐานข้อมูลออนไลน์ไม่ครบทุกฐาน
Search Engine
144
145
การสืบค้น Google นั้น แตกต่างออกไป
ทั้งการใช้เครื่องหมาย Truncation คาสั่ง Boolean
และการใช้วงเว็บเมื่อใช้ Boolean มากกว่า 1 เงื่อนไข
146


เครื่องหมาย *
สาหรับ Google
คือการละคา มิใช่
อักขระในหน่วยคา
เติมหลัง ดังนั้น
ไม่ต้องใช้
เครื่องหมาย *
ในการสืบค้น
147
* Add an asterisk as a placeholder for any unknown or wildcard terms. .
Example: "a * saved is a * earned"
* = 1 คา
ค้นจากพจนานุกรมอยู่แล้ว
ดังนั้นไม่ต้องใส่ *
อ้างอิงจาก Search help ของ Google…
148
Punctuation that matters, when connected to a search
term with no spaces in between: @, #, ++, +, %, $ (e.g.,
@researchwell, 43%, or c++)
Punctuation that Google ignores: ¶, £, €, ©, ®, ÷, §, (), ?, !
คือไม่นาเครื่องหมายนี้มาประมวลผล
อ้างอิงจากบทเรียนออนไลน์ของ Google…
ค้นจากพจนานุกรมอยู่แล้ว
ดังนั้นไม่ต้องใส่ ?
รวมถึงเครื่องหมาย ?
149
Punctuation that matters, when connected to a search
term with no spaces in between: @, #, ++, +, %, $ (e.g.,
@researchwell, 43%, or c++)
Punctuation that Google ignores: ¶, £, €, ©, ®, ÷, §, (), ?, !
อ้างอิงจากบทเรียนออนไลน์ของ Google… และเครื่องหมาย ()
149
เมื่อไม่นา ( ) มาประมวลผล จึงไม่มีผลต่อการ
ควบคุมลาดับการประมวลผล
ดังนั้น ไม่ต้องใส่ ()
150
สาหรับ Boolean AND OR NOT และวลี มีรูปแบบคาสั่งดังนี้
AND ไม่ต้องพิมพ์ AND
OR พิมพ์ OR ตัวพิมพ์ใหญ่
วลี
NOT ใช้เครื่องหมาย - (ลบ)
ตามด้วยคาค้น โดยไม่เว้นวรรค
151
ตัวอย่างการค้นด้วยคาค้น
ภาษาไทย
AND
OR
วลี
NOT
152
การค้นใน
Search Engine อื่น
ทาในลักษณะเดียวกัน
AND
OR
NOT
และวลี
จากSearch Engine สู่การเข้าถึง
ทรัพยากร web
153
154
และข้อมูลบนเว็บนั้น มีหลากหลาย
จัดทาโดยผู้จัดทาที่มีวัตถุประสงค์
ในการเผยแพร่ข้อมูลที่แตกต่างกัน
จึงต้องประเมินความน่าเชื่อถือ
ความถูกต้องของข้อมูลก่อน
155
 โดเมนของเว็บไซต์ โดเมนที่น่าเชื่อถือ เช่น .or .org .ac .edu ทั้งนี้ ให้พิจารณาผู้
แต่ง และพิจารณาความถูกต้องของข้อมูลประกอบด้วย เนื่องจากในบางครั้ง ผู้จัดทา
เว็บไซต์อาจเป็นนักเรียน นิสิต หรือนักศึกษาได้
 ผู้แต่ง ความน่าเชื่อถือของผู้แต่ง การแสดงความรับผิดชอบโดยแสดงข้อมูลการติดต่อ เช่น
อีเมล ชื่อหน่วยงานที่สังกัด เป็นต้น
 วันที่ปรับปรุงข้อมูล
 การเปรียบเทียบความถูกต้องของข้อมูลกับแหล่งข้อมูลอื่น ๆ
 การอ้างอิง การแสดงรายการอ้างอิงหรือบรรณานุกรม หรือแหล่งที่มาของข้อมูล เป็นต้น
เกณฑ์ที่ใช้ประเมิน
156
ชื่อโดเมน ชื่อโดเมนในประเทศไทย กลุ่ม
.com .co.th องค์กรธุรกิจการค้า (Commercial)
.edu .ac.th สถาบันการศึกษา (Education)
.gov .go.th หน่วยงานรัฐบาล (Government)
.int .in.th องค์การระหว่างประเทศ (International)
.mil .mi.th หน่วยงานทางทหาร (Military)
.net .net.th หน่วยงานที่เกี่ยวกับเครือข่าย (Networking)
.org .or.th องค์กรที่ไม่แสวงผลกาไร (Organization)
157
เว็บไซต์นี้มีโดเมน .ac.th แสดงชื่อผู้เขียนและ
สังกัด พร้อมลิงค์ไปยังรายละเอียดเกี่ยวกับประวัติ
และผลงานวิชาการ บทความมีการอ้างอิง มีความ
น่าเชื่อถือ
158
เว็บไซต์นี้มีโดเมน .ac.th ข้อมูลเป็นภาษาอังกฤษ มี
ภาพประกอบ ดูวิชาการ แต่เมื่อดูชื่อโดเมนแล้ว เป็นเว็บไซต์ที่
จัดทาโดยนิสิต (ชื่อโดเมน student.chula.ac.th) เมื่อดูที่เมนู
About Us มีการแสดงชื่อผู้จัดทาชัดเจน แสดงสถานภาพนิสิต
มีการอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูลในการจัดทาเว็บไซต์ อย่างไรก็
ดี การนาข้อมูลไปใช้ควรมีการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล
กับแหล่งข้อมูลอื่นๆด้วย
159
เว็บไซต์นี้มีโดเมน .org แสดงชื่อหน่วยงานที่
รับผิดชอบ มีการอ้างอิงแหล่งข้อมูล มีวันที่ปรับปรุง
ข้อมูล มีความน่าเชื่อถือ แต่ในทางวิชาการ ใช้สาหรับ
การหาความรู้เบื้องต้นเท่านั้น เมื่อทาการค้นคว้าและ
ต้องการแหล่งข้อมูลอ้างอิง ควรอ้างอิงจากแหล่งที่เป็น
งานวิชาการหรืองานวิจัยโดยตรง
160
เว็บไซต์ blogspot นี้ จัดเป็น Blog ที่เปิดให้ผู้สนใจสมัคร
และจัดทาเว็บไซต์เผยแพร่โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย อาจจัดทาโดย
บุคคลหรือหน่วยงานธุรกิจ ในที่นี้ มีระบุวันที่ update ข้อมูล
แต่บทความนี้เป็นบทความสั้นๆ อ้างอิงแหล่งข้อมูลรายการ
เดียว จานวนบทความที่เผยแพร่มีไม่มากนับตั้งแต่วันที่สร้าง
blog ผู้แต่งจึงอาจไม่ใช่ผู้เชี่ยวชาญด้านนี้มากนัก อาจดู
น่าเชื่อถือน้อยกว่าเว็บไซต์อื่นๆข้างต้น

More Related Content

What's hot

งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8amphaiboon
 
Chapter4 lecture
Chapter4 lectureChapter4 lecture
Chapter4 lecturesupimon1956
 
อินเตอเนต3 4
อินเตอเนต3 4อินเตอเนต3 4
อินเตอเนต3 4peter dontoom
 
53010210043
5301021004353010210043
53010210043Ann Oan
 
Search engine
Search engineSearch engine
Search enginekacherry
 
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืนบทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืนSrion Janeprapapong
 
ส่วนประกอบของรายงานและโครงงานม.4 60
ส่วนประกอบของรายงานและโครงงานม.4 60ส่วนประกอบของรายงานและโครงงานม.4 60
ส่วนประกอบของรายงานและโครงงานม.4 60Supaporn Khiewwan
 
การเขียนรายการอ้างอิง ม.4 2560
การเขียนรายการอ้างอิง ม.4 2560การเขียนรายการอ้างอิง ม.4 2560
การเขียนรายการอ้างอิง ม.4 2560Supaporn Khiewwan
 
การสืบค้นข้อมูล1
การสืบค้นข้อมูล1การสืบค้นข้อมูล1
การสืบค้นข้อมูล1Walaiporn Fear
 
[Thai] Bibliography database
[Thai] Bibliography database[Thai] Bibliography database
[Thai] Bibliography databaseJoy sarinubia
 
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศเทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศSrion Janeprapapong
 
เทคนิคการสืบค้น
เทคนิคการสืบค้นเทคนิคการสืบค้น
เทคนิคการสืบค้นpenelopene
 

What's hot (17)

งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8
 
Internet search engine
Internet search engineInternet search engine
Internet search engine
 
Chapter4 lecture
Chapter4 lectureChapter4 lecture
Chapter4 lecture
 
อินเตอเนต3 4
อินเตอเนต3 4อินเตอเนต3 4
อินเตอเนต3 4
 
53010210043
5301021004353010210043
53010210043
 
Search engine
Search engineSearch engine
Search engine
 
Search engine
Search engineSearch engine
Search engine
 
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืนบทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
 
Libre office 6-sdf
Libre office 6-sdfLibre office 6-sdf
Libre office 6-sdf
 
ส่วนประกอบของรายงานและโครงงานม.4 60
ส่วนประกอบของรายงานและโครงงานม.4 60ส่วนประกอบของรายงานและโครงงานม.4 60
ส่วนประกอบของรายงานและโครงงานม.4 60
 
การเขียนรายการอ้างอิง ม.4 2560
การเขียนรายการอ้างอิง ม.4 2560การเขียนรายการอ้างอิง ม.4 2560
การเขียนรายการอ้างอิง ม.4 2560
 
การสืบค้นข้อมูล1
การสืบค้นข้อมูล1การสืบค้นข้อมูล1
การสืบค้นข้อมูล1
 
[Thai] Bibliography database
[Thai] Bibliography database[Thai] Bibliography database
[Thai] Bibliography database
 
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศเทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
 
Presentation
PresentationPresentation
Presentation
 
Internet search engine
Internet search engineInternet search engine
Internet search engine
 
เทคนิคการสืบค้น
เทคนิคการสืบค้นเทคนิคการสืบค้น
เทคนิคการสืบค้น
 

Viewers also liked

หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาหน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาSrion Janeprapapong
 
บทที่ 1 ความหมายและบทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 ความหมายและบทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1 ความหมายและบทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 ความหมายและบทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศKanitta_p
 
รู้เท่าทันสื่อ
รู้เท่าทันสื่อรู้เท่าทันสื่อ
รู้เท่าทันสื่อAsina Pornwasin
 
พฤติกรรมสารสนเทศ
พฤติกรรมสารสนเทศพฤติกรรมสารสนเทศ
พฤติกรรมสารสนเทศNuttaput Suriyakamonphat
 
ระบบการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
ระบบการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศระบบการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
ระบบการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศNuttaput Suriyakamonphat
 
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)Srion Janeprapapong
 
เรื่องผ้าไหมมัดหมี่(IS2)
เรื่องผ้าไหมมัดหมี่(IS2)เรื่องผ้าไหมมัดหมี่(IS2)
เรื่องผ้าไหมมัดหมี่(IS2)Nicha Nichakorn
 
หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศหน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศSrion Janeprapapong
 
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศบทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศSrion Janeprapapong
 
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุดทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุดChuleekorn Rakchart
 

Viewers also liked (14)

หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาหน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
 
น 13 พฤติกรรมสารสนเทศ.2
น 13 พฤติกรรมสารสนเทศ.2น 13 พฤติกรรมสารสนเทศ.2
น 13 พฤติกรรมสารสนเทศ.2
 
หน่วยที่ 3 การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่ 3 การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศหน่วยที่ 3 การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่ 3 การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ
 
บทที่ 1 ความหมายและบทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 ความหมายและบทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1 ความหมายและบทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 ความหมายและบทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
รู้เท่าทันสื่อ
รู้เท่าทันสื่อรู้เท่าทันสื่อ
รู้เท่าทันสื่อ
 
Luyen thi-toeic
Luyen thi-toeicLuyen thi-toeic
Luyen thi-toeic
 
พฤติกรรมสารสนเทศ
พฤติกรรมสารสนเทศพฤติกรรมสารสนเทศ
พฤติกรรมสารสนเทศ
 
Toeic part 5
Toeic part 5Toeic part 5
Toeic part 5
 
ระบบการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
ระบบการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศระบบการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
ระบบการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
 
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)
 
เรื่องผ้าไหมมัดหมี่(IS2)
เรื่องผ้าไหมมัดหมี่(IS2)เรื่องผ้าไหมมัดหมี่(IS2)
เรื่องผ้าไหมมัดหมี่(IS2)
 
หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศหน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
 
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศบทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
 
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุดทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
 

Similar to การเข้าถึงสารสนเทศ

การค้นหาข้อมูลความรู้ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลความรู้ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตการค้นหาข้อมูลความรู้ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลความรู้ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตKanokkorn Harsuk
 
Search 1
Search 1Search 1
Search 1krooann
 
การใืช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการสืบค้น
การใืช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการสืบค้นการใืช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการสืบค้น
การใืช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการสืบค้นitte55112
 
เทคนิคการสืบค้น
เทคนิคการสืบค้นเทคนิคการสืบค้น
เทคนิคการสืบค้นThunyaluck
 
การสืบค้นฐานข้อมูลEmeraldเบื้องต้น
การสืบค้นฐานข้อมูลEmeraldเบื้องต้นการสืบค้นฐานข้อมูลEmeraldเบื้องต้น
การสืบค้นฐานข้อมูลEmeraldเบื้องต้นeden95487
 
Research problems
Research problemsResearch problems
Research problemsiamthesisTH
 
อินเตอเนต3 4
อินเตอเนต3 4อินเตอเนต3 4
อินเตอเนต3 4peter dontoom
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลOrapan Chamnan
 
02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัยKruBeeKa
 
การสืบค้นข้อมูลทางอินเทอรเน็ท
การสืบค้นข้อมูลทางอินเทอรเน็ทการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอรเน็ท
การสืบค้นข้อมูลทางอินเทอรเน็ทtrevnis
 

Similar to การเข้าถึงสารสนเทศ (20)

Internetsearch
InternetsearchInternetsearch
Internetsearch
 
การค้นหาข้อมูลความรู้ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลความรู้ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตการค้นหาข้อมูลความรู้ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลความรู้ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
 
Acm 2003
Acm 2003Acm 2003
Acm 2003
 
Acm 2003
Acm 2003Acm 2003
Acm 2003
 
Acm
AcmAcm
Acm
 
Search 1
Search 1Search 1
Search 1
 
การใืช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการสืบค้น
การใืช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการสืบค้นการใืช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการสืบค้น
การใืช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการสืบค้น
 
เทคนิคการสืบค้น
เทคนิคการสืบค้นเทคนิคการสืบค้น
เทคนิคการสืบค้น
 
IEEE/IEL
IEEE/IELIEEE/IEL
IEEE/IEL
 
IEEE
IEEEIEEE
IEEE
 
Tip.search
Tip.searchTip.search
Tip.search
 
การสืบค้นฐานข้อมูลEmeraldเบื้องต้น
การสืบค้นฐานข้อมูลEmeraldเบื้องต้นการสืบค้นฐานข้อมูลEmeraldเบื้องต้น
การสืบค้นฐานข้อมูลEmeraldเบื้องต้น
 
Ucofthailand
UcofthailandUcofthailand
Ucofthailand
 
Ucofthailand
UcofthailandUcofthailand
Ucofthailand
 
Research problems
Research problemsResearch problems
Research problems
 
Search techniques
Search techniquesSearch techniques
Search techniques
 
อินเตอเนต3 4
อินเตอเนต3 4อินเตอเนต3 4
อินเตอเนต3 4
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
 
02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย
 
การสืบค้นข้อมูลทางอินเทอรเน็ท
การสืบค้นข้อมูลทางอินเทอรเน็ทการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอรเน็ท
การสืบค้นข้อมูลทางอินเทอรเน็ท
 

การเข้าถึงสารสนเทศ