SlideShare a Scribd company logo
1 of 17
บทที่ 2
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
2.1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเว็บ
เว็บคือการสื่อสารสองทางที่เปิดให้บริการตลอดเวลา เราสามารถ
ใส่ข้อมูลต่างๆ ได้ ทั้งภาพ, เสียง, วีดีโอ, ตารางรายละเอียดต่างๆ และรับ
ข้อมูลจากผู้เยี่ยมชมได้ เช่น ความคิดเห็น, แบบฟอร์มสั่งซื้อ,สถานะการ
ทำางาน ฯลฯ เว็บที่ดี คือเว็บที่ตอบโจทย์ทั้งเจ้าของเว็บและคนเยี่ยมชม
เว็บที่เป็นกลุ่มเป้าหมาย เช่น ผู้เยี่ยมชมสามารถหาข้อมูลที่ต้องการได้
ง่าย (ราคา, รูปภาพสินค้า/บริการ, แผนที่, เบอร์ติดต่อ) ข้อมูลอัพเดท
สมำ่าเสมอ มีระบบที่เพียงพอกับการสื่อสาร/รับส่งข้อมูล เว็บเป็นระบบที่
ประยุกต์ใช้ได้หลายรูปแบบ ทำาให้หากต้องมีการวิเคราะห์ระบบและ
ออกแบบตามความต้องการโดยละเอียด จะต้องใช้เวลาและงบประมาณ
สูงมาก (บริษัทไทเกอร์ ไอเดีย ของผม รับงานเว็บขององค์กร/โรงแรม/
ร้านค้า อาจมีราคาเริ่มต้นที่ 5 หมื่นบาท, เว็บระบบหุ้น/ธนาคารบนอินเต
อร์เน็ท เริ่มต้นที่ราคา 5 ล้านบาท) แต่หากเป็นเว็บที่นำาเสนอข้อมูลทั่วๆ
ไป ที่ไม่ต้องการการวิเคราะห์ระบบ เราอาจใช้ระบบที่ออกแบบสำาหรับ
การจัดการข้อมูลพื้นฐานได้ เรียกว่า Content Management System
(CMS) ซึ่งอาจเรียกว่าโปรแกรมเว็บสำาเร็จรูป มีหลากหลายโปรแกรม
เช่น WordPress, Drupal, Joomla ทำาให้การทำาเว็บในปัจจุบัน หาก
ใช้โปรแกรมสำาเร็จรูป และจัดการข้อมูลเอง อาจจะมีค่าใช้จ่ายเหลือ
เพียงค่าชื่อเว็บ (โดเมน)
และที่อยู่เว็บ (โฮสติ้ง) ซึ่งประมาณปีละ 1-2 พันบาท
การทำาเว็บบล็อก(WebBlog) ด้วย Wordpress เรื่องตรีโกณมิติ ผู้
จัดทำาได้ศึกษา เอกสารจากเว็บไซต์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องดังนี้
2.1.1 บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอนในปัจจุบันเป็นไปอย่างกว้างขวาง
และอำานวยประโยชน์อย่างมหาศาลในทุกวงการและสาขาวิชาโดย
เฉพาะอย่างยิ่งได้มีการพยายามนำาเอาคอมพิวเตอร์มาใช้ประโยชน์ต่อ
การเรียนการสอนในลักษณะโปรแกรมสำาเร็จรูปที่ช่วยผู้เรียนให้
สามารถเรียนและทบทวนบทเรียนได้ทุกเวลากระตุ้นให้เกิดความสนใจ
ตลอดจนช่วยลดปัญหาการเรียนการสอนได้คอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการ
เรียนการสอนนี้สามารถเรียกได้หลายชื่อด้วยกันเช่นซีเอไอ (CAI :
Computer assisted instruction), ซีเอแอล (CAL :Computer
assisted learning), ซีบีอี (CBE : Computer based education), ซีบี
ไอ (CBI : Computer based instruction), ซีบีแอล (CBL : Computer
based learning) (วชิระวิชชุวรนันท์. 2544 : 2 - 3) ในที่นี้ผู้วิจัยจะใช้
คำาว่าซีเอไอ (CAI : Computer assisted instructional) ในการเรียก
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนซึ่งผู้วิจัยจะนำาเสนอรายละเอียดเกี่ยวกับ
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนดังต่อไปนี้
2.1.2 ความหมายของคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
นักการศึกษาและ นักวิชาการต่างๆได้ให้ความหมายคำา ว่า
คอมพิวเตอร์ช่วยสอนไว้หลายท่านด้วยกันดังนี้
ราชบัณฑิตยสถาน (2535 : 32) กล่าวว่าคอมพิวเตอร์ช่วย
สอนหมายถึงการสอนที่ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน
ชูเกียรติโพธิ์มั่น (2541 : 82) กล่าวว่าคอมพิวเตอร์ช่วย
สอนหมายถึงการนำาคอมพิวเตอร์มาช่วยในการสอนโดยที่คอมพิวเตอร์
จะทำาหน้าที่ในการนำาเสนอบทเรียนแทนครูผู้สอนและผู้เรียนสามารถ
เรียนรู้ได้ด้วยตนเองจากคอมพิวเตอร์
สเปนเซอร์ (Spencer. 1977 : 50) กล่าวว่าคอมพิวเตอร์
ช่วยสอนหมายถึงการใช้คอมพิวเตอร์ในการเรียนการสอนส่วนบุคคล
โดยให้ลำาดับขั้นตอนของการเรียนการสอนกับผู้เรียนภายใต้การควบคุม
ของคอมพิวเตอร์อัตราความก้าวหน้าในการเรียนขึ้นอยู่กับตัวของผู้
เรียนเอง
สิปเปิลล์ (Sipple. 1981 : 77) กล่าวว่าคอมพิวเตอร์ช่วย
สอนหมายถึงเครื่องมือที่ถูกนำามาช่วยในการเรียนของนักเรียนเป็นการ
โต้ตอบกันระหว่างผู้เรียนและขั้นตอนคำาสั่งของคอมพิวเตอร์ซึ่งสามารถ
บอกข้อบกพร่องของผู้เรียนได้เมื่อกระทำาผิดพลาด
จากความหมายที่กล่าวมาข้างต้นสรุปได้ว่าคอมพิวเตอร์ช่วย
สอนหมายถึงสื่อการเรียนการสอนที่นำาคอมพิวเตอร์มาใช้ในการนำา
เสนอบทเรียนให้แก่นักเรียนโดยบรรจุเนื้อหาความรู้กิจกรรมแบบฝึกหัด
แบบทดสอบและสถานการณ์จำาลองลงในโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่สร้าง
ขึ้นเพื่อให้ผู้เรียนได้ศึกษาด้วยตนเองโดยการกระตุ้นการโต้ตอบตาม
ความแตกต่างของแต่ละบุคคลและมีการเสริมแรงแก่ผู้เรียนซึ่งการนำา
เสนอเนื้อหาของบทเรียนจะอยู่ในรูปของตัวอักษรข้อความภาพนิ่ง้ภาพ
เคลื่อนไหวและเสียงประกอบโดยที่นักเรียนสามารถโต้ตอบและแสดงผล
การเรียนของนักเรียนได้
2.1.3 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่นิยมใช้ในปัจจุบันมี 7
ประเภทดังนี้
1) แบบการสอนหรือทบทวน (Tutorial instruction) เป็นบท
เรียนซึ่งนำาเสนอเนื้อหาแก่ผู้เรียนไม่ว่าจะเป็นเนื้อหาใหม่หรือการ
ทบทวนเนื้อหาเดิมเป็นเหมือนครูสอนนักเรียนเป็นรายบุคคลบทเรียน
คอมพิวเตอร์ช่วยสอนก็จะต้องดำาเนินตามขั้นตอนวิธีการสอนบทเรียน
หนึ่งๆจะมีแบบทดสอบหรือแบบฝึกหัดแทรกอยู่เพื่อทดสอบความเข้าใจ
ของผู้เรียนและสามารถให้ผู้เรียนย้อนกลับไปเรียนบทเรียนเดิมหรือข้าม
ไปเรียนบทเรียนที่เรียนรู้แล้วโดยสามารถใช้สอนได้ในแทบทุกสาขา
วิชาและเป็นบทเรียนที่เหมาะสมในการเสนอเนื้อหาข้อมูลที่เกี่ยวกับข้อ
เท็จจริง
2) แบบการฝึกหัด (Drills and practice) เป็นแบบฝึกหัดจาก
คอมพิวเตอร์ที่จะเสริมเมื่อผู้สอนได้สอนบทเรียนบางอย่างจบไปแล้วและ
ให้นักเรียนทำาแบบฝึกหัดจากคอมพิวเตอร์เพื่อวัดระดับของการเรียนรู้
ในเนื้อหาที่เรียนไปแล้วโดยให้ฝึกจนถึงระดับที่ผู้เรียนยอมรับได้
เป็นการเปิดโอกาสให้ผู้เรียนที่เรียนอ่อนหรือเรียนไม่ทันคนอื่นๆได้มี
โอกาสทำาความเข้าใจบทเรียนโดยผู้สอนไม่ต้องเสียเวลาอธิบายเนื้อหา
เดิมซำ้าแล้วซำ้าอีกบทเรียนแบบฝึกหัดและปฏิบัติจึงประกอบด้วยคำาถามคำา
ตอบที่จะทำาให้นักเรียนทำาการฝึกและปฏิบัติในแบบฝึกหัดเหล่านี้
3) แบบการจำาลอง (Simulation) เพื่อใช้สำาหรับการเรียนรู้
หรือทดลองจากสภาพการณ์จำาลองจากสถานการณ์จริงซึ่งอาจจะหาไม่
ได้หรืออยู่ไกลไม่สามารถนำาเข้ามาในห้องเรียนได้หรือมีสภาพอันตราย
หรืออาจสิ้นเปลืองมากที่ต้องใช้ของจริงซำ้าๆสามารถใช้สาธิตประกอบ
การสอนใช้เสริมการสอนในห้องเรียนหรือใช้ซ่อมเสริมภายหลังการ
เรียนนอกห้องเรียนที่ใดเวลาใดก็ได้
4) แบบเกมเพื่อการสอน (Instructional games) เป็นบท
เรียนคอมพิวเตอร์ที่ทำาให้
ผู้ใช้มีความสนุกสนานเพลิดเพลินจนลืมไปว่ากำาลังเรียนอยู่จะช่วย
กระตุ้นให้เกิดความสนใจในการเรียนให้นักเรียนมีโอกาสฝึกเกมการ
ศึกษาหลายเรื่องที่ช่วยพัฒนาความคิดความอ่านต่างๆได้ดีเกมเหล่านี้
นอกจากจะเป็นการสร้างความบันเทิงแล้วยังสามารถช่วยพัฒนาความรู้
ต่างๆได้เป็นอย่างดีอีกด้วย
5) แบบการค้นพบ (Discovery) เป็นการจัดทำาเพื่อให้ผู้เรียน
เรียนรู้จากประสบการณ์จากตนเองให้มากที่สุดโดยการเสนอปัญหาให้ผู้
เรียนแก้ไขด้วยการลองผิดลองถูกโปรแกรมคอมพิวเตอร์จะให้ข้อมูลแก่
ผู้เรียนเพื่อช่วยในการค้นพบนั้นจนกว่าจะได้ข้อสรุปที่ดีที่สุด
6) แบบการแก้ปัญหา (Problem - solving) เป็นการฝึกการ
คิดการตัดสินใจสามารถ
ใช้กับวิชาการต่างๆที่ต้องการให้สามารถคิดแก้ปัญหาใช้เพื่อเสริมการ
สอนในห้องเรียนหรือ
ใช้ในการฝึกทั่ว ๆ ไป
7) แบบการทดสอบ (Tests) เป็นแบบทดสอบเพื่อใช้สำาหรับ
ตรวจวัดความรู้ของผู้เรียนสามารถใช้ประกอบการสอนในห้องเรียนหรือ
ใช้ตามความต้องการของครูหรือของผู้เรียนเองรวมทั้งสามารถใช้นอก
ห้องเรียนสามารถใช้วัดความสามารถของตนเองได้ด้วยบทเรียนที่ใช้
เพื่อการเรียนการสอนด้วยคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นจะ
เป็นการประยุกต์ระหว่างแบบการสอนหรือทบทวนแบบการฝึกหัดและ
แบบการจำาลองโดยเป็นแบบรวมวิธีการต่างๆเข้าด้วยกันโดยมีการนำา
เสนอเนื้อหาแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนแบบฝึกทักษะปฏิบัติ
ของแต่ละหน่วยการเรียนมีการสร้างเมนู (Menu) รายการต่างๆที่มีใน
บทเรียนเพื่อให้ผู้เรียนเลือกศึกษาตามลำาดับหน่วยการเรียนรู้
2.1.4 ประโยชน์ของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
จากการที่วงการศึกษาได้นำาเอาคอมพิวเตอร์มาใช้ในการจัดการ
ศึกษาในลักษณะของคอมพิวเตอร์ช่วยสอนนั้นปรากฏว่าเป็นที่ยอมรับ
กันในวงการศึกษาเพราะคอมพิวเตอร์มีประโยชน์ต่อผู้เรียนหลาย
ประการดังที่นักการศึกษาได้กล่าวไว้ดังนี้
ถนอมพรเลาหจรัสแสง (2541 : 12) ได้สรุปเกี่ยวกับ
ประโยชน์ของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนในการนำาไปใช้ทางการ
ศึกษาดังนี้
1) คอมพิวเตอร์ช่วยสอนเกิดจากความพยายามในการที่จะ
ช่วยให้ผู้เรียนที่เรียนอ่อนสามารถใช้เวลานอกเวลาเรียนในการฝึกฝน
ทักษะและเพิ่มเติมความรู้เพื่อที่จะปรับปรุงการเรียนของตนให้ทันผู้เรียน
อื่นได้ดังนั้นผู้สอนจึงสามารถนำาคอมพิวเตอร์ช่วยสอนไปใช้ช่วยในการ
สอนเสริมหรือสอนทบทวนการสอนปกติในชั้นเรียนได้โดยที่ผู้สอนไม่
จำาเป็นต้องเสียเวลาในการสอนซำ้ากับผู้เรียนที่ตามไม่ทันหรือจัดการสอน
เพิ่มเติม
2) ผู้เรียนก็สามารถนำาคอมพิวเตอร์ช่วยสอนไปใช้ในการ
เรียนด้วยตนเองในเวลาและสถานที่ซึ่งผู้เรียนสะดวกเช่นแทนที่จะต้อง
เดินทางมายังชั้นเรียนตามปกติผู้เรียนก็สามารถเรียนด้วยตนเองจากที่
บ้านได้นอกจากนั้นยังสามารถเรียนในเวลาใดก็ได้ตามที่ต้องการ
3) คอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่ได้รับการออกแบบมาอย่างดีถูก
ต้องตามหลักของการออกแบบคอมพิวเตอร์ช่วยสอนนั้นสามารถที่จะ
จูงใจผู้เรียนให้เกิดความกระตือรือร้น (Motivated) ที่จะเรียนและ
สนุกสนานไปกับการเรียน
กิดานันท์มลิทอง (2543 : 249 - 250) ได้สรุปเกี่ยวกับ
ประโยชน์ของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนในการนำาไปใช้ทางการ
ศึกษาดังนี้
1)คอมพิวเตอร์จะช่วยเพิ่มแรงจูงใจในการเรียนรู้ให้
แก่ผู้เรียนเนื่องจากการเรียนด้วยคอมพิวเตอร์เป็นประสบการณ์ที่แปลก
ใหม่
2)การใช้สีภาพลายเส้นที่แลดูคล้ายเคลื่อนไหวตลอด
จนเสียงดนตรีจะเป็นการเพิ่มความเหมือนจริงและเร้าใจผู้เรียนให้เกิด
ความอยากเรียนรู้ทำาแบบฝึกหัดหรือทำากิจกรรมต่างๆ
3)ความสามารถของหน่วยความจำา ของเครื่อง
คอมพิวเตอร์ช่วยในการบันทึกคะแนนและพฤติกรรมต่างๆของผู้เรียนไว้
เพื่อใช้ในการวางแผนบทเรียนในขั้นต่อไปได้
4)ความสามารถในการเก็บข้อมูลของเครื่องทำาให้
สามารถนำามาใช้ได้ในลักษณะของการศึกษารายบุคคลได้เป็นอย่างดี
โดยสามารถกำาหนดบทเรียนให้แก่ผู้เรียนแต่ละคนและแสดงผลความ
ก้าวหน้าให้เห็นได้ทันที
5)ลักษณะของโปรแกรมบทเรียนที่ให้ความเป็นส่วน
ตัวแก่ผู้เรียนเป็นการช่วยให้ ผู้เรียนที่เรียนช้าสามารถเรียนไปได้ตาม
ความสามารถของตนโดยสะดวกอย่างไม่รีบเร่งโดย
ไม่ต้องถามผู้อื่นและไม่ต้องอายเพื่อนเมื่อตอบผิด
6)เป็นการช่วยขยายขีดความสามารถของผู้สอนใน
การควบคุมผู้เรียนได้อย่างใกล้ชิดเนื่องจากสามารถบรรจุข้อมูลได้ง่าย
และสะดวกในการนำาออกมาใช้
วชิระวิชชุวรนันท์ (2544 : 5) ได้สรุปเกี่ยวกับประโยชน์
ของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนในการนำาไปใช้ทางการศึกษาดังนี้
1) ผู้เรียนสามารถศึกษาได้ตามความสามารถความ
สนใจและไม่จำากัดเรื่องเวลา
2)ไม่เบื่อหน่ายจากการเรียนบทเรียนสามารถนำาเสนอ
ได้ทั้งข้อความภาพสีสันและเสียงมีความน่าสนใจ
3) ผู้เรียนสามารถประเมินผลความก้าวหน้าได้โดย
อัตโนมัติ
4) ผู้เรียนสามารถทบทวนบทเรียนที่เรียนมาแล้ว
5) ฝึกให้ผู้เรียนคิดอย่างมีเหตุผลจากการที่ต้องคอยแก้
ปัญหาอยู่ตลอดเวลา
6) ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้อย่างแท้จริงเพราะบทเรียน
บังคับให้ผู้เรียนต้องเรียนรู้ก่อนจึงผ่านบทเรียนนั้นได้และไม่สามารถ
แอบดูคำาตอบได้ก่อน
7) ผู้เรียนได้เรียนตามลำาดับความยากง่ายทำาให้เข้าใจ
ชัดเจน
8) ทำาให้ผู้เรียนมีทัศนคติที่ดีต่อวิชาที่เรียนซึ่งเกิดจากมี
โอกาสประสบความสำาเร็จในการเรียนสูง
9)ผู้สอนใช้เวลาสอนด้วยตนเองน้อยลงมีเวลาเหลือไป
ศึกษาและพัฒนาการเรียนการสอนมากขึ้น
10) ช่วยพัฒนาผลงานทางวิชาการ
11) ผู้สอนทราบความสามารถของผู้เรียนได้อย่างต่อ
เนื่อง
เดนิส (Dennis.1984) ได้สรุปเกี่ยวกับประโยชน์ของบท
เรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนในการนำาไปใช้ทางการศึกษาดังนี้
1)ช่วยแก้ปัญหาการสอนแบบตัวต่อตัวผู้สอนสามารถ
ตอบสนองต่อความต้องการของผู้เรียนได้ทันที
2) ช่วยทำาให้ผู้เรียนแต่ละคนเรียนรู้ได้ตามความสามารถ
ของตนเองสามารถที่จะเลือกเรียนด้วยระยะเวลาเท่าใดก็ได้ตามความ
สามารถของตนเองและยังเลือกเรียนเฉพาะเนื้อหา
ส่วนที่ต้องการทบทวนและไม่เลือกเรียนเนื้อหาส่วนที่เข้าใจแล้วได้อีก
ด้วย
3) ช่วยแก้ปัญหาการขาดแคลนครูและเป็นรูปแบบของ
การเรียนการสอนที่พร้อม
จะทำางานอย่างต่อเนื่องตลอดเวลาไม่มีขีดจำากัดทางอารมณ์ไม่เคย
เหนื่อยเบื่อหน่ายไม่บ่นและอารมณ์เสียกับผู้เรียนซึ่งจะส่งผลต่อผล
สัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนสูงสุด
4) ช่วยแก้ปัญหาการขาดแคลนเวลาซึ่งนับว่าเป็นสิ่งที่มี
ค่ายิ่งสำาหรับทุกคนในปัจจุบันซึ่งถือว่าเป็นรูปแบบของการเรียนการสอน
ที่มีประสิทธิภาพมากวิธีหนึ่งที่ใช้เวลา
ในการเรียนน้อย
จากการพิจารณาประโยชน์ของคอมพิวเตอร์ช่วยสอนดัง
กล่าวข้างต้นสรุปได้ว่าบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมีประโยชน์ที่
สามารถนำาไปใช้ในทางการศึกษาดังนี้
1)ผู้เรียนสามารถศึกษาได้ตามความสามารถความสนใจ
ของตนเองและไม่มีข้อจำากัดของเรื่องเวลา
2)ผู้เรียนไม่เบื่อหน่ายจากการเรียนบทเรียนสามารถนำา
เสนอได้ทั้งข้อความภาพสีสันและเสียงมีความน่าสนใจ
3) ผู้เรียนสามารถทบทวนบทเรียนที่เรียนมาแล้ว
4) ผู้เรียนสามารถทราบถึงความก้าวหน้าของตนเองได้
อย่างต่อเนื่อง
5) ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้อย่างแท้จริงเพราะบทเรียน
บังคับให้ผู้เรียนต้องเรียนรู้ก่อนจึงผ่านบทเรียนนั้นได้และในการทำาแบบ
ทดสอบผู้เรียนไม่สามารถดูคำาตอบได้ก่อน
6) ผู้เรียนได้เรียนตามลำาดับความยากง่ายทำาให้เข้าใจ
ชัดเจน
7) ทำาให้ผู้เรียนมีทัศนคติที่ดีต่อวิชาที่เรียนผู้เรียนจึงมี
โอกาสประสบความสำาเร็จ
ในการเรียนสูง
8) ผู้สอนใช้เวลาสอนด้วยตนเองน้อยลงมีเวลาเหลือไป
ศึกษาและพัฒนาการเรียนการสอนมากขึ้น
9) ผู้สอนสามารถทราบความสามารถของผู้เรียนได้อย่าง
ต่อเนื่อง
2.1.5 แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการสร้างบทเรียน
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน
คอมพิวเตอร์ช่วยสอนเป็นสื่อการเรียนการสอนรายบุคคลประเภท
หนึ่งที่นำาเอาหลักการของบทเรียนโปรแกรม (Programmed
instruction) และคอมพิวเตอร์มาผสมผสานกันเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพใน
การทำาหน้าที่เป็นสื่อกลางการเรียนรู้ของผู้เรียนเป็นรายบุคคลการสร้าง
คอมพิวเตอร์ช่วยสอนผู้สร้างนอกจากจะมีความรู้ในเนื้อหาวิชาและมี
ความรู้ในการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์เป็นอย่างดีแล้วยังต้องมีความรู้
ความสามารถในเรื่องหลักจิตวิทยาการเรียนรู้และหลักการสร้างบทเรียน
โปรแกรมเป็นอย่างดีด้วยจึงจะสามารถสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วย
สอนที่มีคุณภาพ
ทฤษฎีและหลักจิตวิทยาการเรียนรู้ที่นำามาเป็นแนวทางการสร้าง
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนในการจัดการเรียนการสอนเพื่อให้ผู้เรียน
บรรลุข้อตกลงเบื้องต้นของการศึกษาคือให้เกิดการเรียนรู้ตามเป้าหมาย
ของการศึกษาการถ่ายทอดความรู้และมุ่งพัฒนาการทางด้านสติปัญญา
ความสามารถประยุกต์ความรู้ที่ได้เรียนไปแล้วมาใช้ในสถานการณ์ใหม่
ได้การจัดการศึกษาจำาเป็นต้องยึดหลักการและทฤษฎีที่สำาคัญคือทฤษฎี
การเรียนรู้
2.2 คุณสมบัติของลอการิทึม
สมบัติของลอการิทึม
1.สมบัติข้อที่ 1
ตัวอย่าง 1)
2)
2. สมบัติข้อที่ 2
ตัวอย่าง 1)
2)
3. สมบัติข้อที่ 3
ตัวอย่าง 1)
2)
4 . สมบัติข้อที่ 4
ตัวอย่าง 1)
2)
โจทย์ระคน
จงหาค่าของ
1)
2)
3) ( )
+
5. สมบัติข้อที่ 5
ตัวอย่าง 1)
2)
6. สมบัติข้อที่ 6
ตัวอย่าง 1)
2)
7. สมบัติข้อที่ 7
ตัวอย่าง 1)
2)
8. สมบัติข้อที่ 8
ตัวอย่าง 1)
2)
โจทย์ระคน
จงหาค่าของ
1)
2)
3)
4)
2.3 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
2.3.1 ชื่อเรื่อง รายงานผลการพัฒนาบทเรียนโปรแกรมวิชา
คณิตศาสตร์ เรื่อง ตัวประกอบของ
จำา นวนนับ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนเทศบาลบูรพา
พิทยาคาร
ชื่อผู้ศึกษา นายเชาวะลิตร สีแนน
สถานศึกษา โรงเรียนเทศบาลบูรพาพิทยาคาร กองการ
ศึกษา เทศบาลเมืองมหาสารคาม
ปีที่ทำาการศึกษา พ.ศ. 2553
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาบทเรียน
โปรแกรมวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง ตัวประกอบของจำานวนนับ สำาหรับ
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 และ
มีค่าดัชนีประสิทธิผลไม่น้อยกว่า 0.50 และเพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง ตัวประกอบของจำานวนนับ
ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ระหว่างคะแนนทดสอบก่อนเรียน
และหลังเรียนโดยใช้บทเรียนโปรแกรมที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น กลุ่มตัวอย่างที่
ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/2 โรงเรียน
เทศบาลบูรพาพิทยาคาร สังกัดกองการศึกษา เทศบาลเมือง
มหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม ที่ได้มาจากการสุ่มแบบสุ่มกลุ่ม
(Cluster Random Sampling) จำานวน 37 คน เครื่องมือที่ใช้ในการ
วิจัยครั้งนี้ประกอบด้วย บทเรียนโปรแกรมวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง
ตัวประกอบของจำานวนนับ สำาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
แผนการจัดการเรียนรู้ และแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ผู้
วิจัยสร้างขึ้น ซึ่งมีความยากง่ายตั้งแต่ 0.31 - 0.66 ค่าอำานาจจำาแนก
ตั้งแต่ 0.40 - 0.80 และค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.90 สถิติที่ใช้ในการ
วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ
การทดสอบค่า t
2.3.2 หัวข้อโครงงาน: การพัฒนาเว็บบล็อก (WebBlog) ด้วย
Wordpress เรื่อง ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงาน : โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ผู้เสนอโครงงาน : นาย ณัฐพงษ์ แทนนรินทร์อชั้นมัธยมศึกษาปีที่
5/2 เลขที่ 46
ครูที่ปรึกษาโครงงาน : นางสมร ตาระพันธ์ ตำาแหน่ง ครูชำานาญ
การพิเศษ ปีการศึกษา : 2554
บทคัดย่อ
โครงงานการพัฒนาเว็บบล็อก (WebBlog) ด้วย Wordpress เรื่อง
ประเภทของคอมพิวเตอร์ นี้ จัดทำาขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อนำาเอารูป
แบบการเรียนรู้ยุคใหม่ที่ใช้สื่อสังคม หรือ Social Media ซึ่งเป็นสื่อที่ได้
รับความสนใจและเป็นที่นิยมในปัจจุบัน มาประยุกต์เข้ากับการเรียนรู้
โดยได้ศึกษารูปแบบและพัฒนาการเรียนรู้ในการจัดสร้างเว็บบล็อกด้วย
เว็บไซต์สำาเร็จรูปชื่อว่า Wordpress ทั้งนี้ได้ทำาการศึกษาค้นคว้าเนื้อหา
ความรู้ที่สนใจเกี่ยวกับเรื่องประเภทของคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยว
กับประเภขของคอมพิวเตอร์ โดยผู้จัดทำาโครงงานสามารถพัฒนารูป
แบบของเว็บบล็อกจาก Wordpress ได้ด้วยตนเองและนำามาประยุกต์ใช้
ให้เข้ากับการเรียนรู้ของตนเองมากยิ่งขึ้น และนำาได้นำาเสนอบทเรียน
ผ่านเว็บบล็อก ที่ http://nuttapongko.wordpress.com ทั้งนี้ ทำา ให้
สามารถติดต่อสื่อสารกันได้ระหว่างครูเพื่อนและผู้สนใจทั่วไปได้เป็น
อย่างดี

More Related Content

Similar to Lesson 2

บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
TheeraWat JanWan
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Chalita Vitamilkz
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง102 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1
Thanggwa Taemin
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Wilaiporn Seehawong
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Wilaiporn Seehawong
 
3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต
3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต
3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต
Meaw Sukee
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Supaporn Pakdeemee
 
อินทุอร
อินทุอรอินทุอร
อินทุอร
Miw Inthuorn
 
อินทุอร
อินทุอรอินทุอร
อินทุอร
Miw Inthuorn
 
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสานเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสานเทศการนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสานเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสานเทศ
Yongyut Nintakan
 
งานยิม
งานยิมงานยิม
งานยิม
YIMMIE89
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Ariya Soparux
 

Similar to Lesson 2 (20)

บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
คอม2
คอม2คอม2
คอม2
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8
 
บทที่ 2 ทวีชัย
บทที่ 2 ทวีชัยบทที่ 2 ทวีชัย
บทที่ 2 ทวีชัย
 
ใบงานท 2-8 (1)
ใบงานท   2-8 (1)ใบงานท   2-8 (1)
ใบงานท 2-8 (1)
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง102 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต
3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต
3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
อินทุอร
อินทุอรอินทุอร
อินทุอร
 
อินทุอร
อินทุอรอินทุอร
อินทุอร
 
ตัวอย่างบทที่ 3 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 3 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพตัวอย่างบทที่ 3 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 3 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
 
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสานเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสานเทศการนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสานเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสานเทศ
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
งานยิม
งานยิมงานยิม
งานยิม
 
งานยิม
งานยิมงานยิม
งานยิม
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 

More from นัสรุลเลาะห์ เจ๊ะยะหลี

More from นัสรุลเลาะห์ เจ๊ะยะหลี (9)

2.4 การสมัครและลักษณะ สมบูรณ์
2.4 การสมัครและลักษณะ สมบูรณ์2.4 การสมัครและลักษณะ สมบูรณ์
2.4 การสมัครและลักษณะ สมบูรณ์
 
Site map
Site mapSite map
Site map
 
First
FirstFirst
First
 
ปก สมบูรณ์
ปก สมบูรณ์ปก สมบูรณ์
ปก สมบูรณ์
 
Lesson 4
Lesson 4Lesson 4
Lesson 4
 
Lesson 3
Lesson 3Lesson 3
Lesson 3
 
ฟังก์ชันลอการิทึม(สมบัติของลอการิทึม)
ฟังก์ชันลอการิทึม(สมบัติของลอการิทึม)ฟังก์ชันลอการิทึม(สมบัติของลอการิทึม)
ฟังก์ชันลอการิทึม(สมบัติของลอการิทึม)
 
สมบัติของลอการิทึม
สมบัติของลอการิทึมสมบัติของลอการิทึม
สมบัติของลอการิทึม
 
ปก ลอการึทึม
ปก ลอการึทึมปก ลอการึทึม
ปก ลอการึทึม
 

Lesson 2

  • 1. บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 2.1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเว็บ เว็บคือการสื่อสารสองทางที่เปิดให้บริการตลอดเวลา เราสามารถ ใส่ข้อมูลต่างๆ ได้ ทั้งภาพ, เสียง, วีดีโอ, ตารางรายละเอียดต่างๆ และรับ ข้อมูลจากผู้เยี่ยมชมได้ เช่น ความคิดเห็น, แบบฟอร์มสั่งซื้อ,สถานะการ ทำางาน ฯลฯ เว็บที่ดี คือเว็บที่ตอบโจทย์ทั้งเจ้าของเว็บและคนเยี่ยมชม เว็บที่เป็นกลุ่มเป้าหมาย เช่น ผู้เยี่ยมชมสามารถหาข้อมูลที่ต้องการได้ ง่าย (ราคา, รูปภาพสินค้า/บริการ, แผนที่, เบอร์ติดต่อ) ข้อมูลอัพเดท สมำ่าเสมอ มีระบบที่เพียงพอกับการสื่อสาร/รับส่งข้อมูล เว็บเป็นระบบที่ ประยุกต์ใช้ได้หลายรูปแบบ ทำาให้หากต้องมีการวิเคราะห์ระบบและ ออกแบบตามความต้องการโดยละเอียด จะต้องใช้เวลาและงบประมาณ สูงมาก (บริษัทไทเกอร์ ไอเดีย ของผม รับงานเว็บขององค์กร/โรงแรม/ ร้านค้า อาจมีราคาเริ่มต้นที่ 5 หมื่นบาท, เว็บระบบหุ้น/ธนาคารบนอินเต อร์เน็ท เริ่มต้นที่ราคา 5 ล้านบาท) แต่หากเป็นเว็บที่นำาเสนอข้อมูลทั่วๆ ไป ที่ไม่ต้องการการวิเคราะห์ระบบ เราอาจใช้ระบบที่ออกแบบสำาหรับ การจัดการข้อมูลพื้นฐานได้ เรียกว่า Content Management System (CMS) ซึ่งอาจเรียกว่าโปรแกรมเว็บสำาเร็จรูป มีหลากหลายโปรแกรม เช่น WordPress, Drupal, Joomla ทำาให้การทำาเว็บในปัจจุบัน หาก ใช้โปรแกรมสำาเร็จรูป และจัดการข้อมูลเอง อาจจะมีค่าใช้จ่ายเหลือ เพียงค่าชื่อเว็บ (โดเมน) และที่อยู่เว็บ (โฮสติ้ง) ซึ่งประมาณปีละ 1-2 พันบาท การทำาเว็บบล็อก(WebBlog) ด้วย Wordpress เรื่องตรีโกณมิติ ผู้ จัดทำาได้ศึกษา เอกสารจากเว็บไซต์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องดังนี้ 2.1.1 บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอนในปัจจุบันเป็นไปอย่างกว้างขวาง และอำานวยประโยชน์อย่างมหาศาลในทุกวงการและสาขาวิชาโดย เฉพาะอย่างยิ่งได้มีการพยายามนำาเอาคอมพิวเตอร์มาใช้ประโยชน์ต่อ การเรียนการสอนในลักษณะโปรแกรมสำาเร็จรูปที่ช่วยผู้เรียนให้ สามารถเรียนและทบทวนบทเรียนได้ทุกเวลากระตุ้นให้เกิดความสนใจ ตลอดจนช่วยลดปัญหาการเรียนการสอนได้คอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการ
  • 2. เรียนการสอนนี้สามารถเรียกได้หลายชื่อด้วยกันเช่นซีเอไอ (CAI : Computer assisted instruction), ซีเอแอล (CAL :Computer assisted learning), ซีบีอี (CBE : Computer based education), ซีบี ไอ (CBI : Computer based instruction), ซีบีแอล (CBL : Computer based learning) (วชิระวิชชุวรนันท์. 2544 : 2 - 3) ในที่นี้ผู้วิจัยจะใช้ คำาว่าซีเอไอ (CAI : Computer assisted instructional) ในการเรียก บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนซึ่งผู้วิจัยจะนำาเสนอรายละเอียดเกี่ยวกับ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนดังต่อไปนี้ 2.1.2 ความหมายของคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นักการศึกษาและ นักวิชาการต่างๆได้ให้ความหมายคำา ว่า คอมพิวเตอร์ช่วยสอนไว้หลายท่านด้วยกันดังนี้ ราชบัณฑิตยสถาน (2535 : 32) กล่าวว่าคอมพิวเตอร์ช่วย สอนหมายถึงการสอนที่ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ชูเกียรติโพธิ์มั่น (2541 : 82) กล่าวว่าคอมพิวเตอร์ช่วย สอนหมายถึงการนำาคอมพิวเตอร์มาช่วยในการสอนโดยที่คอมพิวเตอร์ จะทำาหน้าที่ในการนำาเสนอบทเรียนแทนครูผู้สอนและผู้เรียนสามารถ เรียนรู้ได้ด้วยตนเองจากคอมพิวเตอร์ สเปนเซอร์ (Spencer. 1977 : 50) กล่าวว่าคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนหมายถึงการใช้คอมพิวเตอร์ในการเรียนการสอนส่วนบุคคล โดยให้ลำาดับขั้นตอนของการเรียนการสอนกับผู้เรียนภายใต้การควบคุม ของคอมพิวเตอร์อัตราความก้าวหน้าในการเรียนขึ้นอยู่กับตัวของผู้ เรียนเอง สิปเปิลล์ (Sipple. 1981 : 77) กล่าวว่าคอมพิวเตอร์ช่วย สอนหมายถึงเครื่องมือที่ถูกนำามาช่วยในการเรียนของนักเรียนเป็นการ โต้ตอบกันระหว่างผู้เรียนและขั้นตอนคำาสั่งของคอมพิวเตอร์ซึ่งสามารถ บอกข้อบกพร่องของผู้เรียนได้เมื่อกระทำาผิดพลาด จากความหมายที่กล่าวมาข้างต้นสรุปได้ว่าคอมพิวเตอร์ช่วย สอนหมายถึงสื่อการเรียนการสอนที่นำาคอมพิวเตอร์มาใช้ในการนำา เสนอบทเรียนให้แก่นักเรียนโดยบรรจุเนื้อหาความรู้กิจกรรมแบบฝึกหัด แบบทดสอบและสถานการณ์จำาลองลงในโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่สร้าง ขึ้นเพื่อให้ผู้เรียนได้ศึกษาด้วยตนเองโดยการกระตุ้นการโต้ตอบตาม ความแตกต่างของแต่ละบุคคลและมีการเสริมแรงแก่ผู้เรียนซึ่งการนำา เสนอเนื้อหาของบทเรียนจะอยู่ในรูปของตัวอักษรข้อความภาพนิ่ง้ภาพ เคลื่อนไหวและเสียงประกอบโดยที่นักเรียนสามารถโต้ตอบและแสดงผล การเรียนของนักเรียนได้ 2.1.3 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
  • 3. บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่นิยมใช้ในปัจจุบันมี 7 ประเภทดังนี้ 1) แบบการสอนหรือทบทวน (Tutorial instruction) เป็นบท เรียนซึ่งนำาเสนอเนื้อหาแก่ผู้เรียนไม่ว่าจะเป็นเนื้อหาใหม่หรือการ ทบทวนเนื้อหาเดิมเป็นเหมือนครูสอนนักเรียนเป็นรายบุคคลบทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอนก็จะต้องดำาเนินตามขั้นตอนวิธีการสอนบทเรียน หนึ่งๆจะมีแบบทดสอบหรือแบบฝึกหัดแทรกอยู่เพื่อทดสอบความเข้าใจ ของผู้เรียนและสามารถให้ผู้เรียนย้อนกลับไปเรียนบทเรียนเดิมหรือข้าม ไปเรียนบทเรียนที่เรียนรู้แล้วโดยสามารถใช้สอนได้ในแทบทุกสาขา วิชาและเป็นบทเรียนที่เหมาะสมในการเสนอเนื้อหาข้อมูลที่เกี่ยวกับข้อ เท็จจริง 2) แบบการฝึกหัด (Drills and practice) เป็นแบบฝึกหัดจาก คอมพิวเตอร์ที่จะเสริมเมื่อผู้สอนได้สอนบทเรียนบางอย่างจบไปแล้วและ ให้นักเรียนทำาแบบฝึกหัดจากคอมพิวเตอร์เพื่อวัดระดับของการเรียนรู้ ในเนื้อหาที่เรียนไปแล้วโดยให้ฝึกจนถึงระดับที่ผู้เรียนยอมรับได้ เป็นการเปิดโอกาสให้ผู้เรียนที่เรียนอ่อนหรือเรียนไม่ทันคนอื่นๆได้มี โอกาสทำาความเข้าใจบทเรียนโดยผู้สอนไม่ต้องเสียเวลาอธิบายเนื้อหา เดิมซำ้าแล้วซำ้าอีกบทเรียนแบบฝึกหัดและปฏิบัติจึงประกอบด้วยคำาถามคำา ตอบที่จะทำาให้นักเรียนทำาการฝึกและปฏิบัติในแบบฝึกหัดเหล่านี้ 3) แบบการจำาลอง (Simulation) เพื่อใช้สำาหรับการเรียนรู้ หรือทดลองจากสภาพการณ์จำาลองจากสถานการณ์จริงซึ่งอาจจะหาไม่ ได้หรืออยู่ไกลไม่สามารถนำาเข้ามาในห้องเรียนได้หรือมีสภาพอันตราย หรืออาจสิ้นเปลืองมากที่ต้องใช้ของจริงซำ้าๆสามารถใช้สาธิตประกอบ การสอนใช้เสริมการสอนในห้องเรียนหรือใช้ซ่อมเสริมภายหลังการ เรียนนอกห้องเรียนที่ใดเวลาใดก็ได้ 4) แบบเกมเพื่อการสอน (Instructional games) เป็นบท เรียนคอมพิวเตอร์ที่ทำาให้ ผู้ใช้มีความสนุกสนานเพลิดเพลินจนลืมไปว่ากำาลังเรียนอยู่จะช่วย กระตุ้นให้เกิดความสนใจในการเรียนให้นักเรียนมีโอกาสฝึกเกมการ ศึกษาหลายเรื่องที่ช่วยพัฒนาความคิดความอ่านต่างๆได้ดีเกมเหล่านี้ นอกจากจะเป็นการสร้างความบันเทิงแล้วยังสามารถช่วยพัฒนาความรู้ ต่างๆได้เป็นอย่างดีอีกด้วย 5) แบบการค้นพบ (Discovery) เป็นการจัดทำาเพื่อให้ผู้เรียน เรียนรู้จากประสบการณ์จากตนเองให้มากที่สุดโดยการเสนอปัญหาให้ผู้
  • 4. เรียนแก้ไขด้วยการลองผิดลองถูกโปรแกรมคอมพิวเตอร์จะให้ข้อมูลแก่ ผู้เรียนเพื่อช่วยในการค้นพบนั้นจนกว่าจะได้ข้อสรุปที่ดีที่สุด 6) แบบการแก้ปัญหา (Problem - solving) เป็นการฝึกการ คิดการตัดสินใจสามารถ ใช้กับวิชาการต่างๆที่ต้องการให้สามารถคิดแก้ปัญหาใช้เพื่อเสริมการ สอนในห้องเรียนหรือ ใช้ในการฝึกทั่ว ๆ ไป 7) แบบการทดสอบ (Tests) เป็นแบบทดสอบเพื่อใช้สำาหรับ ตรวจวัดความรู้ของผู้เรียนสามารถใช้ประกอบการสอนในห้องเรียนหรือ ใช้ตามความต้องการของครูหรือของผู้เรียนเองรวมทั้งสามารถใช้นอก ห้องเรียนสามารถใช้วัดความสามารถของตนเองได้ด้วยบทเรียนที่ใช้ เพื่อการเรียนการสอนด้วยคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นจะ เป็นการประยุกต์ระหว่างแบบการสอนหรือทบทวนแบบการฝึกหัดและ แบบการจำาลองโดยเป็นแบบรวมวิธีการต่างๆเข้าด้วยกันโดยมีการนำา เสนอเนื้อหาแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนแบบฝึกทักษะปฏิบัติ ของแต่ละหน่วยการเรียนมีการสร้างเมนู (Menu) รายการต่างๆที่มีใน บทเรียนเพื่อให้ผู้เรียนเลือกศึกษาตามลำาดับหน่วยการเรียนรู้ 2.1.4 ประโยชน์ของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน จากการที่วงการศึกษาได้นำาเอาคอมพิวเตอร์มาใช้ในการจัดการ ศึกษาในลักษณะของคอมพิวเตอร์ช่วยสอนนั้นปรากฏว่าเป็นที่ยอมรับ กันในวงการศึกษาเพราะคอมพิวเตอร์มีประโยชน์ต่อผู้เรียนหลาย ประการดังที่นักการศึกษาได้กล่าวไว้ดังนี้ ถนอมพรเลาหจรัสแสง (2541 : 12) ได้สรุปเกี่ยวกับ ประโยชน์ของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนในการนำาไปใช้ทางการ ศึกษาดังนี้ 1) คอมพิวเตอร์ช่วยสอนเกิดจากความพยายามในการที่จะ ช่วยให้ผู้เรียนที่เรียนอ่อนสามารถใช้เวลานอกเวลาเรียนในการฝึกฝน ทักษะและเพิ่มเติมความรู้เพื่อที่จะปรับปรุงการเรียนของตนให้ทันผู้เรียน อื่นได้ดังนั้นผู้สอนจึงสามารถนำาคอมพิวเตอร์ช่วยสอนไปใช้ช่วยในการ สอนเสริมหรือสอนทบทวนการสอนปกติในชั้นเรียนได้โดยที่ผู้สอนไม่ จำาเป็นต้องเสียเวลาในการสอนซำ้ากับผู้เรียนที่ตามไม่ทันหรือจัดการสอน เพิ่มเติม 2) ผู้เรียนก็สามารถนำาคอมพิวเตอร์ช่วยสอนไปใช้ในการ เรียนด้วยตนเองในเวลาและสถานที่ซึ่งผู้เรียนสะดวกเช่นแทนที่จะต้อง เดินทางมายังชั้นเรียนตามปกติผู้เรียนก็สามารถเรียนด้วยตนเองจากที่ บ้านได้นอกจากนั้นยังสามารถเรียนในเวลาใดก็ได้ตามที่ต้องการ
  • 5. 3) คอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่ได้รับการออกแบบมาอย่างดีถูก ต้องตามหลักของการออกแบบคอมพิวเตอร์ช่วยสอนนั้นสามารถที่จะ จูงใจผู้เรียนให้เกิดความกระตือรือร้น (Motivated) ที่จะเรียนและ สนุกสนานไปกับการเรียน กิดานันท์มลิทอง (2543 : 249 - 250) ได้สรุปเกี่ยวกับ ประโยชน์ของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนในการนำาไปใช้ทางการ ศึกษาดังนี้ 1)คอมพิวเตอร์จะช่วยเพิ่มแรงจูงใจในการเรียนรู้ให้ แก่ผู้เรียนเนื่องจากการเรียนด้วยคอมพิวเตอร์เป็นประสบการณ์ที่แปลก ใหม่ 2)การใช้สีภาพลายเส้นที่แลดูคล้ายเคลื่อนไหวตลอด จนเสียงดนตรีจะเป็นการเพิ่มความเหมือนจริงและเร้าใจผู้เรียนให้เกิด ความอยากเรียนรู้ทำาแบบฝึกหัดหรือทำากิจกรรมต่างๆ 3)ความสามารถของหน่วยความจำา ของเครื่อง คอมพิวเตอร์ช่วยในการบันทึกคะแนนและพฤติกรรมต่างๆของผู้เรียนไว้ เพื่อใช้ในการวางแผนบทเรียนในขั้นต่อไปได้ 4)ความสามารถในการเก็บข้อมูลของเครื่องทำาให้ สามารถนำามาใช้ได้ในลักษณะของการศึกษารายบุคคลได้เป็นอย่างดี โดยสามารถกำาหนดบทเรียนให้แก่ผู้เรียนแต่ละคนและแสดงผลความ ก้าวหน้าให้เห็นได้ทันที 5)ลักษณะของโปรแกรมบทเรียนที่ให้ความเป็นส่วน ตัวแก่ผู้เรียนเป็นการช่วยให้ ผู้เรียนที่เรียนช้าสามารถเรียนไปได้ตาม ความสามารถของตนโดยสะดวกอย่างไม่รีบเร่งโดย ไม่ต้องถามผู้อื่นและไม่ต้องอายเพื่อนเมื่อตอบผิด 6)เป็นการช่วยขยายขีดความสามารถของผู้สอนใน การควบคุมผู้เรียนได้อย่างใกล้ชิดเนื่องจากสามารถบรรจุข้อมูลได้ง่าย และสะดวกในการนำาออกมาใช้ วชิระวิชชุวรนันท์ (2544 : 5) ได้สรุปเกี่ยวกับประโยชน์ ของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนในการนำาไปใช้ทางการศึกษาดังนี้ 1) ผู้เรียนสามารถศึกษาได้ตามความสามารถความ สนใจและไม่จำากัดเรื่องเวลา 2)ไม่เบื่อหน่ายจากการเรียนบทเรียนสามารถนำาเสนอ ได้ทั้งข้อความภาพสีสันและเสียงมีความน่าสนใจ 3) ผู้เรียนสามารถประเมินผลความก้าวหน้าได้โดย อัตโนมัติ 4) ผู้เรียนสามารถทบทวนบทเรียนที่เรียนมาแล้ว
  • 6. 5) ฝึกให้ผู้เรียนคิดอย่างมีเหตุผลจากการที่ต้องคอยแก้ ปัญหาอยู่ตลอดเวลา 6) ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้อย่างแท้จริงเพราะบทเรียน บังคับให้ผู้เรียนต้องเรียนรู้ก่อนจึงผ่านบทเรียนนั้นได้และไม่สามารถ แอบดูคำาตอบได้ก่อน 7) ผู้เรียนได้เรียนตามลำาดับความยากง่ายทำาให้เข้าใจ ชัดเจน 8) ทำาให้ผู้เรียนมีทัศนคติที่ดีต่อวิชาที่เรียนซึ่งเกิดจากมี โอกาสประสบความสำาเร็จในการเรียนสูง 9)ผู้สอนใช้เวลาสอนด้วยตนเองน้อยลงมีเวลาเหลือไป ศึกษาและพัฒนาการเรียนการสอนมากขึ้น 10) ช่วยพัฒนาผลงานทางวิชาการ 11) ผู้สอนทราบความสามารถของผู้เรียนได้อย่างต่อ เนื่อง เดนิส (Dennis.1984) ได้สรุปเกี่ยวกับประโยชน์ของบท เรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนในการนำาไปใช้ทางการศึกษาดังนี้ 1)ช่วยแก้ปัญหาการสอนแบบตัวต่อตัวผู้สอนสามารถ ตอบสนองต่อความต้องการของผู้เรียนได้ทันที 2) ช่วยทำาให้ผู้เรียนแต่ละคนเรียนรู้ได้ตามความสามารถ ของตนเองสามารถที่จะเลือกเรียนด้วยระยะเวลาเท่าใดก็ได้ตามความ สามารถของตนเองและยังเลือกเรียนเฉพาะเนื้อหา ส่วนที่ต้องการทบทวนและไม่เลือกเรียนเนื้อหาส่วนที่เข้าใจแล้วได้อีก ด้วย 3) ช่วยแก้ปัญหาการขาดแคลนครูและเป็นรูปแบบของ การเรียนการสอนที่พร้อม จะทำางานอย่างต่อเนื่องตลอดเวลาไม่มีขีดจำากัดทางอารมณ์ไม่เคย เหนื่อยเบื่อหน่ายไม่บ่นและอารมณ์เสียกับผู้เรียนซึ่งจะส่งผลต่อผล สัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนสูงสุด 4) ช่วยแก้ปัญหาการขาดแคลนเวลาซึ่งนับว่าเป็นสิ่งที่มี ค่ายิ่งสำาหรับทุกคนในปัจจุบันซึ่งถือว่าเป็นรูปแบบของการเรียนการสอน ที่มีประสิทธิภาพมากวิธีหนึ่งที่ใช้เวลา ในการเรียนน้อย จากการพิจารณาประโยชน์ของคอมพิวเตอร์ช่วยสอนดัง กล่าวข้างต้นสรุปได้ว่าบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมีประโยชน์ที่ สามารถนำาไปใช้ในทางการศึกษาดังนี้
  • 7. 1)ผู้เรียนสามารถศึกษาได้ตามความสามารถความสนใจ ของตนเองและไม่มีข้อจำากัดของเรื่องเวลา 2)ผู้เรียนไม่เบื่อหน่ายจากการเรียนบทเรียนสามารถนำา เสนอได้ทั้งข้อความภาพสีสันและเสียงมีความน่าสนใจ 3) ผู้เรียนสามารถทบทวนบทเรียนที่เรียนมาแล้ว 4) ผู้เรียนสามารถทราบถึงความก้าวหน้าของตนเองได้ อย่างต่อเนื่อง 5) ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้อย่างแท้จริงเพราะบทเรียน บังคับให้ผู้เรียนต้องเรียนรู้ก่อนจึงผ่านบทเรียนนั้นได้และในการทำาแบบ ทดสอบผู้เรียนไม่สามารถดูคำาตอบได้ก่อน 6) ผู้เรียนได้เรียนตามลำาดับความยากง่ายทำาให้เข้าใจ ชัดเจน 7) ทำาให้ผู้เรียนมีทัศนคติที่ดีต่อวิชาที่เรียนผู้เรียนจึงมี โอกาสประสบความสำาเร็จ ในการเรียนสูง 8) ผู้สอนใช้เวลาสอนด้วยตนเองน้อยลงมีเวลาเหลือไป ศึกษาและพัฒนาการเรียนการสอนมากขึ้น 9) ผู้สอนสามารถทราบความสามารถของผู้เรียนได้อย่าง ต่อเนื่อง 2.1.5 แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการสร้างบทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอน คอมพิวเตอร์ช่วยสอนเป็นสื่อการเรียนการสอนรายบุคคลประเภท หนึ่งที่นำาเอาหลักการของบทเรียนโปรแกรม (Programmed instruction) และคอมพิวเตอร์มาผสมผสานกันเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพใน การทำาหน้าที่เป็นสื่อกลางการเรียนรู้ของผู้เรียนเป็นรายบุคคลการสร้าง คอมพิวเตอร์ช่วยสอนผู้สร้างนอกจากจะมีความรู้ในเนื้อหาวิชาและมี ความรู้ในการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์เป็นอย่างดีแล้วยังต้องมีความรู้ ความสามารถในเรื่องหลักจิตวิทยาการเรียนรู้และหลักการสร้างบทเรียน โปรแกรมเป็นอย่างดีด้วยจึงจะสามารถสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วย สอนที่มีคุณภาพ ทฤษฎีและหลักจิตวิทยาการเรียนรู้ที่นำามาเป็นแนวทางการสร้าง บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนในการจัดการเรียนการสอนเพื่อให้ผู้เรียน บรรลุข้อตกลงเบื้องต้นของการศึกษาคือให้เกิดการเรียนรู้ตามเป้าหมาย ของการศึกษาการถ่ายทอดความรู้และมุ่งพัฒนาการทางด้านสติปัญญา ความสามารถประยุกต์ความรู้ที่ได้เรียนไปแล้วมาใช้ในสถานการณ์ใหม่
  • 11. 5. สมบัติข้อที่ 5 ตัวอย่าง 1) 2) 6. สมบัติข้อที่ 6 ตัวอย่าง 1) 2)
  • 12. 7. สมบัติข้อที่ 7 ตัวอย่าง 1) 2) 8. สมบัติข้อที่ 8 ตัวอย่าง 1) 2)
  • 14. 3) 4)
  • 15. 2.3 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 2.3.1 ชื่อเรื่อง รายงานผลการพัฒนาบทเรียนโปรแกรมวิชา คณิตศาสตร์ เรื่อง ตัวประกอบของ จำา นวนนับ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนเทศบาลบูรพา พิทยาคาร ชื่อผู้ศึกษา นายเชาวะลิตร สีแนน สถานศึกษา โรงเรียนเทศบาลบูรพาพิทยาคาร กองการ ศึกษา เทศบาลเมืองมหาสารคาม ปีที่ทำาการศึกษา พ.ศ. 2553 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาบทเรียน โปรแกรมวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง ตัวประกอบของจำานวนนับ สำาหรับ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 และ มีค่าดัชนีประสิทธิผลไม่น้อยกว่า 0.50 และเพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง ตัวประกอบของจำานวนนับ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ระหว่างคะแนนทดสอบก่อนเรียน และหลังเรียนโดยใช้บทเรียนโปรแกรมที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น กลุ่มตัวอย่างที่ ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/2 โรงเรียน เทศบาลบูรพาพิทยาคาร สังกัดกองการศึกษา เทศบาลเมือง มหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม ที่ได้มาจากการสุ่มแบบสุ่มกลุ่ม (Cluster Random Sampling) จำานวน 37 คน เครื่องมือที่ใช้ในการ วิจัยครั้งนี้ประกอบด้วย บทเรียนโปรแกรมวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง ตัวประกอบของจำานวนนับ สำาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 แผนการจัดการเรียนรู้ และแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ผู้ วิจัยสร้างขึ้น ซึ่งมีความยากง่ายตั้งแต่ 0.31 - 0.66 ค่าอำานาจจำาแนก ตั้งแต่ 0.40 - 0.80 และค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.90 สถิติที่ใช้ในการ
  • 16. วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ การทดสอบค่า t 2.3.2 หัวข้อโครงงาน: การพัฒนาเว็บบล็อก (WebBlog) ด้วย Wordpress เรื่อง ประเภทของคอมพิวเตอร์ ประเภทของโครงงาน : โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ผู้เสนอโครงงาน : นาย ณัฐพงษ์ แทนนรินทร์อชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/2 เลขที่ 46 ครูที่ปรึกษาโครงงาน : นางสมร ตาระพันธ์ ตำาแหน่ง ครูชำานาญ การพิเศษ ปีการศึกษา : 2554 บทคัดย่อ โครงงานการพัฒนาเว็บบล็อก (WebBlog) ด้วย Wordpress เรื่อง ประเภทของคอมพิวเตอร์ นี้ จัดทำาขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อนำาเอารูป แบบการเรียนรู้ยุคใหม่ที่ใช้สื่อสังคม หรือ Social Media ซึ่งเป็นสื่อที่ได้ รับความสนใจและเป็นที่นิยมในปัจจุบัน มาประยุกต์เข้ากับการเรียนรู้ โดยได้ศึกษารูปแบบและพัฒนาการเรียนรู้ในการจัดสร้างเว็บบล็อกด้วย เว็บไซต์สำาเร็จรูปชื่อว่า Wordpress ทั้งนี้ได้ทำาการศึกษาค้นคว้าเนื้อหา ความรู้ที่สนใจเกี่ยวกับเรื่องประเภทของคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยว กับประเภขของคอมพิวเตอร์ โดยผู้จัดทำาโครงงานสามารถพัฒนารูป แบบของเว็บบล็อกจาก Wordpress ได้ด้วยตนเองและนำามาประยุกต์ใช้ ให้เข้ากับการเรียนรู้ของตนเองมากยิ่งขึ้น และนำาได้นำาเสนอบทเรียน ผ่านเว็บบล็อก ที่ http://nuttapongko.wordpress.com ทั้งนี้ ทำา ให้