SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
สํา นั ก ง า น ป ร ม า ณู เ พื ่ อ สั น ติ
                          Science Tip
                      งานเผยแพรและการประชาสัมพันธ http://www.oaep.go.th/pr




                                                                                          เรียบเรียงโดย นฤพนธ เพ็ญศิริ
1 กุมภาพันธ
                        การแพรภาพการระเบิดของระเบิดปรมาณู
    ในป 1951 สถานีโทรทัศน KTLA ไดแพรภาพการระเบิดของระเบิด
    ปรมาณูใหสาธาณชนชมทางโทรทัศนเปนครั้งแรก เหตุการณนี้
    บันทึกภาพโดยใชกลองของ NBC ติดตั้งอยูที่ภูเขา Wilson ซึ่งอยูหาง 300
    ไมล จากจุดที่ทําการทดสอบ ที่ Frenchman Flats รัฐ Nevada
    สหรัฐอเมริกา

4 กุมภาพันธ
                                    เจอรมาเนียม
                                    ในป 1886 ไดมีการคนพบธาตุ เจอรมาเนียม โดยนักเคมีชาวเยอรมัน Clement Winkler ซึ่ง
                                        กําลังทํางานเกี่ยวกับการใชโคบอลตในแกว ที่มหาวิทยาลัย Freiberg School of Mining เมื่อ
                                        ไดคนพบเจอรมาเนียมในแร argyrodite ขณะกําลังวิเคราะหแรเงินซัลไฟด เขาพบวา ธาตุที่
                                        วิเคราะหได มีเพียงรอยละ 93 ของน้ําหนัก ที่เขา
                                        รูจัก เมื่อตรวจสอบอีกรอยละ 7 ที่เหลือ เขาไดพบวา
เปนธาตุใหม จึงตั้งชื่อวา เจอรมาเนียม (Germanium) ตามชื่อประเทศเยอรมัน (Germany)
ซึ่งเปนธาตุที่อยูในหมูเดียวกัน ถัดจากซิลิกอนตามที่ Dmitry I. Mendeleyeev ทํานายไว
ในป 1871 โดยปจจุบันเจอรมาเนียม มีการประยุกตใชมากมายในอุตสาหกรรมตางๆ
โดยเฉพาะเปนสวนประกอบของ เซมิคอนดักเตอรและสวนประกอบของเลนตตางๆ


7 กุมภาพันธ
                                                                            การถายภาพดวยรังสีเอกซ
                                                ในป 1896 มีการใชรังสีเอกซในการถายภาพเพื่อหาตําแหนงของลูกกระสุนปน
                                         ในศีรษะของเด็ก เปนครั้งแรกที่เมือง Liverpool ประเทศอังกฤษ ภายหลังจากการ
                                         โฆษณาคุณสมบัติของรังสีเอกซครั้งแรกไมถึงสัปดาห



                                                                                                                             1
9 กุมภาพันธ
                                   อุบัติเหตุนิวเคลียรที่ญี่ปุน
      ในป 1991 ญี่ปุนไดเกิดอุบัติทางนิวเคลียรที่ Mihama โดยเกิดการระเบิดของทอภายในเครื่องกําเนิดไอน้ํา ทําใหสาร
                                                       กัมมันตรังสี ในน้ําของระบบแลกเปลี่ยนความรอนระบบแรก จํานวน 55 ตัน
                                                       ไหลเขาสูระบบที่ 2 ของเครื่องกําเนิดไอน้ํา กัมมันตภาพรังสีบางสวนได
                                                       รั่วไหลออกสูบรรยากาศ ซึ่งไปทําใหอุปกรณฉุกเฉินของระบบระบายความ
                                                       รอนทํางาน กระทรวงการคาและอุตสาหกรรม (MITI) ไดรายงานใน
                                                       ภายหลังวา เปนอุบติเหตุที่เกิดจากความผิดพลาดของมนุษย ในตอนที่
                                                                            ั
                                                       คนงานไดติดตั้งแทงตอตานการแกวง (anti-vibration bars) และไดเลื่อย
                                                       บางสวนออกเพื่อใหความยาวพอดี มีรังสีรั่วไหลออกสูบรรยากาศปริมาณ
                                                       เล็กนอย ไมมีผูเสียชีวิต มีการตรวจสอบติดตาม เพื่อปองกันการเกิดอุบัติเหตุ
ซ้ํา รวมทั้งมีการเปลี่ยนเครื่องกําเนิดไอน้ําใหมดวย
11 กุมภาพันธ
                          ปฏิกิรยาฟชชันของอะตอม
                                ิ
                                            ในป 1939 วารสาร Nature ไดตีพิมพทฤษฎีของนิวเคลียรฟชชัน ซึ่งเปนชื่อที่
                                                  ตั้งขึ้นโดยผูเขียน ไดแก Lise Meitner และหลานชาย Otto Fritsch พวกเขา
                                                  ทราบจากผลการทดลองวา ถายิงนิวเคลียสของยูเรเนียมดวยนิวตรอน จะทําให
                                                  เกิดธาตุแบเรียม เพื่อหาคําอธิบาย เขาไดใชทฤษฎีหยดของเหลวของบอร
                                                  (Bohr's "liquid drop" model) เพื่อใหเห็นภาพวา นิวตรอนไดเหนี่ยวนําให
                                                  นิวเคลียสของยูเรเนียมเกิดการสั่น ทําใหยืดออกเปนรูปที่ยกน้ําหนัก
                                                  (dumbbell) บางทีแรงผลักระหวางโปรตอนของลูกตุมแตละดาน อาจจะทําให
                                                  สวนคอดที่เชื่อมอยูขาดลง กลายเปน 2 นิวเคลียส จากการคํานวณพบวา มี
                                                  พลังงานสูงมากถูกปลดปลอยออกมา เรื่องนี้ไดกลายเปนพื้นฐานของปฏิกิริยา
                                                  นิวเคลียรตอเนื่อง (nuclear chain reaction)
13 กุมภาพันธ.
                                    ระเบิดปรมาณูของฝรั่งเศส
                                        ในป 1960 ไดทดลองระเบิดพลูโตเนียมลูกแรก ที่ความสูง 330 ฟุต บนหอซึ่งตั้งอยูที่ฐาน
                                        Reggane ในทะเลทรายซาฮารา บริเวณที่เรียกวา French Algeria เมื่อวันที่ 18 ตุลาคม
                                        1945 คณะกรรมการพลังงานปรมาณู ไดกอตั้งขึ้นโดยนายพลชารล เดอ โกลด (Charles
                                        de Gaulle) โดยมีวัตถุประสงคในการ
                                        เพิ่มศักยภาพการใชประโยชน
                                        พลังงานปรมาณู ทางดาน
                                        วิทยาศาสตร อุตสาหกรรมและ
                                        การทหาร และเมื่อวันที่ 22 ก.ค. 1958
                                        นายพลเดอโกลด ไดใชอํานาจ
                                        นายกรัฐมนตรี กําหนดวันที่ทําการ
                                        ทดลองระเบิดปรมาณูลูกแรก ใหอยู


                                                                                                                                2
ในชวง 3 เดือนแรกของป 1960 โดยมีเปาหมายที่จะแสดงศักยภาพและบทบาทขอฝรั่งเศสในเวทีโลก เดอโกลดตองการสราง
ศักยภาพทางนิวเคลียรในกับประเทศ ทั้งทางดานเครื่องบินรบ ขีปนาวุธ และเรือดําน้ํา

                                การทดลองหยดน้ํามันของมิลลิแกน
                                           ในป 1912 Robert Millikan ไดเริ่มรวบรวมขอมูล จากการทดลองเรื่องหยดน้ํามัน
                                           ที่มีชื่อเสียงของเขา ในวันนี้ เขาไดรวบรวมและตีพิมพเรื่องผลการสังเกตหยด
                                           น้ํามัน 58 หยดเปนครั้งแรก มิลลิแกนใชผลการวัดการสั่นของหยดน้ํามันใน
                                           สนามไฟฟา เพื่อหาคาของประจุมูลฐานของอนุภาค เขาไดรับรางวัลโนเบลสาขา
                                           ฟสิกส ในป 1923 จากการเปนผูบุกเบิก ในการวัดประจุของอิเล็กตรอน



18 กุมภาพันธ.
                                  ไอโซโทป
                                  ในป 1913 Frederick Soddy ซึ่งเปนทั้งนักเคมีและนักฟสิกส ชาวอังกฤษ ไดเริ่มนําคําวา
                                     ไอโซโทป (isotope) มาใช Soddy ไดรับรางวัลโนเบลในป 1921 จากผลงานการวิจัยในการ
                                     หาสารกัมมันตรังสี เขาไดรายงานวามีบาง
                                     ธาตุที่อยูในตําแหนงบนตารางธาตุที่
                                     เดียวกัน มีการเปลี่ยนแปลงของกัมมันต
                                     ภาพรังสี ที่แตกตางกัน เมื่อวันที่ 18 ก.พ.
1913 เขาไดใชชื่อหนวยของธาตุ ที่มีคุณสมบัติตางกันนี้วา ไอโซโทป ซึ่งมา
จากภาษากรีก ที่แปลวา ที่เดียวกัน (same place) เขาไดรับยกยองจากการคนพบธาตุ โปรแทกทีเนียม (protactinium) ในป 1917
                                ตารางธาตุของ Mendeleev
                                 ในป 1869 Dmitri Mendeleev นักวิทยาศาสตรชาวรัสเซีย ไดยกเลิกแผนการไปหยุด
                                 พักผอน และทํางานอยูที่บาน เพื่อแกปญหาในการจัดเรียงธาตุทางเคมีใหเปนระบบ เขา
                                 เริ่มตนโดยการเขียนชื่อและคุณสมบัติ
                                 ของแตละธาตุ ลงในบัตรแตละใบ แลว
                                 นํามาวางเรียงกันใหหลายๆ รูปแบบ
                                 ในที่สุด เมื่อไดรูปแบบที่เหมาะสม จึง
                                 คัดลอกลงบนกระดาษ จากนั้น ไดจัด
                                 กลุมธาตุตามคุณสมบัติใหม ใหธาตุที่มี
สมบัติทางเคมีคลายกัน เปนตารางในแนวตั้งเปนหมูเดียวกัน แบบเดียวกับที่
ใชกันอยูในทุกวันนี้
20 กุมภาพันธ.
                            การผลิตสารกัมมันตรังสี
                           ในป 1934 มีรายงานของ Frederic Joliot ถึงความเปนไปได ที่จะทําใหธาตุหลายชนิด มี
                           กัมมันตภาพรังสี โดยการยิงดวยไอออนของไฮโดรเจน Ernest O. Lawrence กับเพื่อนรวมทีม จึง
                           ไดเริ่มทดลองยิงธาตุไนโตรเจน โดยใชไซโคลตรอน ทําใหพวกเขาสามารถผลิตสารกัมมันตรังสี
                           ชนิดใหม และในระหวางหลายป ที่ Lawrence ไดทํางานวิจัย ในการประดิษฐไซโคลตรอนนั้น เขา

                                                                                                                           3
ไมเคยตรวจสอบเลยวา มีกัมมันตภาพรังสีเกิดขึ้นหรือไม จากการยิงดวยไฮโดรเจน ดังนั้นจึง
                                ถือไดวา Joliot เปนผูคนพบวิธีการผลิตสารกัมมันตรังสี สวนกลุมของ Lawrence เปนผูที่
                                ยืนยันถึงวิธีการ
24 กุมภาพันธ
                                ยูเรเนียม
                                ในป 1936 Henri Becquerel ไดแจงแก วิทยาลัยวิทยาศาสตรฝรั่งเศส (French Academy of
                                Sciences) วาไดตรวจพบรังสีที่เรืองแสงมาจาก ผลึกเกลือซัลเฟ
                                ตของยูเรเนียมและโปแตสเซียม (double sulfate of uranium and
                                potassium crystals) เขารายงานวา ไดวางผลึกไวดานนอกของแผน
                                บันทึกภาพที่หุมดวยกระดาษสีดําหนามาก แลวนําทั้งหมดไปรับ
                                แสงแดดหลายชั่วโมง เมื่อเขาลางแผนบันทึกภาพ พบวามีเงาดํา
                                บางอยางปรากฏขึ้น ถาวางเหรียญหรือโลหะไวระหวางผลึก
                                ยูเรเนียมกับแผนบันทึกภาพที่ถูกหุม เขาสังเกตเห็นวามีภาพของ
                                วัตถุนั้น บนแผนบันทึกภาพที่ลางแลว เขาไมทราบวาไดคนพบ
กัมมันตภาพรังสี เขาโดยบังเอิญ และแสงแดดไมมีสวนในการทําใหเกิดภาพ
26 กุมภาพันธ
                                 เรดาร
                                    ในป 1935 ไดมีการสาธิตเรดาร (radar :RAdio Detection And Ranging) เปนครั้งแรกที่
                                    Daventry ประเทศอังกฤษ โดย Robert Watson-Watt นักฟสิกสชาวสกอตต ซึ่งทํางานดาน
                                    การใชคลื่นวิทยุ ในการตรวจหาพายุ เพื่อเตือนภัยใหแกนักบิน ในกลางทศวรรษ 1930 ทาง
                                    กองทัพอากาศ มีการพัฒนา เพื่อตรวจหาเครื่องบินขาศึก ซึ่งเขาไดเสนอกระทรวงการบิน ที่
                                    จะสาธิตการทดลอง ในวันที่ 26 ก.พ. 1935 และประสบผลสําเร็จจากการใช เครื่องสงวิทยุ
                                    คลื่นสั้นของ สถานีวิทยุของอังกฤษ (British Broadcasting Service) ในการตรวจจับ
เครื่องบินทิ้งระเบิด ในป 1939 กองทัพไดติดตั้งสถานีเรดาร ตลอดแนวชายฝงทะเลดานตะวันออก และดานใตของอังกฤษ เพื่อ
ปองกันการโจมตีจากเยอรมัน
                                กัมมันตภาพรังสี
                                ในป 1896 Henri Becquerel ไดเก็บสารประกอบยูเรเนียมไวในลิ้นชักโตะ โดยวางอยูบนแผน
                                บันทึกภาพ เพื่อรอวันที่มีแสงแดดมากขึ้น จะไดทําการทดลองตามที่เขาคิดวาแสงแดด ทําให
                                ยูเรเนียมปลอยรังสีออกมา หลังจากที่รออยูหลายวัน
                                เขาไดคิดการทดลองใหมขึ้น และไดนําแผนบันทึก
                                ไปลางโดยไมไดตั้งใจ เขาพบวามีรูปของเงามัวตาม
                                รูปรางกอนยูเรเนียมปรากฏบนแผนบันทึกภาพ
                                แสดงวากอนแรนั้น ใหรังสีออกมาไดเอง โดยไม
                                ตองใชแสงแดดชวย เหตุการณนี้ ถือเปน
                                ประวัติศาสตรหนึ่งในการคนพบรังสีแบบใหม และกัมมันตภาพรังสี
 Becquerel & Mrs.Curie




                                                                                                                           4
27 กุมภาพันธ.
                  นิวตรอน
                 ในป 1932 Dr. James Chadwick ไดคนพบอนุภาคนิวตรอน ซึ่งเขาตั้งชื่อจากการที่เปนอนุภาคที่เปนกลาง
                 (neutral particle) ในนิวเคลียสของอะตอม




28 กุมภาพันธ.
                    ไอนสไตน
                     ในป 1921 ไดสรางความตะลึงใหกับผูคนในเบอรลิน เมื่อประกาศวาสามารถวัดขนาดของจักรวาลได




29 กุมภาพันธ
                    นิวเคลียสของบอร
                     ในป 1936 วารสาร Nature ไดตีพิมพผลงานของ Niels Bohr's เรื่อง "bowl of balls" ที่อธิบายผลของ
                     การยิงอนุภาคเขาไปที่นิวเคลียส




                                           ขอขอบคุณสมาคมนิวเคลียรแหงประเทศไทย เอื้อเฟอขอมูล

                                                                            ******************************
                                             Science Tip / ลําดับที่ 7 / วันที่ 6 กุมภาพันธ 2550




                                                                                                                     5

More Related Content

Viewers also liked

Genetically Modified Foods presentation
Genetically Modified Foods presentationGenetically Modified Foods presentation
Genetically Modified Foods presentation
Melinda Lugo
 
5 เทคโนโลยีชีวภาพ
5 เทคโนโลยีชีวภาพ5 เทคโนโลยีชีวภาพ
5 เทคโนโลยีชีวภาพ
Melody Minhyok
 
เทคโนโลยีชีวภาพกับการขยายพันธุ์สัตว์
เทคโนโลยีชีวภาพกับการขยายพันธุ์สัตว์เทคโนโลยีชีวภาพกับการขยายพันธุ์สัตว์
เทคโนโลยีชีวภาพกับการขยายพันธุ์สัตว์
Aobinta In
 
Plant Cloning Presentation
Plant Cloning PresentationPlant Cloning Presentation
Plant Cloning Presentation
roorensu
 
บทที่ 18 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีชีวภาพ
บทที่ 18 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีชีวภาพบทที่ 18 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีชีวภาพ
บทที่ 18 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีชีวภาพ
ฟลุ๊ค ลำพูน
 

Viewers also liked (12)

Thesearch index-information54
Thesearch index-information54Thesearch index-information54
Thesearch index-information54
 
V531
V531V531
V531
 
Genetically Modified Organisms
Genetically Modified  OrganismsGenetically Modified  Organisms
Genetically Modified Organisms
 
Gmo in-usa
Gmo in-usaGmo in-usa
Gmo in-usa
 
รายงานประจำปี 2558 กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Annual report 2015
รายงานประจำปี 2558 กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Annual report 2015รายงานประจำปี 2558 กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Annual report 2015
รายงานประจำปี 2558 กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Annual report 2015
 
Genetically Modified Foods presentation
Genetically Modified Foods presentationGenetically Modified Foods presentation
Genetically Modified Foods presentation
 
แบบตอบรับการเข้าสัมมนาฯ
แบบตอบรับการเข้าสัมมนาฯแบบตอบรับการเข้าสัมมนาฯ
แบบตอบรับการเข้าสัมมนาฯ
 
5 เทคโนโลยีชีวภาพ
5 เทคโนโลยีชีวภาพ5 เทคโนโลยีชีวภาพ
5 เทคโนโลยีชีวภาพ
 
เทคโนโลยีชีวภาพกับการขยายพันธุ์สัตว์
เทคโนโลยีชีวภาพกับการขยายพันธุ์สัตว์เทคโนโลยีชีวภาพกับการขยายพันธุ์สัตว์
เทคโนโลยีชีวภาพกับการขยายพันธุ์สัตว์
 
Plant Cloning Presentation
Plant Cloning PresentationPlant Cloning Presentation
Plant Cloning Presentation
 
บทที่ 18 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีชีวภาพ
บทที่ 18 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีชีวภาพบทที่ 18 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีชีวภาพ
บทที่ 18 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีชีวภาพ
 
ประโยชน์ของเทคโนโลยีชีวภาพ
ประโยชน์ของเทคโนโลยีชีวภาพ ประโยชน์ของเทคโนโลยีชีวภาพ
ประโยชน์ของเทคโนโลยีชีวภาพ
 

More from Ministry of Science and Technology

แผนกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 [2]
แผนกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 [2]แผนกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 [2]
แผนกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 [2]
Ministry of Science and Technology
 

More from Ministry of Science and Technology (13)

ผลการดำเนินงาน ศูนย์ประสานงานกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีประจำภูมิภาค ประจำ...
ผลการดำเนินงาน ศูนย์ประสานงานกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีประจำภูมิภาค ประจำ...ผลการดำเนินงาน ศูนย์ประสานงานกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีประจำภูมิภาค ประจำ...
ผลการดำเนินงาน ศูนย์ประสานงานกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีประจำภูมิภาค ประจำ...
 
ผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 2561 สำนักส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยี
ผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 2561 สำนักส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยีผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 2561 สำนักส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยี
ผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 2561 สำนักส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยี
 
Scius55 1-out-most
Scius55 1-out-mostScius55 1-out-most
Scius55 1-out-most
 
Semina boi
Semina boiSemina boi
Semina boi
 
S ci us54-shift-2
S ci us54-shift-2S ci us54-shift-2
S ci us54-shift-2
 
กรอบแนวทางในการทำงานของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Framework of MOST
กรอบแนวทางในการทำงานของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Framework of MOSTกรอบแนวทางในการทำงานของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Framework of MOST
กรอบแนวทางในการทำงานของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Framework of MOST
 
V532
V532V532
V532
 
Interview106magazine
Interview106magazineInterview106magazine
Interview106magazine
 
Interview106magazine
Interview106magazineInterview106magazine
Interview106magazine
 
กำหนดการ
กำหนดการกำหนดการ
กำหนดการ
 
แผนกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 [2]
แผนกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 [2]แผนกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 [2]
แผนกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 [2]
 
Concept Goverment
Concept GovermentConcept Goverment
Concept Goverment
 
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
 

Atom In The Day

  • 1. สํา นั ก ง า น ป ร ม า ณู เ พื ่ อ สั น ติ Science Tip งานเผยแพรและการประชาสัมพันธ http://www.oaep.go.th/pr เรียบเรียงโดย นฤพนธ เพ็ญศิริ 1 กุมภาพันธ การแพรภาพการระเบิดของระเบิดปรมาณู ในป 1951 สถานีโทรทัศน KTLA ไดแพรภาพการระเบิดของระเบิด ปรมาณูใหสาธาณชนชมทางโทรทัศนเปนครั้งแรก เหตุการณนี้ บันทึกภาพโดยใชกลองของ NBC ติดตั้งอยูที่ภูเขา Wilson ซึ่งอยูหาง 300 ไมล จากจุดที่ทําการทดสอบ ที่ Frenchman Flats รัฐ Nevada สหรัฐอเมริกา 4 กุมภาพันธ เจอรมาเนียม ในป 1886 ไดมีการคนพบธาตุ เจอรมาเนียม โดยนักเคมีชาวเยอรมัน Clement Winkler ซึ่ง กําลังทํางานเกี่ยวกับการใชโคบอลตในแกว ที่มหาวิทยาลัย Freiberg School of Mining เมื่อ ไดคนพบเจอรมาเนียมในแร argyrodite ขณะกําลังวิเคราะหแรเงินซัลไฟด เขาพบวา ธาตุที่ วิเคราะหได มีเพียงรอยละ 93 ของน้ําหนัก ที่เขา รูจัก เมื่อตรวจสอบอีกรอยละ 7 ที่เหลือ เขาไดพบวา เปนธาตุใหม จึงตั้งชื่อวา เจอรมาเนียม (Germanium) ตามชื่อประเทศเยอรมัน (Germany) ซึ่งเปนธาตุที่อยูในหมูเดียวกัน ถัดจากซิลิกอนตามที่ Dmitry I. Mendeleyeev ทํานายไว ในป 1871 โดยปจจุบันเจอรมาเนียม มีการประยุกตใชมากมายในอุตสาหกรรมตางๆ โดยเฉพาะเปนสวนประกอบของ เซมิคอนดักเตอรและสวนประกอบของเลนตตางๆ 7 กุมภาพันธ การถายภาพดวยรังสีเอกซ ในป 1896 มีการใชรังสีเอกซในการถายภาพเพื่อหาตําแหนงของลูกกระสุนปน ในศีรษะของเด็ก เปนครั้งแรกที่เมือง Liverpool ประเทศอังกฤษ ภายหลังจากการ โฆษณาคุณสมบัติของรังสีเอกซครั้งแรกไมถึงสัปดาห 1
  • 2. 9 กุมภาพันธ อุบัติเหตุนิวเคลียรที่ญี่ปุน ในป 1991 ญี่ปุนไดเกิดอุบัติทางนิวเคลียรที่ Mihama โดยเกิดการระเบิดของทอภายในเครื่องกําเนิดไอน้ํา ทําใหสาร กัมมันตรังสี ในน้ําของระบบแลกเปลี่ยนความรอนระบบแรก จํานวน 55 ตัน ไหลเขาสูระบบที่ 2 ของเครื่องกําเนิดไอน้ํา กัมมันตภาพรังสีบางสวนได รั่วไหลออกสูบรรยากาศ ซึ่งไปทําใหอุปกรณฉุกเฉินของระบบระบายความ รอนทํางาน กระทรวงการคาและอุตสาหกรรม (MITI) ไดรายงานใน ภายหลังวา เปนอุบติเหตุที่เกิดจากความผิดพลาดของมนุษย ในตอนที่ ั คนงานไดติดตั้งแทงตอตานการแกวง (anti-vibration bars) และไดเลื่อย บางสวนออกเพื่อใหความยาวพอดี มีรังสีรั่วไหลออกสูบรรยากาศปริมาณ เล็กนอย ไมมีผูเสียชีวิต มีการตรวจสอบติดตาม เพื่อปองกันการเกิดอุบัติเหตุ ซ้ํา รวมทั้งมีการเปลี่ยนเครื่องกําเนิดไอน้ําใหมดวย 11 กุมภาพันธ ปฏิกิรยาฟชชันของอะตอม ิ ในป 1939 วารสาร Nature ไดตีพิมพทฤษฎีของนิวเคลียรฟชชัน ซึ่งเปนชื่อที่ ตั้งขึ้นโดยผูเขียน ไดแก Lise Meitner และหลานชาย Otto Fritsch พวกเขา ทราบจากผลการทดลองวา ถายิงนิวเคลียสของยูเรเนียมดวยนิวตรอน จะทําให เกิดธาตุแบเรียม เพื่อหาคําอธิบาย เขาไดใชทฤษฎีหยดของเหลวของบอร (Bohr's "liquid drop" model) เพื่อใหเห็นภาพวา นิวตรอนไดเหนี่ยวนําให นิวเคลียสของยูเรเนียมเกิดการสั่น ทําใหยืดออกเปนรูปที่ยกน้ําหนัก (dumbbell) บางทีแรงผลักระหวางโปรตอนของลูกตุมแตละดาน อาจจะทําให สวนคอดที่เชื่อมอยูขาดลง กลายเปน 2 นิวเคลียส จากการคํานวณพบวา มี พลังงานสูงมากถูกปลดปลอยออกมา เรื่องนี้ไดกลายเปนพื้นฐานของปฏิกิริยา นิวเคลียรตอเนื่อง (nuclear chain reaction) 13 กุมภาพันธ. ระเบิดปรมาณูของฝรั่งเศส ในป 1960 ไดทดลองระเบิดพลูโตเนียมลูกแรก ที่ความสูง 330 ฟุต บนหอซึ่งตั้งอยูที่ฐาน Reggane ในทะเลทรายซาฮารา บริเวณที่เรียกวา French Algeria เมื่อวันที่ 18 ตุลาคม 1945 คณะกรรมการพลังงานปรมาณู ไดกอตั้งขึ้นโดยนายพลชารล เดอ โกลด (Charles de Gaulle) โดยมีวัตถุประสงคในการ เพิ่มศักยภาพการใชประโยชน พลังงานปรมาณู ทางดาน วิทยาศาสตร อุตสาหกรรมและ การทหาร และเมื่อวันที่ 22 ก.ค. 1958 นายพลเดอโกลด ไดใชอํานาจ นายกรัฐมนตรี กําหนดวันที่ทําการ ทดลองระเบิดปรมาณูลูกแรก ใหอยู 2
  • 3. ในชวง 3 เดือนแรกของป 1960 โดยมีเปาหมายที่จะแสดงศักยภาพและบทบาทขอฝรั่งเศสในเวทีโลก เดอโกลดตองการสราง ศักยภาพทางนิวเคลียรในกับประเทศ ทั้งทางดานเครื่องบินรบ ขีปนาวุธ และเรือดําน้ํา การทดลองหยดน้ํามันของมิลลิแกน ในป 1912 Robert Millikan ไดเริ่มรวบรวมขอมูล จากการทดลองเรื่องหยดน้ํามัน ที่มีชื่อเสียงของเขา ในวันนี้ เขาไดรวบรวมและตีพิมพเรื่องผลการสังเกตหยด น้ํามัน 58 หยดเปนครั้งแรก มิลลิแกนใชผลการวัดการสั่นของหยดน้ํามันใน สนามไฟฟา เพื่อหาคาของประจุมูลฐานของอนุภาค เขาไดรับรางวัลโนเบลสาขา ฟสิกส ในป 1923 จากการเปนผูบุกเบิก ในการวัดประจุของอิเล็กตรอน 18 กุมภาพันธ. ไอโซโทป ในป 1913 Frederick Soddy ซึ่งเปนทั้งนักเคมีและนักฟสิกส ชาวอังกฤษ ไดเริ่มนําคําวา ไอโซโทป (isotope) มาใช Soddy ไดรับรางวัลโนเบลในป 1921 จากผลงานการวิจัยในการ หาสารกัมมันตรังสี เขาไดรายงานวามีบาง ธาตุที่อยูในตําแหนงบนตารางธาตุที่ เดียวกัน มีการเปลี่ยนแปลงของกัมมันต ภาพรังสี ที่แตกตางกัน เมื่อวันที่ 18 ก.พ. 1913 เขาไดใชชื่อหนวยของธาตุ ที่มีคุณสมบัติตางกันนี้วา ไอโซโทป ซึ่งมา จากภาษากรีก ที่แปลวา ที่เดียวกัน (same place) เขาไดรับยกยองจากการคนพบธาตุ โปรแทกทีเนียม (protactinium) ในป 1917 ตารางธาตุของ Mendeleev ในป 1869 Dmitri Mendeleev นักวิทยาศาสตรชาวรัสเซีย ไดยกเลิกแผนการไปหยุด พักผอน และทํางานอยูที่บาน เพื่อแกปญหาในการจัดเรียงธาตุทางเคมีใหเปนระบบ เขา เริ่มตนโดยการเขียนชื่อและคุณสมบัติ ของแตละธาตุ ลงในบัตรแตละใบ แลว นํามาวางเรียงกันใหหลายๆ รูปแบบ ในที่สุด เมื่อไดรูปแบบที่เหมาะสม จึง คัดลอกลงบนกระดาษ จากนั้น ไดจัด กลุมธาตุตามคุณสมบัติใหม ใหธาตุที่มี สมบัติทางเคมีคลายกัน เปนตารางในแนวตั้งเปนหมูเดียวกัน แบบเดียวกับที่ ใชกันอยูในทุกวันนี้ 20 กุมภาพันธ. การผลิตสารกัมมันตรังสี ในป 1934 มีรายงานของ Frederic Joliot ถึงความเปนไปได ที่จะทําใหธาตุหลายชนิด มี กัมมันตภาพรังสี โดยการยิงดวยไอออนของไฮโดรเจน Ernest O. Lawrence กับเพื่อนรวมทีม จึง ไดเริ่มทดลองยิงธาตุไนโตรเจน โดยใชไซโคลตรอน ทําใหพวกเขาสามารถผลิตสารกัมมันตรังสี ชนิดใหม และในระหวางหลายป ที่ Lawrence ไดทํางานวิจัย ในการประดิษฐไซโคลตรอนนั้น เขา 3
  • 4. ไมเคยตรวจสอบเลยวา มีกัมมันตภาพรังสีเกิดขึ้นหรือไม จากการยิงดวยไฮโดรเจน ดังนั้นจึง ถือไดวา Joliot เปนผูคนพบวิธีการผลิตสารกัมมันตรังสี สวนกลุมของ Lawrence เปนผูที่ ยืนยันถึงวิธีการ 24 กุมภาพันธ ยูเรเนียม ในป 1936 Henri Becquerel ไดแจงแก วิทยาลัยวิทยาศาสตรฝรั่งเศส (French Academy of Sciences) วาไดตรวจพบรังสีที่เรืองแสงมาจาก ผลึกเกลือซัลเฟ ตของยูเรเนียมและโปแตสเซียม (double sulfate of uranium and potassium crystals) เขารายงานวา ไดวางผลึกไวดานนอกของแผน บันทึกภาพที่หุมดวยกระดาษสีดําหนามาก แลวนําทั้งหมดไปรับ แสงแดดหลายชั่วโมง เมื่อเขาลางแผนบันทึกภาพ พบวามีเงาดํา บางอยางปรากฏขึ้น ถาวางเหรียญหรือโลหะไวระหวางผลึก ยูเรเนียมกับแผนบันทึกภาพที่ถูกหุม เขาสังเกตเห็นวามีภาพของ วัตถุนั้น บนแผนบันทึกภาพที่ลางแลว เขาไมทราบวาไดคนพบ กัมมันตภาพรังสี เขาโดยบังเอิญ และแสงแดดไมมีสวนในการทําใหเกิดภาพ 26 กุมภาพันธ เรดาร ในป 1935 ไดมีการสาธิตเรดาร (radar :RAdio Detection And Ranging) เปนครั้งแรกที่ Daventry ประเทศอังกฤษ โดย Robert Watson-Watt นักฟสิกสชาวสกอตต ซึ่งทํางานดาน การใชคลื่นวิทยุ ในการตรวจหาพายุ เพื่อเตือนภัยใหแกนักบิน ในกลางทศวรรษ 1930 ทาง กองทัพอากาศ มีการพัฒนา เพื่อตรวจหาเครื่องบินขาศึก ซึ่งเขาไดเสนอกระทรวงการบิน ที่ จะสาธิตการทดลอง ในวันที่ 26 ก.พ. 1935 และประสบผลสําเร็จจากการใช เครื่องสงวิทยุ คลื่นสั้นของ สถานีวิทยุของอังกฤษ (British Broadcasting Service) ในการตรวจจับ เครื่องบินทิ้งระเบิด ในป 1939 กองทัพไดติดตั้งสถานีเรดาร ตลอดแนวชายฝงทะเลดานตะวันออก และดานใตของอังกฤษ เพื่อ ปองกันการโจมตีจากเยอรมัน กัมมันตภาพรังสี ในป 1896 Henri Becquerel ไดเก็บสารประกอบยูเรเนียมไวในลิ้นชักโตะ โดยวางอยูบนแผน บันทึกภาพ เพื่อรอวันที่มีแสงแดดมากขึ้น จะไดทําการทดลองตามที่เขาคิดวาแสงแดด ทําให ยูเรเนียมปลอยรังสีออกมา หลังจากที่รออยูหลายวัน เขาไดคิดการทดลองใหมขึ้น และไดนําแผนบันทึก ไปลางโดยไมไดตั้งใจ เขาพบวามีรูปของเงามัวตาม รูปรางกอนยูเรเนียมปรากฏบนแผนบันทึกภาพ แสดงวากอนแรนั้น ใหรังสีออกมาไดเอง โดยไม ตองใชแสงแดดชวย เหตุการณนี้ ถือเปน ประวัติศาสตรหนึ่งในการคนพบรังสีแบบใหม และกัมมันตภาพรังสี Becquerel & Mrs.Curie 4
  • 5. 27 กุมภาพันธ. นิวตรอน ในป 1932 Dr. James Chadwick ไดคนพบอนุภาคนิวตรอน ซึ่งเขาตั้งชื่อจากการที่เปนอนุภาคที่เปนกลาง (neutral particle) ในนิวเคลียสของอะตอม 28 กุมภาพันธ. ไอนสไตน ในป 1921 ไดสรางความตะลึงใหกับผูคนในเบอรลิน เมื่อประกาศวาสามารถวัดขนาดของจักรวาลได 29 กุมภาพันธ นิวเคลียสของบอร ในป 1936 วารสาร Nature ไดตีพิมพผลงานของ Niels Bohr's เรื่อง "bowl of balls" ที่อธิบายผลของ การยิงอนุภาคเขาไปที่นิวเคลียส ขอขอบคุณสมาคมนิวเคลียรแหงประเทศไทย เอื้อเฟอขอมูล ****************************** Science Tip / ลําดับที่ 7 / วันที่ 6 กุมภาพันธ 2550 5