SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
สาระสำคัญ สำหรับที่จอดรถยนต์ 
จำนวนของที่จอดรถ 
ประเภทของอาคาร เกณฑ์กำหนด ปริมาณที่มากกว่า จำนวนที่จอดรถ ใน 
เขต กทม.(1) 
จำนวนที่จอดรถ นอก 
เขต กทม.(2) 
โรงมหรสพ เขตทั่วไป ที่นั่งสำหรับคนดู 500 ที่นั่ง 1 คัน ต่อ 20 ที่ 1 คัน ต่อ 40 ที่ 
เขตพื้นที่อื่น ภายใน กทม.(3) ที่นั่งสำหรับคนดู 500 ที่นั่ง 1 คัน ต่อ 10 ที่ **** 
โรงแรม ห้องพัก น้อยกว่า 30 ห้อง 10 คัน 5 คัน 
**** **** 30 ห้อง ถึง 100 ห้อง 1 คัน ต่อ 5 ห้อง 1 คัน ต่อ 5 ห้อง 
**** **** 100 ห้องขึ้นไป 1 คัน ต่อ 10 ห้อง 1 คัน ต่อ 15 ห้อง 
อาคารชุด พื้นที่ห้อง 60 ตร.ม. 1 คัน ต่อ 1 ครอบครัว 1 คัน ต่อ 2 ครอบครัว 
ภัตตาคาร พื้นที่ตั้งโต๊ะ 150 ตร.ม. ถึง 750 ตร.ม. 1 คัน ต่อ 15 ตร.ม. 1 คัน ต่อ 40 ตร.ม. 
**** **** มากกว่า 750 ตร.ม. 1 คัน ต่อ 30 ตร.ม. **** 
ห้างสรรพสินค้า พื้นที่ 300 ตร.ม. 1 คัน ต่อ 20 ตร.ม. 1 คัน ต่อ 40 ตร.ม.
สำนักงาน พื้นที่ 300 ตร.ม. 1 คัน ต่อ 60 ตร.ม. 1 คัน ต่อ 120 ตร.ม. 
ห้องโถง (4) พื้นที่ ตามชนิดอาคารนั้น 1 คัน ต่อ 10 ตร.ม. 1 คัน ต่อ 30 ตร.ม. 
อาคารขนาดใหญ่ (5) พื้นที่ ทุกกรณี 1 คัน ต่อ 120 ตร.ม. 1 คัน ต่อ 240 ตร.ม. 
1. ในเขตท้องที่กรุงเทพมหานคร เฉพาะในเขตเทศบาลนครหลวงตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 25 ลงวันที่ 21 
ธันวาคม พ.ศ. 2514 
2. ในเขตเทศบาลทุกแห่งหรือในเขตท้องที่ที่ได้มีพระราชกฤษฎีกาให้ใช้พระราชบัญญัติควบคุมการก่อสร้างอาคาร 
พุทธศักราช 2479 ใช้บังคับ 
3. โรงมหรสพที่อยู่ในท้องที่ของพระนคร เขตธนบุรี เขตบางรัก เขตปทุมวัน เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย และเขตสัม 
พันธวงศ์ 
4. ห้องโถงของโรงแรม ภัตตาคาร หรืออาคารขนาดใหญ่ โดยพื้นที่ส่วนหนึ่งส่วนใดของอาคารที่ใช้เป็นที่ชุมนุมหรือ 
ประชุม 
5. อาคารขนาดใหญ่ หมายความว่า อาคารที่สร้างขึ้นเพื่อใช้อาคารหรือส่วนหนึ่งส่วนใด ของอาคารเป็นที่ ประกอบ 
กิจการประเภทเดียวหรือหลายประเภท โดยมีความสูงจากระดับถนนตั้งแต่ 15 เมตรขึ้นไป และมีพื้นที่รวมกันทุกชั้นใน 
หลังเดียวกันเกิน 1,000 ตารางเมตร หรือ มีพื้นที่รวมกันทุกชั้นหรือชั้นหนึ่งชั้นใดในหลังเดียวกันเกิน2,000 ตารางเมตร 
ข้อกำหนดทั่วไป 
1. ขนาดของที่จอดรถ (กฎกระทรวง 41/2537) 
จอดขนานกับแนวทางเดินรถ หรือทำมุมการจอดน้อยกว่า 30 องศา ให้มีความกว้างกว้าง 2.40 เมตร ยาว 6 .00 เมตร 
จอดตั้งฉากกับแนวทางเดินรถ ให้มีความกว้าง 2.40 เมตร ยาว 5.00 เมตร แต่ต้องไม่จัดเป็นเดินรถทางเดียว
จอดรถทำมุมมากกว่า 30 องศา ให้มีความกว้าง 2.40 เมตร ยาว 5.50 เมตร 
1. ทางเข้า 6.00 ม. ในกรณี รถเดินทางเดียว กว้าง 3.50 ม. (กฎกระทรวง 17/2517) 
2. ความสูงของพื้นที่จอดรถถึงส่วนต่ำสุดของชั้นถัดไป เท่ากับ 2.10 เมตร (กฎกระทรวง 41/2537) 
3. ส่วนของพื้นที่ที่จอดรถต่างระดับกันจะเหลื่อมกันได้ไม่เกิน 1 เมตร เฉพาะส่วนที่เหลื่อมกันจะมีความสูงน้อยกว่า2.10 
เมตร ได้ (กฎกระทรวง 41/2537) 
4. อาคารจอดรถที่ติดตั้งระบบยกรถขึ้นลงระหว่างชั้นด้วยลิฟท์ จะต้องมีระยะของทางเดินรถจากปากทางเข้าถึงลิฟท์ไม่ 
น้อยกว่า 20 เมตร (กฎกระทรวง 41/2537) 
5. อาคารจอดรถ สูงไม่เกิน 23 เมตร ต้องห่างจากที่ดินบุคคลอื่นหรือสาธารณะ 3 เมตร ถ้าอาคารสูงเกิน 23 เมตร ต้อง 
ห่าง 6 เมตร (กฎกระทรวง 41/2537) 
6. ลิฟท์ที่ใช้ยกรถจะต้องอยู่ในตัวอาคาร โดยลิฟท์ 1 เครื่องสำหรับรถ 30 คัน แต่ต้องไม่น้อยกว่า 1 เครื่อง สำหรับอาคาร 
1 หลัง และห้ามใช้โดยสาร (กฎกระทรวง 41/2537) 
7. แนวปากทางเข้าออกต้องห่างจากจุดจุดเริ่มโค้งหรือหักมุมไม่น้อยกว่า 20 เมตร สำหรับโรงมหรสพ ห่าง 50 เมตร 
(กฎกระทรวง 17/2517) 
8. แนวปากทางเข้าออกต้องห่างจากจุดสุดเชิงลาดไม่น้อยกว่า 50 เมตร สำหรับโรงมหรสพ ห่าง 100 เมตร(กฎกระทรวง 
17/2517) 
9. อาคารขนาดใหญ่ที่มีลักษณะเป็นตึกแถวสูงไม่เกินสี่ชั้น ต้องมีที่จอดรถยนต์อยู่ภายนอกอาคาร หรืออยู่ในห้องใต้ดิน 
ของอาคารไม่น้อยกว่า 1 คันต่อ 1 ห้อง (กฎกระทรวง 17/2517) 
สาระสำคัญ อาคารจอดรถยนต์ 
ตามข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื่องอาคารจอดรถยนต์ พ.ศ. 2521 
1. ข้อบัญญัตินี้ใช้บังคับ อาคารจอดรถยนต์ตั้งแต่ 7 คัน ขึ้นไป
2. อาคารจอดรถมีสูงได้ไม่เกิน 10 ชั้น จากระดับพื้นดิน เว้นแต่จะมีระบบยกรถยนต์ด้วยเครื่องจักรประกอบ 
3. อาคารที่สูงเกิน 1 ชั้น เหนือพื้นดิน ผนังต้องเปิดโล่งอย่างน้อย 2 ด้าน ส่วนเปิดโล่งมีพื้นที่ไม่น้อยกว่า ครึ่งหนึ่งของ 
พื้นที่ผนังด้านนั้น 
4. ส่วนเปิดโล่งทั้งหมดมีพื้นที่รวมกันไม่ต่ำกว่าร้อยละ 10 ของพื้นที่นั้น ๆ ถ้าไม่ถึง ให้จัดเครื่องระบายอากาศ สามารถ 
เปลี่ยนอากาศภายในชั้นนั้น ๆ หมดภายใน 15 นาที 
5. อาคารจอดรถที่อยู่ต่ำกว่าระดับพื้นดิน ต้องจัดให้มีเครื่องระบายอากาศ สามารถเปลี่ยนอากาศภายในชั้นนั้น ๆ หมด 
ภายใน 15 นาที 
6. ส่วนเปิดโล่งของอาคารจอดรถ ต้องมีขอบหรือราวกันตกที่แข็งแรง 
7. ผนังของอาคารจอดรถ ที่อยู่ห่างจากเขตที่ดินของบุคลอื่น น้อยกว่า 3 เมตร ต้องเป็นผนังกันไฟ หนาไม่น้อยกว่า 20 
เซนติเมตร หรือผนังคอนกรีตเสริมเหล็กหนาไม่น้อยกว่า 15 เซนติเมตร ห้ามทำช่องเปิดในผนังนั้น 
8. เว้นที่ว่างไม่น้อยกว่า 3 เมตร ตลอดด้านของอาคารอย่างน้อย 2 ด้าน และยาวไม่น้อยกว่าครึ่งหนึ่งของความยาวรอบ 
อาคาร 
9. อาคารจอดรถที่มีการใช้ประเภทอื่นรวมอยู่ด้วย ส่วนกั้นแยกประเภทอาคารต้องเป็นผนังกันไฟหนาไม่น้อยกว่า 20 
เซนติเมตร หรือผนังคอนกรีตเสริมเหล็กหนาไม่น้อยกว่า 15 เซนติเมตร ให้มีช่องเปิดเป็นประตูกันไฟ กว้างไม่เกิน 2 
เมตร ไม่เกิน 2 ประตู 
10. ความสูงระหว่างชั้นของอาคารจอดรถ จากพื้นถึงท้องคานหรือเพดาน ไม่น้อยกว่า 2.10 เมตร 
11. น้ำหนักบรรทุกของพื้นที่ใช้คำนวณออกแบบต้องไม่ต่ำกว่า 400 กิโลกรัมต่อตารางเมตรสำหรับรถยนต์ที่หนักไม่เกิน 
2000 กิโลกรัม และไม่ต่ำกว่า 800 กิโลกรัมต่อตารางเมตรสำหรับรถยนต์ที่หนักเกิน 2000 กิโลกรัม 
12. ทางลาดขึ้นลงระหว่างชั้นต่าง ๆ ลาดชันได้ไม่เกินร้อยละ 15 
13. ทางลาดช่วงหนึ่งสูงไม่เกิน 5 เมตร ทางลาดที่สูงเกิน 5 เมตร ให้ทำที่พักยาวไม่น้อยกว่า 6 เมตร เว้นแต่ทางลาดแบบ 
เวียนที่ชันไม่เกินร้อยละ 10 จะไม่มีที่พักก็ได้ ปลายทางลาดต้องปาดมุมยาวไม่น้อยกว่า 2.50 เมตร 
14. จุดที่ทางลาดขึ้นลงที่ระดับพื้นดินต้องอยู่ห่างจากทางสาธารณะไม่น้อยกว่า 6 เมตร
15. จุดที่ขึ้นลงของทางลาดในอาคาร ต้องอยู่ห่างจากปากทางออกของอาคารนั้นอย่างน้อย 6 เมตร 
16. ให้มีบันไดกว้างไม่น้อยกว่า 1 เมตร อย่างน้อย 1 บันได สำหรับพื้นที่ 1000 ตารางเมตร ถ้ามีเกิน 1 บันได แต่ละบันได 
ห่างกัน 30 เมตร 
17. ห้องน้ำอาคารจอดรถ 
ชนิดหรือประเภทอาคาร 
ห้องส้วม 
ที่ถ่าย ที่ถ่าย 
ห้องน้ำ อ่างล้างมือ 
อุจจาระ 
ปัสสาวะ 
อาคารสถานีขนส่งมวลชน ต่อพื้นที่อาคาร 200 ตารางเมตร 
(ก) สำหรับผู้ชาย 2 4 - 1 
(ข)สำหรับผู้หญิง 5 - - 1 
อาคารที่จอดรถสำหรับบุคคลทั่วไป ต่อพื้นที่อาคาร 1000 ตารางเมตร 
(ก) สำหรับผู้ชาย 1 1 - 1 
(ข)สำหรับผู้หญิง 1 - - 1 
สนามกีฬาในร่ม ต่อพื้นที่อาคาร 200 ตารางเมตร หรือต่อ 100 คน 
ทั้งนี้ให้ถือจำนวนที่มากกว่าเป็นเกณฑ์ 
(ก) สำหรับผู้ชาย 1 2 - 1 
(ข)สำหรับผู้หญิง 2 - - 1
ตลาด ต่อ พื้นที่อาคาร 200 ตารางเมตร 
(ก) สำหรับผู้ชาย 1 2 - 1 
(ข)สำหรับผู้หญิง 2 - - 1 
สถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิงตามกฎหมายว่าด้วยการเก็บรักษา 
น้ำมันเชื้อเพลิงและ/หรือสถานีบริการก๊าซตามกฎหมายว่าด้วยการ 
บรรจุ ก๊าซปิโตรเลียมเหลว 
(ก) สำหรับผู้ชาย 1 1 1 1 
(ข)สำหรับผู้หญิง 1 - 1 1 
อาคารชั่วคราว ต่อพื้นที่อาคาร 200 ตารางเมตร 1 - - - 
รถยนต์ตั้งแต่ 200 คัน ขึ้นไปต้องมีห้องน้ำข้างต้นทุก ๆ 200 คันที่เพิ่ม เศษของร้อยคันให้ปัดขึ้น 
1. ขนาดห้องน้ำ กว้างไม่น้อยกว่า 0.90 เมตร มีพื้นที่ไม่ต่ำกว่า 1.40 ตารางเมตร มีเครื่องระบายอากาศสามารถถ่ายเท 
อากาศได้หมดภายในเวลา 30 นาที 
2. มีก๊อกน้ำประปาสำหรับล้างพื้นทุกชั้น 
3. ให้มีแสงสว่างแลเห็นได้ชัดทั้งกลางวันและกลางคืน 
4. ให้มีเครื่องดับเพลิงเคมี หนึ่งเครื่องต่อรถทุก ๆ 50 คัน หรืออย่างน้อยชั้นละ 1 เครื่อง 
5. ให้มีท่อน้ำดับเพลิงตามาตรฐานตำรวจดับเพลิง จำนวนพอเพียงเพื่อดับเพลิงได้ทุกส่วนของอาคาร

More Related Content

What's hot

Hotel avasa, hyderabad
Hotel avasa, hyderabadHotel avasa, hyderabad
Hotel avasa, hyderabadNamratha Bs
 
Midpark hospital case study
Midpark hospital case studyMidpark hospital case study
Midpark hospital case studyGargi Bhatele
 
Elante mall chandigarh
Elante mall chandigarhElante mall chandigarh
Elante mall chandigarhHarshita Singh
 
Standards Requirement For Multiplexes And Bye Laws Of NOIDA
Standards Requirement For Multiplexes And Bye Laws Of NOIDAStandards Requirement For Multiplexes And Bye Laws Of NOIDA
Standards Requirement For Multiplexes And Bye Laws Of NOIDAJai Vardhan Singh
 
Metal Cladding - Quinta Metalica in English
Metal Cladding - Quinta Metalica in EnglishMetal Cladding - Quinta Metalica in English
Metal Cladding - Quinta Metalica in EnglishSilos Cordoba
 
Hotels literature and case study
Hotels literature and case studyHotels literature and case study
Hotels literature and case studyUtkarshKumar398280
 
Prithvi theatre, juhu - ACOUSTICS - AUDITORIUM - MUMBAI
Prithvi theatre, juhu - ACOUSTICS - AUDITORIUM - MUMBAIPrithvi theatre, juhu - ACOUSTICS - AUDITORIUM - MUMBAI
Prithvi theatre, juhu - ACOUSTICS - AUDITORIUM - MUMBAIDijo Mathews
 
City center - An Urban Lifestyle Center
City center - An Urban Lifestyle CenterCity center - An Urban Lifestyle Center
City center - An Urban Lifestyle CenterKeshav Rathi
 
Shopping Mall - Thesis 2016
Shopping Mall - Thesis 2016Shopping Mall - Thesis 2016
Shopping Mall - Thesis 2016MOHAMMED RABIN
 
Subham convention center hyderabad
Subham convention center hyderabadSubham convention center hyderabad
Subham convention center hyderabadAdhitya Karne
 
L&T Elante Mall Chandigarh Office Space Price List Location Map Floor Layout ...
L&T Elante Mall Chandigarh Office Space Price List Location Map Floor Layout ...L&T Elante Mall Chandigarh Office Space Price List Location Map Floor Layout ...
L&T Elante Mall Chandigarh Office Space Price List Location Map Floor Layout ...Aliva Kar
 
اسس تصميم مول تجارى ترفيهى
اسس تصميم مول تجارى ترفيهىاسس تصميم مول تجارى ترفيهى
اسس تصميم مول تجارى ترفيهىelaria hosny
 
case study of Elante mall, chandigarh,
case study of Elante mall, chandigarh, case study of Elante mall, chandigarh,
case study of Elante mall, chandigarh, Sumit Jha
 
Architectural Bye-Laws For Hotels
Architectural Bye-Laws For HotelsArchitectural Bye-Laws For Hotels
Architectural Bye-Laws For HotelsAr. Md Shahroz Alam
 

What's hot (20)

Hotel avasa, hyderabad
Hotel avasa, hyderabadHotel avasa, hyderabad
Hotel avasa, hyderabad
 
Nevsehir bus terminal
Nevsehir bus terminalNevsehir bus terminal
Nevsehir bus terminal
 
Midpark hospital case study
Midpark hospital case studyMidpark hospital case study
Midpark hospital case study
 
Elante mall chandigarh
Elante mall chandigarhElante mall chandigarh
Elante mall chandigarh
 
Standards Requirement For Multiplexes And Bye Laws Of NOIDA
Standards Requirement For Multiplexes And Bye Laws Of NOIDAStandards Requirement For Multiplexes And Bye Laws Of NOIDA
Standards Requirement For Multiplexes And Bye Laws Of NOIDA
 
5STAR HOTEL
5STAR HOTEL5STAR HOTEL
5STAR HOTEL
 
Metal Cladding - Quinta Metalica in English
Metal Cladding - Quinta Metalica in EnglishMetal Cladding - Quinta Metalica in English
Metal Cladding - Quinta Metalica in English
 
Mantri mall by param
Mantri mall by paramMantri mall by param
Mantri mall by param
 
Hotels literature and case study
Hotels literature and case studyHotels literature and case study
Hotels literature and case study
 
Prithvi theatre, juhu - ACOUSTICS - AUDITORIUM - MUMBAI
Prithvi theatre, juhu - ACOUSTICS - AUDITORIUM - MUMBAIPrithvi theatre, juhu - ACOUSTICS - AUDITORIUM - MUMBAI
Prithvi theatre, juhu - ACOUSTICS - AUDITORIUM - MUMBAI
 
Shipra Mall
Shipra MallShipra Mall
Shipra Mall
 
City center - An Urban Lifestyle Center
City center - An Urban Lifestyle CenterCity center - An Urban Lifestyle Center
City center - An Urban Lifestyle Center
 
Shopping Mall - Thesis 2016
Shopping Mall - Thesis 2016Shopping Mall - Thesis 2016
Shopping Mall - Thesis 2016
 
Subham convention center hyderabad
Subham convention center hyderabadSubham convention center hyderabad
Subham convention center hyderabad
 
Developing a 30 Second Elevator Pitch
Developing a 30 Second Elevator PitchDeveloping a 30 Second Elevator Pitch
Developing a 30 Second Elevator Pitch
 
L&T Elante Mall Chandigarh Office Space Price List Location Map Floor Layout ...
L&T Elante Mall Chandigarh Office Space Price List Location Map Floor Layout ...L&T Elante Mall Chandigarh Office Space Price List Location Map Floor Layout ...
L&T Elante Mall Chandigarh Office Space Price List Location Map Floor Layout ...
 
اسس تصميم مول تجارى ترفيهى
اسس تصميم مول تجارى ترفيهىاسس تصميم مول تجارى ترفيهى
اسس تصميم مول تجارى ترفيهى
 
case study of Elante mall, chandigarh,
case study of Elante mall, chandigarh, case study of Elante mall, chandigarh,
case study of Elante mall, chandigarh,
 
5 star Hotel Design
5 star Hotel Design5 star Hotel Design
5 star Hotel Design
 
Architectural Bye-Laws For Hotels
Architectural Bye-Laws For HotelsArchitectural Bye-Laws For Hotels
Architectural Bye-Laws For Hotels
 

Viewers also liked

ตารางเหล็ก
ตารางเหล็กตารางเหล็ก
ตารางเหล็กNarasak Sripakdee
 
TREES Rating (Thai)
TREES Rating (Thai)TREES Rating (Thai)
TREES Rating (Thai)CFS626
 
การจัดสวนบนหลังคา
การจัดสวนบนหลังคาการจัดสวนบนหลังคา
การจัดสวนบนหลังคาkaybizsiam
 
สถานการณ์ความเป็นเมืองของภาคใต้และจังหวัดสงขลา
สถานการณ์ความเป็นเมืองของภาคใต้และจังหวัดสงขลาสถานการณ์ความเป็นเมืองของภาคใต้และจังหวัดสงขลา
สถานการณ์ความเป็นเมืองของภาคใต้และจังหวัดสงขลาFURD_RSU
 
Sustainable tourism sheet 2558
Sustainable tourism sheet 2558Sustainable tourism sheet 2558
Sustainable tourism sheet 2558Somyot Ongkhluap
 
รายงาน "ทรัพยากรสำคัญสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลา"
รายงาน "ทรัพยากรสำคัญสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลา"รายงาน "ทรัพยากรสำคัญสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลา"
รายงาน "ทรัพยากรสำคัญสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลา"FURD_RSU
 
Saving energy1
Saving energy1Saving energy1
Saving energy1klainil
 
การกระจายตัวของความเป็นเมือง เทศบาลนครและเทศบาลเมืองที่ติดชายแดน
การกระจายตัวของความเป็นเมือง เทศบาลนครและเทศบาลเมืองที่ติดชายแดนการกระจายตัวของความเป็นเมือง เทศบาลนครและเทศบาลเมืองที่ติดชายแดน
การกระจายตัวของความเป็นเมือง เทศบาลนครและเทศบาลเมืองที่ติดชายแดนFURD_RSU
 
Presentazione Gruppo 11
Presentazione Gruppo 11Presentazione Gruppo 11
Presentazione Gruppo 11Marco Lusardi
 
Oferta uscatoare-pentru-legum2
Oferta uscatoare-pentru-legum2Oferta uscatoare-pentru-legum2
Oferta uscatoare-pentru-legum2eugen1990
 
แผนผังความคิดเรื่องพลังงาน
แผนผังความคิดเรื่องพลังงานแผนผังความคิดเรื่องพลังงาน
แผนผังความคิดเรื่องพลังงานWuttipong Tubkrathok
 

Viewers also liked (16)

ตารางเหล็ก
ตารางเหล็กตารางเหล็ก
ตารางเหล็ก
 
TREES Rating (Thai)
TREES Rating (Thai)TREES Rating (Thai)
TREES Rating (Thai)
 
ตัวอย่างการคำนวณ ค่า K อาคาร
ตัวอย่างการคำนวณ ค่า K อาคารตัวอย่างการคำนวณ ค่า K อาคาร
ตัวอย่างการคำนวณ ค่า K อาคาร
 
The interior design
The interior designThe interior design
The interior design
 
การจัดสวนบนหลังคา
การจัดสวนบนหลังคาการจัดสวนบนหลังคา
การจัดสวนบนหลังคา
 
สถานการณ์ความเป็นเมืองของภาคใต้และจังหวัดสงขลา
สถานการณ์ความเป็นเมืองของภาคใต้และจังหวัดสงขลาสถานการณ์ความเป็นเมืองของภาคใต้และจังหวัดสงขลา
สถานการณ์ความเป็นเมืองของภาคใต้และจังหวัดสงขลา
 
Sustainable tourism sheet 2558
Sustainable tourism sheet 2558Sustainable tourism sheet 2558
Sustainable tourism sheet 2558
 
รายงาน "ทรัพยากรสำคัญสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลา"
รายงาน "ทรัพยากรสำคัญสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลา"รายงาน "ทรัพยากรสำคัญสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลา"
รายงาน "ทรัพยากรสำคัญสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลา"
 
Saving energy1
Saving energy1Saving energy1
Saving energy1
 
การกระจายตัวของความเป็นเมือง เทศบาลนครและเทศบาลเมืองที่ติดชายแดน
การกระจายตัวของความเป็นเมือง เทศบาลนครและเทศบาลเมืองที่ติดชายแดนการกระจายตัวของความเป็นเมือง เทศบาลนครและเทศบาลเมืองที่ติดชายแดน
การกระจายตัวของความเป็นเมือง เทศบาลนครและเทศบาลเมืองที่ติดชายแดน
 
Presentazione Gruppo 11
Presentazione Gruppo 11Presentazione Gruppo 11
Presentazione Gruppo 11
 
Oferta uscatoare-pentru-legum2
Oferta uscatoare-pentru-legum2Oferta uscatoare-pentru-legum2
Oferta uscatoare-pentru-legum2
 
Tourism(alona)
Tourism(alona)Tourism(alona)
Tourism(alona)
 
Main project
Main projectMain project
Main project
 
roller chains
roller chainsroller chains
roller chains
 
แผนผังความคิดเรื่องพลังงาน
แผนผังความคิดเรื่องพลังงานแผนผังความคิดเรื่องพลังงาน
แผนผังความคิดเรื่องพลังงาน
 

สาระสำคัญ สำหรับที่จอดรถยนต์

  • 1. สาระสำคัญ สำหรับที่จอดรถยนต์ จำนวนของที่จอดรถ ประเภทของอาคาร เกณฑ์กำหนด ปริมาณที่มากกว่า จำนวนที่จอดรถ ใน เขต กทม.(1) จำนวนที่จอดรถ นอก เขต กทม.(2) โรงมหรสพ เขตทั่วไป ที่นั่งสำหรับคนดู 500 ที่นั่ง 1 คัน ต่อ 20 ที่ 1 คัน ต่อ 40 ที่ เขตพื้นที่อื่น ภายใน กทม.(3) ที่นั่งสำหรับคนดู 500 ที่นั่ง 1 คัน ต่อ 10 ที่ **** โรงแรม ห้องพัก น้อยกว่า 30 ห้อง 10 คัน 5 คัน **** **** 30 ห้อง ถึง 100 ห้อง 1 คัน ต่อ 5 ห้อง 1 คัน ต่อ 5 ห้อง **** **** 100 ห้องขึ้นไป 1 คัน ต่อ 10 ห้อง 1 คัน ต่อ 15 ห้อง อาคารชุด พื้นที่ห้อง 60 ตร.ม. 1 คัน ต่อ 1 ครอบครัว 1 คัน ต่อ 2 ครอบครัว ภัตตาคาร พื้นที่ตั้งโต๊ะ 150 ตร.ม. ถึง 750 ตร.ม. 1 คัน ต่อ 15 ตร.ม. 1 คัน ต่อ 40 ตร.ม. **** **** มากกว่า 750 ตร.ม. 1 คัน ต่อ 30 ตร.ม. **** ห้างสรรพสินค้า พื้นที่ 300 ตร.ม. 1 คัน ต่อ 20 ตร.ม. 1 คัน ต่อ 40 ตร.ม.
  • 2. สำนักงาน พื้นที่ 300 ตร.ม. 1 คัน ต่อ 60 ตร.ม. 1 คัน ต่อ 120 ตร.ม. ห้องโถง (4) พื้นที่ ตามชนิดอาคารนั้น 1 คัน ต่อ 10 ตร.ม. 1 คัน ต่อ 30 ตร.ม. อาคารขนาดใหญ่ (5) พื้นที่ ทุกกรณี 1 คัน ต่อ 120 ตร.ม. 1 คัน ต่อ 240 ตร.ม. 1. ในเขตท้องที่กรุงเทพมหานคร เฉพาะในเขตเทศบาลนครหลวงตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 25 ลงวันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2514 2. ในเขตเทศบาลทุกแห่งหรือในเขตท้องที่ที่ได้มีพระราชกฤษฎีกาให้ใช้พระราชบัญญัติควบคุมการก่อสร้างอาคาร พุทธศักราช 2479 ใช้บังคับ 3. โรงมหรสพที่อยู่ในท้องที่ของพระนคร เขตธนบุรี เขตบางรัก เขตปทุมวัน เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย และเขตสัม พันธวงศ์ 4. ห้องโถงของโรงแรม ภัตตาคาร หรืออาคารขนาดใหญ่ โดยพื้นที่ส่วนหนึ่งส่วนใดของอาคารที่ใช้เป็นที่ชุมนุมหรือ ประชุม 5. อาคารขนาดใหญ่ หมายความว่า อาคารที่สร้างขึ้นเพื่อใช้อาคารหรือส่วนหนึ่งส่วนใด ของอาคารเป็นที่ ประกอบ กิจการประเภทเดียวหรือหลายประเภท โดยมีความสูงจากระดับถนนตั้งแต่ 15 เมตรขึ้นไป และมีพื้นที่รวมกันทุกชั้นใน หลังเดียวกันเกิน 1,000 ตารางเมตร หรือ มีพื้นที่รวมกันทุกชั้นหรือชั้นหนึ่งชั้นใดในหลังเดียวกันเกิน2,000 ตารางเมตร ข้อกำหนดทั่วไป 1. ขนาดของที่จอดรถ (กฎกระทรวง 41/2537) จอดขนานกับแนวทางเดินรถ หรือทำมุมการจอดน้อยกว่า 30 องศา ให้มีความกว้างกว้าง 2.40 เมตร ยาว 6 .00 เมตร จอดตั้งฉากกับแนวทางเดินรถ ให้มีความกว้าง 2.40 เมตร ยาว 5.00 เมตร แต่ต้องไม่จัดเป็นเดินรถทางเดียว
  • 3. จอดรถทำมุมมากกว่า 30 องศา ให้มีความกว้าง 2.40 เมตร ยาว 5.50 เมตร 1. ทางเข้า 6.00 ม. ในกรณี รถเดินทางเดียว กว้าง 3.50 ม. (กฎกระทรวง 17/2517) 2. ความสูงของพื้นที่จอดรถถึงส่วนต่ำสุดของชั้นถัดไป เท่ากับ 2.10 เมตร (กฎกระทรวง 41/2537) 3. ส่วนของพื้นที่ที่จอดรถต่างระดับกันจะเหลื่อมกันได้ไม่เกิน 1 เมตร เฉพาะส่วนที่เหลื่อมกันจะมีความสูงน้อยกว่า2.10 เมตร ได้ (กฎกระทรวง 41/2537) 4. อาคารจอดรถที่ติดตั้งระบบยกรถขึ้นลงระหว่างชั้นด้วยลิฟท์ จะต้องมีระยะของทางเดินรถจากปากทางเข้าถึงลิฟท์ไม่ น้อยกว่า 20 เมตร (กฎกระทรวง 41/2537) 5. อาคารจอดรถ สูงไม่เกิน 23 เมตร ต้องห่างจากที่ดินบุคคลอื่นหรือสาธารณะ 3 เมตร ถ้าอาคารสูงเกิน 23 เมตร ต้อง ห่าง 6 เมตร (กฎกระทรวง 41/2537) 6. ลิฟท์ที่ใช้ยกรถจะต้องอยู่ในตัวอาคาร โดยลิฟท์ 1 เครื่องสำหรับรถ 30 คัน แต่ต้องไม่น้อยกว่า 1 เครื่อง สำหรับอาคาร 1 หลัง และห้ามใช้โดยสาร (กฎกระทรวง 41/2537) 7. แนวปากทางเข้าออกต้องห่างจากจุดจุดเริ่มโค้งหรือหักมุมไม่น้อยกว่า 20 เมตร สำหรับโรงมหรสพ ห่าง 50 เมตร (กฎกระทรวง 17/2517) 8. แนวปากทางเข้าออกต้องห่างจากจุดสุดเชิงลาดไม่น้อยกว่า 50 เมตร สำหรับโรงมหรสพ ห่าง 100 เมตร(กฎกระทรวง 17/2517) 9. อาคารขนาดใหญ่ที่มีลักษณะเป็นตึกแถวสูงไม่เกินสี่ชั้น ต้องมีที่จอดรถยนต์อยู่ภายนอกอาคาร หรืออยู่ในห้องใต้ดิน ของอาคารไม่น้อยกว่า 1 คันต่อ 1 ห้อง (กฎกระทรวง 17/2517) สาระสำคัญ อาคารจอดรถยนต์ ตามข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื่องอาคารจอดรถยนต์ พ.ศ. 2521 1. ข้อบัญญัตินี้ใช้บังคับ อาคารจอดรถยนต์ตั้งแต่ 7 คัน ขึ้นไป
  • 4. 2. อาคารจอดรถมีสูงได้ไม่เกิน 10 ชั้น จากระดับพื้นดิน เว้นแต่จะมีระบบยกรถยนต์ด้วยเครื่องจักรประกอบ 3. อาคารที่สูงเกิน 1 ชั้น เหนือพื้นดิน ผนังต้องเปิดโล่งอย่างน้อย 2 ด้าน ส่วนเปิดโล่งมีพื้นที่ไม่น้อยกว่า ครึ่งหนึ่งของ พื้นที่ผนังด้านนั้น 4. ส่วนเปิดโล่งทั้งหมดมีพื้นที่รวมกันไม่ต่ำกว่าร้อยละ 10 ของพื้นที่นั้น ๆ ถ้าไม่ถึง ให้จัดเครื่องระบายอากาศ สามารถ เปลี่ยนอากาศภายในชั้นนั้น ๆ หมดภายใน 15 นาที 5. อาคารจอดรถที่อยู่ต่ำกว่าระดับพื้นดิน ต้องจัดให้มีเครื่องระบายอากาศ สามารถเปลี่ยนอากาศภายในชั้นนั้น ๆ หมด ภายใน 15 นาที 6. ส่วนเปิดโล่งของอาคารจอดรถ ต้องมีขอบหรือราวกันตกที่แข็งแรง 7. ผนังของอาคารจอดรถ ที่อยู่ห่างจากเขตที่ดินของบุคลอื่น น้อยกว่า 3 เมตร ต้องเป็นผนังกันไฟ หนาไม่น้อยกว่า 20 เซนติเมตร หรือผนังคอนกรีตเสริมเหล็กหนาไม่น้อยกว่า 15 เซนติเมตร ห้ามทำช่องเปิดในผนังนั้น 8. เว้นที่ว่างไม่น้อยกว่า 3 เมตร ตลอดด้านของอาคารอย่างน้อย 2 ด้าน และยาวไม่น้อยกว่าครึ่งหนึ่งของความยาวรอบ อาคาร 9. อาคารจอดรถที่มีการใช้ประเภทอื่นรวมอยู่ด้วย ส่วนกั้นแยกประเภทอาคารต้องเป็นผนังกันไฟหนาไม่น้อยกว่า 20 เซนติเมตร หรือผนังคอนกรีตเสริมเหล็กหนาไม่น้อยกว่า 15 เซนติเมตร ให้มีช่องเปิดเป็นประตูกันไฟ กว้างไม่เกิน 2 เมตร ไม่เกิน 2 ประตู 10. ความสูงระหว่างชั้นของอาคารจอดรถ จากพื้นถึงท้องคานหรือเพดาน ไม่น้อยกว่า 2.10 เมตร 11. น้ำหนักบรรทุกของพื้นที่ใช้คำนวณออกแบบต้องไม่ต่ำกว่า 400 กิโลกรัมต่อตารางเมตรสำหรับรถยนต์ที่หนักไม่เกิน 2000 กิโลกรัม และไม่ต่ำกว่า 800 กิโลกรัมต่อตารางเมตรสำหรับรถยนต์ที่หนักเกิน 2000 กิโลกรัม 12. ทางลาดขึ้นลงระหว่างชั้นต่าง ๆ ลาดชันได้ไม่เกินร้อยละ 15 13. ทางลาดช่วงหนึ่งสูงไม่เกิน 5 เมตร ทางลาดที่สูงเกิน 5 เมตร ให้ทำที่พักยาวไม่น้อยกว่า 6 เมตร เว้นแต่ทางลาดแบบ เวียนที่ชันไม่เกินร้อยละ 10 จะไม่มีที่พักก็ได้ ปลายทางลาดต้องปาดมุมยาวไม่น้อยกว่า 2.50 เมตร 14. จุดที่ทางลาดขึ้นลงที่ระดับพื้นดินต้องอยู่ห่างจากทางสาธารณะไม่น้อยกว่า 6 เมตร
  • 5. 15. จุดที่ขึ้นลงของทางลาดในอาคาร ต้องอยู่ห่างจากปากทางออกของอาคารนั้นอย่างน้อย 6 เมตร 16. ให้มีบันไดกว้างไม่น้อยกว่า 1 เมตร อย่างน้อย 1 บันได สำหรับพื้นที่ 1000 ตารางเมตร ถ้ามีเกิน 1 บันได แต่ละบันได ห่างกัน 30 เมตร 17. ห้องน้ำอาคารจอดรถ ชนิดหรือประเภทอาคาร ห้องส้วม ที่ถ่าย ที่ถ่าย ห้องน้ำ อ่างล้างมือ อุจจาระ ปัสสาวะ อาคารสถานีขนส่งมวลชน ต่อพื้นที่อาคาร 200 ตารางเมตร (ก) สำหรับผู้ชาย 2 4 - 1 (ข)สำหรับผู้หญิง 5 - - 1 อาคารที่จอดรถสำหรับบุคคลทั่วไป ต่อพื้นที่อาคาร 1000 ตารางเมตร (ก) สำหรับผู้ชาย 1 1 - 1 (ข)สำหรับผู้หญิง 1 - - 1 สนามกีฬาในร่ม ต่อพื้นที่อาคาร 200 ตารางเมตร หรือต่อ 100 คน ทั้งนี้ให้ถือจำนวนที่มากกว่าเป็นเกณฑ์ (ก) สำหรับผู้ชาย 1 2 - 1 (ข)สำหรับผู้หญิง 2 - - 1
  • 6. ตลาด ต่อ พื้นที่อาคาร 200 ตารางเมตร (ก) สำหรับผู้ชาย 1 2 - 1 (ข)สำหรับผู้หญิง 2 - - 1 สถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิงตามกฎหมายว่าด้วยการเก็บรักษา น้ำมันเชื้อเพลิงและ/หรือสถานีบริการก๊าซตามกฎหมายว่าด้วยการ บรรจุ ก๊าซปิโตรเลียมเหลว (ก) สำหรับผู้ชาย 1 1 1 1 (ข)สำหรับผู้หญิง 1 - 1 1 อาคารชั่วคราว ต่อพื้นที่อาคาร 200 ตารางเมตร 1 - - - รถยนต์ตั้งแต่ 200 คัน ขึ้นไปต้องมีห้องน้ำข้างต้นทุก ๆ 200 คันที่เพิ่ม เศษของร้อยคันให้ปัดขึ้น 1. ขนาดห้องน้ำ กว้างไม่น้อยกว่า 0.90 เมตร มีพื้นที่ไม่ต่ำกว่า 1.40 ตารางเมตร มีเครื่องระบายอากาศสามารถถ่ายเท อากาศได้หมดภายในเวลา 30 นาที 2. มีก๊อกน้ำประปาสำหรับล้างพื้นทุกชั้น 3. ให้มีแสงสว่างแลเห็นได้ชัดทั้งกลางวันและกลางคืน 4. ให้มีเครื่องดับเพลิงเคมี หนึ่งเครื่องต่อรถทุก ๆ 50 คัน หรืออย่างน้อยชั้นละ 1 เครื่อง 5. ให้มีท่อน้ำดับเพลิงตามาตรฐานตำรวจดับเพลิง จำนวนพอเพียงเพื่อดับเพลิงได้ทุกส่วนของอาคาร