SlideShare a Scribd company logo
1 of 78
Download to read offline
การประหยัดพลังงานในครัวเรือน

  โดย รศ.ดร.วิทยา ยงเจริญ
Geothermal

  พลังงานกับสิ่งแวดลอม
พลังงาน
พลังงาน    เปนสิ่งที่ใชเพื่อใหเกิดการทํางาน

  รูปแบบของพลังงาน (Forms of Energy)

งาน (WORK) = แรง x ระยะทาง = นิวตัน x เมตร
ความรอน (HEAT)
พลังงานภายใน (INTERNAL ENERGY)
หนวยวัดพลังงาน
นิวตันเมตร (N.m) จูล (Joule,J) กิโลวัตต-ชั่วโมง(kWhr)
แคลอรี่ (Calorie,Cal)
บีทียู (B.T.U.)
คนยกแกวน้ําที่มีนํา 200 ซม3ขึ้นดื่มจากโตะดวยระยะทาง
                   ้
50 ซมตองทํางาน = 2 นิวตัน x 0.5เมตร = 1 จูล

   1 บีทียู = 252 แคลอรี่= 1055 จูล
   1 กิโลวัตต-ชั่วโมง = 3.6 เม็กกะจูล
กําลังงาน(Power)

เปน การทํางานตอหนวยเวลา
                                         กําลังงานสูง
มีหนวย จูลตอวินาทีหรือวัตต(W)

                      กําลังงานต่า
                                 ํ


1 วัตต =   1จูล(Joule)                                 1 นาที
          1วินาที (second)           3 นาที
1 hp = 746 w                                      ไดงานเทากัน
ชนิดเชื้อเพลิง
สัดสวนของธาตุไฮโดรเจนตอธาตุคารบอนของเชื้อเพลิง
       ไม           C/H        10
       ถานหิน       C/H          1
       น้ํามัน       C/H          2
       กาชมีเทน     C/H          4
       กาชไฮโดรเจน C/H           0
การสันดาป
 C + O2         =     CO2 (คารบอนไดออกชชายด)+ พลังงาน
 2H2 + O2       =     2H2O (น้ํา) + พลังงาน
ความรอนจําเพาะของเชื้อเพลิง(ใหพลังงานเมือสันดาปกับO2)
                                          ่
 ประเภท                 คาความรอนจําเพาะ
                        MJ/Kg            MJ/L
 ถานไม                15.99
 กาซหุงตม             46.10
 กาซธรรมชาติ           47.70
 กาซไฮโดรเจน           120.0
 แกลบ                   14.40
 น้ํามันเบนซิน                           31.48
 น้ํามันดีเซล                            36.42
 เอทานอล                                 19.69
 น้ํามันเตา                              39.77
มูลคาพลังงานจากเชื้อเพลิง

ถานไม              25 สต./MJ
กาซ แอล พี จี       40 สต./MJ
น้ํามันเบนซิน        60 สต./MJ
ไฟฟา                100 สต./MJ
การปลอยกาซคารบอนไดออกไซด,CO2

เชื้อเพลิง     Symbol   CO2         HHV       CO2
                        kgCO2/kgC   kcal/kg   kgCO2/10000kcal


ถาน           C        3.67        8080      4.54

น้ํามันเบนซิน C6H6 3.69             10090 3.66

กาซมีเทน      CH4      2.75        13328 2.06
การเปลี่ยนรูปพลังงาน
พลังงานไมมีการสูญหายแตสามารถเปลี่ยนจาก
รูปหนึ่งไปยังอีกรูปหนึ่งได
ประสิทธิภาพในการเปลี่ยนรูปพลังงาน
(Energy Conversion Efficiency)
ประสิทธิภาพ =   พลังงานขาออกหรือที่ไดออกมา x 100 %
                พลังงานขาเขาหรือกอนเปลี่ยนรูป


 พลังงานไฟฟา                 แสงสวาง
ประสิทธิภาพการเปลี่ยนรูปพลังงาน

เครื่องกําเนิดไฟฟา                      70 – 99%
(พลังงานกล → พลังงานไฟฟา )
มอเตอรไฟฟา                             50 – 90%
(พลังงานไฟฟา → พลังงานกล )
เตาแกส                                  70--95%
(พลังงานเคมี → พลังงานความรอน )
โรงไฟฟาใชเชื้อเพลิ งฟอสซิล             30 – 40%
(พลังงานเคมี → ความรอน → กล → ไฟฟา )
ประสิทธิภาพการเปลี่ยนรูปพลังงาน(ตอ)

เครื่องยนต                      20 – 30%
(พลังงาน เคมี → ความรอน → กล)
หลอดฟลูออเรสเซนท               20%
(พลังงานไฟฟา → แสงสวาง)
หลอดไฟ                            5%
(พลังงานไฟฟา → แสงสวาง)
โซลาเซลล                        2 – 25%
(พลังงาน แสง → ไฟฟา)
การผลิตไฟฟา ๑ กิโลวัตตช่ัวโมง หรือ ๑ หนวย

       เราตองใชเชื้อเพลิง

ถานหินลิกไนท        ๐.๘๗ กิ โลกรัม
น้ํามันเตา            ๐.๒๖ ลิตร
กาซธรรมชาติ          ๙.๘๔ ลูกบาศกฟุต
น้ํา                  ๕.๕ ลูกบาศกเมตร
พลังงานไฟฟา 1 กิโลวัตตชั่วโมง
พลังงานไฟฟา 1 กิโลวัตตชั่วโมง ใชทําอะไรไดบาง
       1 กิโลวัตตชวโมง = 40 วัตต x 25 ชั่วโมง/ 1000
                   ั่

-   เปาผมไดนาน 1 ชั่วโมง เมื่อใชเครื่องเปาผมขนาด 1000 วัตต
-   ใหลมไดนาน 22.2 ชั่วโมง สําหรับพัดลมขนาด             45 วัตต
-   ใหแสงสวางไดนาน 10 ชั่วโมง เมื่อใชหลอดไสขนาด 100 วัตต
-   ใหแสงสวางไดนาน 25 ชั่วโมง เมื่อใชหลอดนีออนขนาด 40 วัตต
-   ตมน้ําไดนาน 2 ชั่วโมง เมื่อใชกระติกตมน้ํารอนขนาด 500 วัตต
-   หุงตมไดนาน 50 นาที เมื่อใชเตาขดลวดขนาด             1200 วัตต
ปริมาณ CO2ทีปลอยออกในการผลิตไฟฟา
                     ่

       การผลิตไฟฟา ๑ กิโลวัตตชั่วโมงจากเชื้อเพลิงชนิดตางๆ
       ยังปลอยกาซคารบอนไดออกไซดออกมาสูบรรยากาศดวย

โรงไฟฟาที่ใชถานหินลิกไนทปลอยกาซคารบอนไดออกไซด ๑.๐๗๕ กิโลกรัม
โรงไฟฟาที่ใชน้ํามันเตาปลอยกาซคารบอนไดออกไซด ๐.๙๗๒ กิโลกรัม
โรงไฟฟาที่ใชกาซธรรมชาติปลอยกาซคารบอนไดออกไซด ๐.๕๙๙ กิโลกรัม
โรงไฟฟาที่ใชน้ําจากเขื่อนไมปลอยกาซคารบอนไดออกไซด
แหลงพลังงานในประเทศไทยป พ.ศ. 2544
                                                 ปริมาณเทียบเทา       สัดสวนของพลังงาน
                 แหลงพลังงาน                น้ํามันดิบพันตัน (kTOE)      ทีผลิตได (%)
                                                                             ่

กาซธรรมชาติ                                       17,035                    40
พลังงานจากมวลชีวภาพ (ฟน แกลบ และ กากออย)         13,025                   30.6
ถานหินลิกไนต                                      5,645                   13.3
น้ํามันดิบ                                          3,091                   7.3
คอนเดนเสท                                           2,350                   5.5
พลังงานจากแหลงพลังงานหมุนเวียนอืนๆ่                1,397                   3.3
(พลังน้ํา พลังงานแสงอาทิตย และพลังงานลม)
รวม                                                42,543                    100
ความตองการใชพลังงานชนิดตางๆป พ.ศ. 2544
                          ปริมาณเทียบเทาน้ํามันดิบพันตัน
       แหลงพลังงาน                  (kTOE)
                                                            รอยละ

แหลงพลังงานเชิงพาณิชย              41,099                  83
     น้ํามันสําเร็จรูป               27,300                 55.1
     ไฟฟา                           7,864                  15.9
     ถานหิน                         4,377                  8.8
     กาซธรรมชาติ                    1,558                  3.2
พลังงานหมุนเวียน                     8,443                   17
     ฟน                             3,265                  6.6
     ถาน                            2,286                  4.6
     กากออย                         1,989                   4
     แกลบ                             903                   1.8
รวมทั้งสิ้น                          49,542                  100
ปริมาณการใชไฟฟารายสาขา
                                                                      หนวย : กิกะวัตต-ชัวโมง
                                                                                          ่

                                                   อัตราการเปลี่ยนแปลง
      สาขา               2546 2547 2548 2549 2550*         (%)
                                                      2549       2550*
บานและที่อยูอาศัย 23,330 24,538 25,514 26,915       28,255    5.5               5.0
       ธุรกิจ        25,337 28,687 30,164 31,702      32,962    5.1               4.0
    อุตสาหกรรม 48,294 50,811 53,894 56,995            59,622    5.8               4.6
 เกษตรกรรมและ
                      7,298 10,290 11,065 11,625      12,263    5.5               5.5
 อื่นๆ
        รวม         106,208 114,326 120,637 127,237   133,102   5.5               4.6
    * คาดคะเนเบื้องตน
สัดสวนการใชพลังงานในประเทศ 2550

                                        ภาคคมนาคมขนสง
                    5%                  37%
          22%      3273          37%
  14004                                 ภาคอุตสาหกรรม 36%
                              23747
                 36%
                 23531 ktoe             ภาคธุรกิจและทีอยู
                                                      ่
                                        อาศัย 22 %
                                        ภาคการเกษตร 5%

พลังงาน รวม 64555 ktoe(กิโลตันน้ํามันดิบเทียบเทา)
สัดสวนการใชพลังงานไฟฟาในอาคาร


                                           Lighting
       27%          15%
                                           Aircondition
                                           Lift
                   55%
  3%                                       Other



ดัชนีการใชพลังงาน 161 kWh/m2AC/yr
มูลคาการใชพลังงานขั้นสุดทาย
                                                                    หนวย: ลานบาท



     ชนิด              2546      2547        2548        2549            2550*

  น้ํามันสําเร็จรูป   515,319   605,372     783,671     838,512         936,398

   กาซธรรมชาติ        13,793    16,539      20,260      27,551          36,997

  ลิกไนต/ถานหิน      9,223     13,413      18,058      17,342          23,830

       ไฟฟา          265,771   300,393     327,642     354,070         393,375

 พลังงานทดแทน**        75,122    86,235      95,541      92,561          96,529

        รวม           879,229   1,021,953   1,245,171   1,330,036       1,487,130
* คาดคะเนเบื้องตน
**มูลคาประมาณ
ตัวอยางสัดสวนการใชพลังงานไฟฟาในบานอยูอาศัย

                                              แสงสวาง
           13%    5%
          322     123                         ปรับอากาศ
21%
                        61%                   ในครัว
512
                       1440                   อืนๆ
                                                ่


คาไฟฟารวม 2397 บาท/เดือน
มูลคาผลิตภัณฑมวลรวม GDP 2550

                   10%           ภาคคมนาคมขนสง
       358 9%
                   405           ภาคอุตสาหกรรม
 35%                     46%
                                 ภาคธุรกิจและทีอยูอาศัย
                                               ่ 
1359                1782 MBaht
                                 ภาคการเกษตร


 GDP รวม 3904 ลานบาท
 GDP =Gross Domestic Product
อัตราการเพิ่มการใชพลังงานเทียบกับGDPในประเทศ

                              20
                                                                                                                    การใชพลังงาน
                              15                                                                                    GDP
เปอรเซ็น ตก ารเปลี่ยนแปลง




                              10

                               5

                               0

                               -5

                              -10

                              -15
                                2536      2537       2538       2539      2540       2541      2542          2543         2544



                                ที่มา : กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน 2544 และสํานักงานคณะกรรมการ
                                พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ
                                GDP =Gross Domestic Product
ดัชนีการใชพลังงาน
                                                                                       gy    p
                                                     Energy Elasticity =             ∆t Energy Consumption/ ∆t GDP
                                              4.80
                                                          Ave. Energy
                                              4.70        Elasticity
                                              4.60                1.4 : 1.0
                       l o g ( E n e r g y)




                                              4.50
                                                                                                                           New Target
                                              4.40                                                                            1:1
                                                                                                                            หรือนอยกวา
                                              4.30

                                              4.20

                                              4.10
                                                 3.05      3.10    3.15       3.20   3.25      3.30       3.35     3.40     3.45     3.50     3.55
                                                                                            log (GDP)
                                                                                                                                                        Energy-GDP

   Thailand                                          1985 1990 1991 1992 1993 1994 1995 1996 1997 1998 1999 2000                                2001
                                                                                                                                                         Elasticity
                                                                                                                                                       Avg.'85-2001

อัตราการเพิ่มการใชพลั งงานขั้นตน
                                                        0.97 1.24 1.47 1.08 1.51 1.34 1.64 1.94 -3.50 0.47 0.58 0.97                            1.07      1.40
ตอ อัตราการเพิ่ม GDP
                                                                                                      ที่มา : EIA,DOE, BP Statistic Review of World Energy, กฟผ.
ดัชนีการใชพลังงานพลังงานในประเทศตางๆ
                                                                        Primary Energy Consumption and Per Capita Income
พลังงานตอคน
                                12.00
                                                                                          Singapore


                                10.00                                                                         Canada


                                                                                                                          USA          Norwa
Energy Consumption/Population




                                 8.00


                                 6.00
                                                    Russia               S-Korea
                                                                                                                                  Switzerland

                                 4.00                               Taiwan                                             Japan
                                                                                                                         Japan



                                 2.00     Thai

                                                                                                        ผลิตภัณฑมวลรวมตอคน
                                         Thailand
                                China
                                India

                                 0.00
                                        0.0                  10.0                  20.0                30.0                40.0      50.0       60.0

                                                                                                  GDP per Capita
คาดการณมูลคาการใชพลังงาน
                    ของประเทศในอนาคต
         หนวย : พันลานบาท
2,500


2,000
                        คาดการณการมูลคาการใชพลังงาน                  2,145


                                                         1,529
1,500
                                           1,090
1,000                        777
              573
  500


     0
             2540           2545           2550           2555           2560


(ขอสมมติฐานอัตราสวนการเพิ่มของการใชพลังงานตอ GDP: 1.4:1 Est. GDP เติบโต 5%ตอป)
พลังงานสํารองในประเทศไทย

เชื้อเพลิง  ปริมานสํารอง ปริมานผลิตตอป สํารอง/ผลิต
                                              ป
น้ํามัน        0.5 Bbbl    0.04 Bbbl        12.5
กาซธรรมชาติ 12.7 TCF     0.65 TCF          19.5


 Bbbl       =  Billion barrel
 TCF        =  Trillion Cubic Foot
 1 trillion = 1000 billion = 1000000 million
การนําเขาพลังงาน
ตาราง การนําเขาพลังงานของประเทศไทย ป พ.ศ. 2544

                    ปริมาณเทียบเทา    การเปลี่ยนแปลง      มูลคา   สัดสวนของ
 แหลงพลังงาน       น้ํามันดิบพันตัน   ของปริมาณจากป   (ลานบาท)      พลังงาน
                         (KTOE)           2543 (%)                  ที่นําเขา (%)
น้ํามันดิบ                35,592             5.5        284,667          86.1
กาซธรรมชาติ             5,644              300          29,860           9
ถานหิน                  3,111              18.2          7,476          2.3
ไฟฟา                     246               -2.8          4,655          1.4
น้ํามันสําเร็จรูป         388               -66.8         3,931          1.2
รวม                     44,989              13.3        330,646         100
ประชากรโลกป 2004
อันดับ1.จีน                1300 ลานคน
อันดับ 2.อินเดีย           1087 ลานคน
อันดับ 3.สหรัฐอเมริกา       294 ลานคน
       รวม 10 ประเทศสูงสุด 3780 ลานคน
       รวมทุกประเทศ        6000 ลานคน
ประชากรเพิ่มขึ้นตอป 0.8 %
แตละคนใชพลังงานเปน 3 เทาของที่มีในธรรมชาติ
ผลกระทบตอสิ่งแวดลอม
เรื่อง ปญหาภาวะโลกรอนกับการประหยัดพลังงาน
  1. ภาวะโลกรอนเกิดขึ้นจากสาเหตุใด
  2. กาซเรือนกระจกและภาวะเรือนกระจก
  3. ทางเลือกในการแกปญหาภาวะโลกรอน
                      
  4. แนวทางการแกปญหาของประเทศไทย
พลังงานแสงอาทิตย
ภาวะโลกรอนจากการใชพลังงานทีปลอย CO2
                             ่
กาชเรือนกระจก
ประกอบดวย
   1. กาซคารบอนไดออกไซด (CO2)
   2. กาซมีเทน (CH4)
   3. กาซไนตรัสออกไซด (N2O)
   4. สาร Chloroflurocarbons, CFCs
กาซคารบอนไดออกไซด CO2
     เปนกาซเรือนกระจกที่สําคัญและมีสัดสวนสูงสุดในบรรยากาศโลก ซึ่ง
     แหลงที่มาสวนใหญมาจากการเผาไหมเชื้อเพลิงฟอสซิล รองลงมา ไดแก
     การตัดไมทําลายปา ถางปา และเผาปาซึ่งเปนแหลงดูดซับกาซ
     คารบอนไดออกไซดที่สําคัญ

                                 กาซมีเทน CH4
      เป น ก า ซเรื อ นกระจกที่ มี สั ด ส ว นในบรรยากาศโลกสู ง เป น อั น ดั บ สอง แต มี
ศัก ยภาพในการก อ ใหเกิดสภาวะโลกรอน GWP                   ประมาณ 21 เทา ของกาซ
คารบอนไดออกไซด โดยแหลงปลอยกาซมีเทนหลัก ไดแก ภาคเกษตรกรรม เชน การ
ทํานาขาว มูลสัตว รองลงมาไดแก การทําเหมืองถานหิน การขุดเจาะกาซธรรมชาติ และ
การบําบัดกากของเสีย/ขยะมูลฝอย เปนตน
เชื้อเพลิง     CO2 ,g/MJ
การปลอยกาซ CO2            น้ํามันดีเซล   74.07
   ของเชื้อเพลิง            น้ํามันดิบ     70.26
                            น้ํามันเตา     71.64
                            LPG            63.07
การสันดาปของเชื้อเพลิง      NG             56.1
C + O2     = CO2+ พลังงาน   ไม            110.07
                            ถานไม        110.44
2H2 + O2 = 2H2O + พลังงาน   แกลบขาว       114.58
                            ชานออย        219.12
                            ไฟฟา          201.81
สัดสวนของประเทศทีปลอย CO2
                  ่




                Thai
CO2
        Global Warming Potentials in CO2
        Equivalents over 100 Year Time
        Horizon of Terrestrial Emissions and
        Fossil Fuels of Russia (1988–1992)
               Combined GHG GWP Effect
 กาซ
เรือน
CH4

กระจก




           Global Warming Potentials in Tg (CO2 equivalents) 1990
          Sector                   CO2     CH4    N2O    TOTAL
N2O
          Industry                2138      443     12      2593
          Agriculture              -411      99     62      -250
          Natural Ecosystems       -877     460    123      -294
          TOTAL                     850   1002     197      2049

          Nature neutralizing ~20% of
          industrial emissions                                  13
ศักยภาพการเกิดภาวะโลกรอน
              Global Warming Potential for various time horizons
  Gas                                                              Amount (%)
               20 years          100 years           500 years

  CO2             1                  1                   1          >80%
  CH4            56                 21                  6.5        ~10.5%
  N2O           280                310                 170          ~6.5%
HFC-23         9,100             11,700               9,800
HFC-32         2,100               650                 200           <2%
  SF6         16,300             23,900              34,900

Some examples of Global Warming Potential;GWP referenced to CO2
ที่มา www.ieagreen.org.uk และ IPCC
flower
สภาวะแวดลอม
ใชพลังงานมากขึ้น สภาวะแวดลอมเลวลง
โลกรอนขึนเกิดภัยธรรมชาติที่รายแรง
         ้                   
                  เกิดน้ําทวมน้ําแลง
                  เกิดแผนดินไหว

                  เกิดสึนามิ
                  เกิดหิมะตกหนัก
ผลจากภาวะโลกรอน
1. สงผลใหประชากรบางพื้นที่ไรที่อยูอาศัยเนื่องจากระดับน้ําทะเลสูง
   มากจนทําให พื้นที่หลายแหงจมหายไป
2. สงผลตอความถี่และความรุนแรงพายุโดยเฉพาะบริเวณชายฝง
   และปญหาน้ําทวม
3. สงผลใหฤดูกาลเปลี่ยนแปลงไป เนื่องจากอุณหภูมิ ณ ผิวโลกที่สูงขึ้น
4. สงผลใหสิ่งมีชีวิตบางชนิดที่ไมสามารถปรับตัวอาจสูญพันธุได
5. สงผลใหเกิดปญหาแหงแลงอยางรุนแรงในบางประเทศ
6. สงผลใหเกิดการระบาด เชน โรคมาเลเรีย ไขเหลือง ไขเลือดออก เปนตน
คลื่นซึนามิที่เกาะพีพี
น้ําทะเลลดลงอยางรวดเร็ว
บานเรือนพังทลาย
Before Indonesia Tsunami
After Indonesia Tsunami
โดยสรุป
พลังงานเปนสิ่งจําเปนในการทํางานและการดํารงชีวต
                                               ิ
มีการใชพลังงานเพิ่มขึ้นทุกวัน
พลังงานสํารองลดลงและจะหมดไปในเวลาไมนาน
คุณภาพสิ่งแวดลอมเลวลง
ราคาพลังงานแพงขึ้น
อนาคตจะเปนอยางไร ?

ยังคงใชพลังงานอยางฟุมเฟอย

ขาดแคลนเชื้อเพลิง ไฟฟา
เชื้อเพลิงมีราคาแพง
สิ่งแวดลอมเสีย
การลดกาซเรือนกระจก

ทางเลือกที่สําคัญ 4 สาขาหลัก คือ สาขาพลังงาน สาขาปาไม
สาขาการเกษตร และสาขาของเสีย
แตเนืองจากกาซคารบอนไดออกไซดซึ่งเปนกาซเรือนกระจก
      ่
ตัวสําคัญและสามารถลดไดโดย
        การประหยัดพลังงาน
        การเพิ่มประสิทธิภาพการทํางาน
        การใชเชื้อเพลิงทดแทนประเภทคารบอนต่าหรือไมมี
                                             ํ
คารบอน
ความรวมมือของนานาชาติ
อนุสัญญา UNFCCC
วัตถุประสงคเพื่อรักษาระดับความเขมขนของกาซเรือนกระจกให
อยูในระดับที่ปลอดภัย เพื่อใหธรรมชาติสามารถปรับตัวได และ
ไม ส ง ผลกระทบต อ ความมั่ น คงทางอาหารและการพั ฒ นา
เศรษฐกิจที่ยั่งยืน
ประเทศที่ลงนามในอนุสัญญาฯ เรียกวา ประเทศภาคีอนุสัญญาฯ
แบงไดเปน 2 กลุม คือ กลุมประเทศอุตสาหกรรมพัฒนาแลว และ
กลุมประเทศกําลังพัฒนา
โดยในอนุสัญญาฯ ระบุวาประเทศพัฒนาแลวจะตองลดปริมาณ
การปล อ ยก า ซเรื อ นกระจกให อ ยู ใ นระดั บ ไม เ กิ น ปริ ม าณการ
ปลอยในป พ.ศ. 2533
พิธีสารเกียวโต
        สาระสําคัญของพิธีสารเกียวโต
  1. กําหนดใหประเทศพัฒนาแลวลดการปลอยกาซเรือนกระจกโดยรวมไม
    นอยกวารอยละ 5.2 ของการปลอยในป พ.ศ.2533 ภายในชวงป พ.ศ. 2551-
    2555 ซึ่งแตละประเทศมีเปาหมายการลดการปลอยที่แตกตางกันไป
  2. กระตุนใหรัฐบาลของแตละประเทศรวมมือและทํางานรวมกัน โดยการ
    ใหความชวยเหลือ แลกเปลี่ยนความรูเทคโนโลยี
3.Clean Development Mechanism (CDM) หรือ กลไกการพัฒนาที่สะอาด
เปนการดําเนินโครงการรวมระหวางประเทศพัฒนาแลวกับประเทศกําลังพัฒนา
เพื่อ ลดปริ ม าณการปล อ ยก าซเรื อ นกระจกตามปริ ม าณที่ ป ระเทศพั ฒ นาแล ว
จําเปนตองลด และชวยใหประเทศกําลังพัฒนาบรรลุการพัฒนาที่ยั่งยืน
บทบาทของประเทศไทย
              ประเทศไทยกับพิธสารเกียวโต
                             ี
ประเทศไทยใหสัตยาบันตอพิธีสารเกียวโต ในวันที่ 27 สิงหาคม 2545

               ภารกิจสําคัญของประเทศไทย

       คือ การดําเนินงานตามพันธกรณีของอนุสัญญาฯ โดยเฉพาะการจัดทํา
       รายงานแหงชาติ
การใชเชื้อเพลิงทดแทน
1.การใชเชื้อเพลิงที่มีคารบอนต่ําทดแทนเชื้อเพลิงฟอสซิล
จะชวยลดการปลอยออกของกาซคารบอนไดออกไซด เชน
การเปลี่ยนเชื้อเพลิงจากถานหินมาเปนกาซธรรมชาติ

2.พลังงานหมุนเวียน ที่ใชกันแพรหลายไดแก พลังงานน้ํา
   พลังงานลม พลังงานแสงอาทิตย และพลังงานชีวมวล
3. พลังงานนิวเคลียร
กระบวนทํางานเพื่อการประหยัดพลังงาน

เครื่องจักร การเปลี่ยนไปใชเครื่องจักรประสิทธิภาพสูง
คน         การสรางพฤติกรรมการประหยัดพลังงาน
           การบริหารการใชพลังงาน
พลังงาน     ลดพลังงานไฟฟา
           ใชพลังงานทดแทน แสงอาทิตย ลม ไบโอแมส
หลักการทํางานของเซลลแสงอาทิตย
การใชพลังงานแสงอาทิตยในโรงเรียนสังกัดกทม.
แผงรับแสงอาทิตยแบบแผนเรียบ
ขนาด 28 ตารางเมตร และถังเก็บ
น้ํารอนขนาด 2000 ลิตรราคา
500000 บาท
ประสิทธิภาพของระบบ 50 %
อุณหภูมิน้ํารอน        64 oC
ความเขมแสงอาทิตย 915 W/m2
พลังงานความรอนที่ได 70 kWh/day ลดปริมาณกาซ CO2ได 8,712 kg/yr
                   (2.5 kWh/m2)
Solar PV in Thailand




Super Market and Store   Factory
อาคารสํานักงานใหญ กฟผ.
กําลังผลิตติดตัง = 27 kWp
               ้
แผงเซลลแสงอาทิตยชนิดฟลม
                         
บางอะมอรฟสซิลคอน
             ิ
ขนาดแผงละ 65 Watt Peak
จํานวน 428 แผง
Inverter 2.8 kW x 8 ชุด
Inverter 5.0 kW x 1 ชุด
โรงไฟฟาเซลลแสงอาทิตยผาบอง
  ขนาดกําลังผลิตติดตั้ง 504 กิโลวัตต
Wind Turbine in Thailand




  Super Market and Store
การผลิตไฟฟาจากพลังงานลม

เยอรมันนี          22300 MW
สหรัฐอเมริกา       19549 MW
สเปน               15515 MW
อินเดีย            8696 MW
รวมทั้งหมดทั่วโลก 100000 MW
ขัอ1.ถาม/ตอบชิงรางวัล

ถาม พลังงานไฟฟา 1 หนวยตองใชกาซธรรมชาติเทาใด?
0.3 กิโลกรัม 0.6 กิโลกรัม 0.9 กิโลกรัม 0.9 กิโลกรัม


ตอบ ตองใชกาซธรรมชาติ 0.3 กิโลกรัม
ขัอ 2.ถาม/ตอบชิงรางวัล

ถาม เชื้อเพลิงชนิดใด ? เมื่อเผาไหมแลวใหพลังงาน
เทากันแตปลอยกาซคารบอนไดออกไซดมากที่สุด
ถาน น้ํามันเบนซิน กาซธรรมชาติ
 ตอบ ถาน
ขัอ 3.ถาม/ตอบชิงรางวัล

ถาม พลังงานประเภทใด ? ราคาแพงที่สุด
น้ํามันเบ็นซิน     กาซ LPG     ไฟฟา


ตอบ พลังงานไฟฟา
ขัอ 4.ถาม/ตอบชิงรางวัล

ถาม เปดหลอดไฟฟาแสงสวางขนาดกําลังงาน 15 วัตตเปน
เวลานาน 10 ชั่วโมงจะสิ้นเปลืองพลังงานเทาใด?


ตอบ จะสิ้นเปลืองพลังงาน =15x10/1000 =0.15
กิโลวัตต.ชั่วโมง = 0.15x3.6=0.54 เมกกะจูล
การผลิตไฟฟาจากพลังงานลม

เยอรมันนี          22300 MW
สหรัฐอเมริกา       19549 MW
สเปน               15515 MW
อินเดีย            8696 MW
รวมทั้งหมดทั่วโลก 100000 MW
ถาม/ตอบชิงรางวัล
ถาม เปดหลอดไฟฟาแสงสวางขนาด 15 วัตตเปน
เวลานาน 10 ชั่วโมงจะสิ้นเปลืองพลังงานเทาใด?
จบการบรรยาย
กฎกระทรวง2551
                  ประสิทธิภาพอุปกรณขนต่ํา
                                     ั้

เตาอบไมโครเวฟ 65 %
เตาอบปริมาตร,V<35ลิตร          30 %
เครื่องซักผาฝาหนา Whr ตอรอบการซัก < 190
เครื่องทําน้ํารอนไฟฟา 81 %
กฎกระทรวง2551
                  ประสิทธิภาพอุปกรณขนต่ํา
                                     ั้

เครื่องปรับอากาศ ขนาด ไมเกิน 12000 W EER => 2.82
หมอหุงขาวไฟฟา 87-95 %
ตูเย็น 1 ประตู ปริมาตร,V<100ลิตร   kWh/yr <278+0.74V
กระติกน้ํารอนไฟฟา 93-98 %
เครื่องทําน้ํารอนไฟฟา 81 %
เครื่องวัดกําลังไฟฟา
      1 เฟส 2 สาย 50 ไซเคิล
      แบบตอตรง
        หนวย วัตต


  L         A
220 V                 V       Load
  N
มิเตอรไฟฟากระแสสลับ

                                             วัตต


กิโลวัตต-ชั่วโมง                            หลอดไฟ
                                             กระพริบ


                       สายไฟจายใหอุปกรณ

More Related Content

Similar to Saving energy1

CLFR with Garbage 150kW, Thailand
CLFR with Garbage 150kW, Thailand CLFR with Garbage 150kW, Thailand
CLFR with Garbage 150kW, Thailand Jack Wong
 
CLFR with Biomass Back up 250 kW
CLFR with Biomass Back up 250 kWCLFR with Biomass Back up 250 kW
CLFR with Biomass Back up 250 kWJack Wong
 
8. ความรู้และความเข้าใจพื้นฐานด้านพลังงาน
8. ความรู้และความเข้าใจพื้นฐานด้านพลังงาน8. ความรู้และความเข้าใจพื้นฐานด้านพลังงาน
8. ความรู้และความเข้าใจพื้นฐานด้านพลังงานKobwit Piriyawat
 
8. ความรู้และความเข้าใจพื้นฐานด้านพลังงาน
8. ความรู้และความเข้าใจพื้นฐานด้านพลังงาน8. ความรู้และความเข้าใจพื้นฐานด้านพลังงาน
8. ความรู้และความเข้าใจพื้นฐานด้านพลังงานguestf181d72
 
03.สถานการณ์ไฟฟ้า
03.สถานการณ์ไฟฟ้า03.สถานการณ์ไฟฟ้า
03.สถานการณ์ไฟฟ้าKobwit Piriyawat
 
03.สถานการณ์ไฟฟ้า
03.สถานการณ์ไฟฟ้า03.สถานการณ์ไฟฟ้า
03.สถานการณ์ไฟฟ้าKobwit Piriyawat
 
12.ก๊าซชีวภาพ
12.ก๊าซชีวภาพ12.ก๊าซชีวภาพ
12.ก๊าซชีวภาพKobwit Piriyawat
 
02.สถานการณ์พลังงาน
02.สถานการณ์พลังงาน02.สถานการณ์พลังงาน
02.สถานการณ์พลังงานKobwit Piriyawat
 
Solar Thermal Trough 2004, Thailand
Solar Thermal Trough 2004, ThailandSolar Thermal Trough 2004, Thailand
Solar Thermal Trough 2004, ThailandJack Wong
 

Similar to Saving energy1 (11)

CLFR with Garbage 150kW, Thailand
CLFR with Garbage 150kW, Thailand CLFR with Garbage 150kW, Thailand
CLFR with Garbage 150kW, Thailand
 
biomass
biomassbiomass
biomass
 
CLFR with Biomass Back up 250 kW
CLFR with Biomass Back up 250 kWCLFR with Biomass Back up 250 kW
CLFR with Biomass Back up 250 kW
 
8. ความรู้และความเข้าใจพื้นฐานด้านพลังงาน
8. ความรู้และความเข้าใจพื้นฐานด้านพลังงาน8. ความรู้และความเข้าใจพื้นฐานด้านพลังงาน
8. ความรู้และความเข้าใจพื้นฐานด้านพลังงาน
 
8. ความรู้และความเข้าใจพื้นฐานด้านพลังงาน
8. ความรู้และความเข้าใจพื้นฐานด้านพลังงาน8. ความรู้และความเข้าใจพื้นฐานด้านพลังงาน
8. ความรู้และความเข้าใจพื้นฐานด้านพลังงาน
 
03.สถานการณ์ไฟฟ้า
03.สถานการณ์ไฟฟ้า03.สถานการณ์ไฟฟ้า
03.สถานการณ์ไฟฟ้า
 
03.สถานการณ์ไฟฟ้า
03.สถานการณ์ไฟฟ้า03.สถานการณ์ไฟฟ้า
03.สถานการณ์ไฟฟ้า
 
12.ก๊าซชีวภาพ
12.ก๊าซชีวภาพ12.ก๊าซชีวภาพ
12.ก๊าซชีวภาพ
 
02.สถานการณ์พลังงาน
02.สถานการณ์พลังงาน02.สถานการณ์พลังงาน
02.สถานการณ์พลังงาน
 
Eneygy Awarness
Eneygy AwarnessEneygy Awarness
Eneygy Awarness
 
Solar Thermal Trough 2004, Thailand
Solar Thermal Trough 2004, ThailandSolar Thermal Trough 2004, Thailand
Solar Thermal Trough 2004, Thailand
 

Saving energy1